[爆卦]Severity是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Severity鄉民發文沒有被收入到精華區:在Severity這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 severity產品中有186篇Facebook貼文,粉絲數超過1萬的網紅李姓中壢選民,也在其Facebook貼文中提到, 新冠肺炎疫情延燒,根據最新的全球「#防疫韌性排行榜」(The Covid Resilience Ranking),在9月份部分,台灣從8月份的41名,又下跌1名至42名。此事引發不少網友熱議,有網友留言狠酸「#世界怎跟得上台灣」、「完全就是 #嚴重失敗的疫苗政策,荒腔走板」。 立法院日前請行政...

 同時也有11部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅外國人在台灣-安德鏡頭下的世界,也在其Youtube影片中提到,最近的武漢肺炎狀況發生了巨大的變化,在幾天內確診數上升很多, #台灣 還是一個安全的地方,但是如果我們想要過正常的生活,我們一定要嚴肅看待這次的情況。我拍了一支關於疫情資訊的小短片,如何擴散、怎麼會感染、怎麼避免、疫苗有用嗎、誰最容易染疫。 這些是影片中訊息的取用來源: https://www.e...

severity 在 營養師 程涵宇? Instagram 的最讚貼文

2021-09-17 02:52:43

#吃什麼可以降低COVID19重症風險? 目前台灣疫苗陸續到貨 但還是需要多些耐心等待 我家裡那兩位< 建議這段時間還是要增強自身的保護力 調整飲食對策,多吃以下這類型的食物 幫助降低新冠肺炎59%~73%的重症風險* 研究發現 #植物性為主的飲食plant-based diets降低73...

  • severity 在 李姓中壢選民 Facebook 的最讚貼文

    2021-09-29 12:17:21
    有 33 人按讚

    <#網友 在《#中時新聞網》、《#批踢踢》留言討論,「我們有自己的玩法,等著世界跟上」、「整天內宣防疫很好」、「開玩笑的吧世界怎麼跟得上台灣」、「沒關係!只要一直保持後段班,就有人會一直送疫苗」、「今年疫苗根本不知在哪?一直吹牛明年幾千萬劑?後年幾千萬劑?」「預料之中!境外進入的管理一敗塗地,苦了守規矩的百姓啊」>

    新冠肺炎疫情延燒,根據最新的全球「#防疫韌性排行榜」(The Covid Resilience Ranking),在9月份部分,台灣從8月份的41名,又下跌1名至42名。此事引發不少網友熱議,有網友留言狠酸「#世界怎跟得上台灣」、「完全就是 #嚴重失敗的疫苗政策,荒腔走板」。

    立法院日前請行政院長 #蘇貞昌 對「3+11」決策過程專案報告,但書面報告通篇未提3+11是破口,並自稱「守住疫情讓世界讚嘆」,引發藍委不認同。綜合媒體報導,《彭博》發布的最新「防疫韌性排行榜」,是採用疫苗覆蓋率(People covered by vaccines)、封鎖嚴重度(Lockdown Severity)、航班載客力(Flight Capacity)、接種疫苗旅客自由度(Vaccinated Travel Routes)等4個指標的綜合表現,衡量國家在防疫上的韌性。9月排行榜結果,台灣表現仍處於後段班。

  • severity 在 Z9 的看板 Facebook 的最佳貼文

    2021-09-28 20:59:51
    有 155 人按讚

    --
    全球新冠肺炎(COVID-19)持續延燒,根據《彭博》(Bloomberg)最新「防疫韌性排行榜」(The Covid Resilence Ranking),在9月的數據中,台灣排全球第42名,落後南非、埃及、秘魯、墨西哥等國家。

    《彭博》是根據「疫苗覆蓋率」(People covered by vaccines)、「封鎖嚴重度」(Lockdown Severity)、「航班載客力」 (Flight Capacity)及「接種疫苗旅客自由度」(Vaccinated Travel Routes)4大指標排序。由於疫苗接種人口落後,讓台灣評比處於末端班。

  • severity 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文

    2021-09-23 18:17:41
    有 1,129 人按讚

    "ทำไม คนบางคนถึงป่วยจากโรคโควิด รุนแรงกว่าคนอื่น ? คำตอบอาจจะอยู่ที่ #ระดับน้ำตาลในเลือด ครับ"

    หนึ่งในปริศนาเกี่ยวกับโรคโควิด 19 มาอย่างยาวนานตั้งแต่เริ่มการระบาด คือ ทำไมคนบางคนติดเชื้อไวรัส แล้วไม่มีอาการอะไรหรือมีเพียงเล็กน้อย ขณะที่บางคนติดเชื้อแล้วกลับป่วยรุนแรงมาก ?

    งานวิจัยล่าสุด จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อาจจะทำให้เราได้คำตอบนั้น ผ่านการใช้เทคโนโลยี machine learning

    ดร. Emmanuelle Logette, และคณะวิจัยในโครงการ the Blue Brain Project ที่สถาบัน École Polytechnique Fédérale de Lausanne (หรือ EPFL) ในกรุงเจนีวา ได้อาศัยฐานข้อมูล CORD-19 มาวิเคราะห์ และพบว่า "ระดับน้ำตาลในเลือด" (blood glucose level) จะเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อระดับความรุนแรงของโรคโควิด-19 !

    งานวิจัยนี้ ชื่อว่า "A Machine-Generated View of the Role of Blood Glucose Levels in the Severity of COVID-19" ตีพิมพ์ในวารสาร Frontiers in Public Health ฉบับวันที่ 28 July 2021 (ดู https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fpubh.2021.695139/full?utm_source=fweb&utm_medium=nblog&utm_campaign=ba-sci-fpubh-covid-19-elevated-blood-glucose-blue-brain) ซึ่งพวกเขาได้ใช้เทคโนโลยี machine learning มาวิเคราะห์ข้อมูลที่ดึงมาจากบทความวิจัยในฐานข้อมูลเปิด (open access) แล้วทำให้ค้นพบบทบาทสำคัญของ "ระดับน้ำตาลที่สูงขึ้น" ในเส้นเลือด ที่มีต่อความรุนแรงของโรค Covid-19

    1. ปกติ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ผู้สูงอายุ นั้นจะเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการป่วยหนักจากโรคโควิด .. แต่คนที่อายุน้อย หลายคนก็พบว่า ต้องเข้าโรงพยาบาลจากโรคนี้เช่นกัน

    - มีโรคประจำตัวหลายอย่าง ที่ทราบกันว่า มีผลต่อระดับความรุนแรงของโรคโควิด ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคอ้วน และโรคความดันโลหิตสูง

    - แต่ผลการวิจัยใหม่นี้ ทำให้เห็นว่า ระดับกลูโคสที่สูงขึ้นในเลือด ก็มีผลต่อคนที่ "ไม่ได้เป็น" โรคเบาหวานด้วย

    2. คณะนักวิจัยของโครงการ the Blue Brain Project และพัฒนาแบบสำรอง machine learning ที่ขุดข้อมูลจากบทความวิจัยกว่า 240,000 ฉบับ ในฐานข้อมูล CORD-19 (เป็นฐานข้อมูลที่สนับสนุนโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา , มูลนิธิ Chan Zuckerberg Initiative, Microsoft Research และกลุ่มอื่นๆ เพื่อเป็นฮับ hub งานวิจัยเกี่ยวกับโควิด-19)

    - ผลการวิเคราะห์ของคณะผู้วิจัย ทำให้พบว่า แนวโน้มที่ปรากฏขึ้นซ้ำๆ ในบทความวิชาการที่ผ่านมาเกี่ยวกับอาการป่วยรุนแรงจากโรคโควิด ก็คือ ระดับน้ำตาลในเส้นเลือดที่สูงขึ้น

    - โดยจากข้อมูลกว่า 400,000 ค่า ที่วิเคราะห์ คำว่า "glucose น้ำตาลกลูโคส" ปรากฏขึ้นถึง 6,326 ครั้ง ทำให้คณะผู้วิจัยค้นหาต่อไป ถึงบทบาทหน้าที่ของกลูโคส ที่มีต่ออาการป่วยของโรค ไปจนถึงกลไกทางชีวเคมีในระดับที่ลึกที่สุด

    3. เรื่องหลักๆ ที่พวกเขาค้นพบ ได้แก่

    - ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น ไปทำให้การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันแรกๆ ของปอดเราแย่ลง ทำให้เกิดสภาวะที่เอื้อต่อการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสโรคโควิด

    - ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้เกิดความผิดปกติในการควบคุมระดับการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะ cytokine storm (การเพิ่มขึ้นอย่างมากและรวดเร็วของสารไซโตไคน์) และภาวะ acute respiratory distress syndrome (อาการอักเสบเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ หรือ ARDS )

    - อาการป่วยต่างๆ ที่ตามมาของโรคโควิด-19 ได้แก่ hyperinflammation (การอักเสบขั้นรุนแรง) และ pro-coagulation (การแข็งตัวของเลือด) ก็เกิดขึ้นตามมาจากการมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเช่นกัน

    - ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น นั้น ทำงานร่วมกันกับกลไกของการหยุดการทำงานของ ACE 2 receptor ด้วยเชื้อไวรัสโควิช ไปเพิ่มระดับความรุนแรงของโรค ให้อวัยวะต่างๆ ทำงานล้มเหลว และเกิดลิ่มเลือดอุดตัน (thrombotic)

    4. การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นแล้วไปทำให้กลไกแรกๆ ในการต่อสู้กับไวรัสของปอด แย่ลงนั้น เป็นการค้นพบที่สำคัญมาก และได้รับความสนใจน้อยกว่าที่ควร ในฐานข้อมูล CORD-19

    - คณะผู้วิจัยระบุว่า การมีระดับน้ำตาลที่สูงขึ้นในเลือดแล้วไปช่วยให้เกิดสภาวะที่เอื้อต่อเชื้อไวรัส ในการเคลือบโปรตีนหนามของมันแล้วผ่านทะลุเข้าระบบภูมิคุ้มกันของปอดได้นั้น เป็นเรื่องที่ไม่เคยทราบชัดกันมาก่อน

    - ก่อนหน้านี้ การรักษาโรคโควิด-19 ในผู้ป่วยบางรายอาจต้องมีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วย แต่ถ้าสมมติฐานจากงานวิจัยนี้เป็นเรื่องถูกต้อง ต่อไป การจัดการระดับน้ำตาลก็จะกลายเป็นกลยุทธ์หลักอีกอย่าง ในการควบคุมระดับอาการของโรค

    - จากรายงานที่ว่า ผู้ป่วยโรค covid-19 ที่อยู่ในห้องไอซียูกว่า 80% นั้น มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง คณะผู้วิจัยจึงเสนอให้เพิ่มการควบคุมระดับน้ำตาลของผู้ป่วย เพื่อให้มีอาการที่ดีขึ้นด้วย

    5. ดังนั้น ทางเลือกหนึ่งในการช่วยรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่มีความเสี่ยงสูง ก็คือใช้ยา metformin เมทฟอร์มิน ที่ได้รับการรับรองจาก FDA แล้วให้ใช้ควบคุมระดับน้ำตาลได้

    - นอกจากจะช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดแล้ว ยา metformin ยังมีสรรพคุณต้านการอักเสบด้วย จากการที่ไปลดระดับของโปรตีน C-reactive protein ลง

    - ยา metformin ยังช่วยในเรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ ป้องกันการตัวของหลอดเลือด และป้องกันการเกิดลิ่มเลือด

    ทิ้งท้ายว่า นอกจากกันใช้วิธีวิเคราะห์ด้วย AI แบบ machine learning อันนี้ จากฐานข้อมูลงานวิจัยขนาดใหญ่แล้ว ก็ยังต้องมีการศึกษาวิจัยในคลินิกอีก เพื่อพิสูจน์ยืนยันว่า ระดับน้ำตาลกลูโคสที่เพิ่มขึ้นนั้น เป็นปัจจัยพื้นฐาน ทำให้เกิดความรุนแรงของโรค covid-19 ขึ้นจริง

    ภาพและข้อมูลจาก https://blog.frontiersin.org/2021/07/28/severe-covid-19-elevated-blood-glucose-blue-brain/

你可能也想看看

搜尋相關網站