[爆卦]raj steam是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇raj steam鄉民發文沒有被收入到精華區:在raj steam這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 raj產品中有363篇Facebook貼文,粉絲數超過4萬的網紅EHP MusicChannel,也在其Facebook貼文中提到, YT劉雨潼/尼斯末NISSMO - 紅色嘆號『對著紅色嘆號晚安,早已成為不良習慣。​』【動態歌詞Lyrics】 -------------------------------- ❖ 訂閱頻道收聽更多好聽的歌:https://www.youtube.com/c/EHPMusicChannelII ❖...

 同時也有72部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅Claudia Koh,也在其Youtube影片中提到,830出左一個月 經歷好多ups and downs 最終我發現,我並不是一個result-oriented既人 我重視既:係個過程 原來成績點都好 係做呢首歌既過程 大家一起衝呢件事既人 大家個心 大家開心 享受 而能夠自己欣賞自己作品 先係最大既回報 跟住落黎既所有,都係一個bonus 所以 ...

raj 在 Naoki Wada Instagram 的最讚貼文

2021-09-17 16:09:42

End of the World's @endoftheworldofficial brand-new song "In My Dream" is officially out now. The video was directed by the talented Gene Ivery @gene...

  • raj 在 EHP MusicChannel Facebook 的最讚貼文

    2021-09-13 09:04:03
    有 4 人按讚

    YT劉雨潼/尼斯末NISSMO - 紅色嘆號『對著紅色嘆號晚安,早已成為不良習慣。​』【動態歌詞Lyrics】

    --------------------------------
    ❖ 訂閱頻道收聽更多好聽的歌:https://www.youtube.com/c/EHPMusicChannelII
    ❖ Facebook臉書專頁:https://www.facebook.com/EHPMC/
    ❖ IG:ehpmusicchannel
    ❖ 微信公眾號:ehpmusicchannel
    ❖ 合作郵箱:ehpmusicchannelhk@gmail.com
    ❖ 微信:EHPMusicChannel(id:xy-z1315)
    (歡迎查詢合作/投稿音樂/攝影作品等等)
    ---------------------------------------------------
    ❖歌曲上架平台
    ➸ 網易云音樂 | http://music.163.com/song?id=1836157026&userid=1450149887
    ❖Original Photo by Road Trip with Raj

  • raj 在 Facebook 的最佳解答

    2021-08-27 18:57:04
    有 3,806 人按讚

    100 PHIM CHÂU Á XUẤT SẮC

    1. Tokyo Story (Ozu Yasujiro, 1953) – Japan
    2. Rashomon (Kurosawa Akira, 1950) – Japan
    3. In the Mood for Love (Wong Kar Wai, 2000) – Hong Kong
    4. The Apu Trilogy (Satyajit Ray) – India
    5. A City of Sadness (Hou Hsiao-hsien, 1989) – Taiwan
    6. Seven Samurai (Kurosawa Akira, 1954) – Japan
    7. A Brighter Summer Day (Edward Yang, 1991) – Taiwan
    8. Spring in a Small Town (Fei Mu, 1948) – China
    9. Still Life (Jia Zhang Ke, 2006) – China
    10. The Housemaid (Kim Ki-young, 1960) – Korea
    11. Close Up (Abbas Kiarostami, 1990) – Iran
    12. A One and a Two (Edward Yang, 2000) – China
    13. Spring, Summer, Fall, Winter… and Spring (Kim Ki-duk, 2003) – Korea
    14. Oldboy (Park Chan-Wook, 2003) – Korea
    15. Late Spring (Ozu Yasujiro, 1949) – Japan
    16. A Taste of Cherry (Abbas Kiarostami, 1998) – Iran
    17. Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives (Apichatpng Weerasethakul, 2010) – Thailand
    18. Ugetsu Monogatari (Mizoguchi Kenji, 1953) – Japan
    19. The Music Room (Satyajit Ray, 1958) – India
    20. The Cloud-capped Star (Ritwik Ghatak, 1960) – India
    21.Where is the Friend’s Home (Abbas Kiarostami, 1987) – Iran
    22. Raise the Red Lantern (Zhang Yimou, 1991) – China
    23. Sopyonje (Im Kwon Taek, 1993) – Korea
    24. Crouching Tiger Hidden Dragon (Ang Lee, 2000) – Taiwan
    25. Spirited Away (Miyazaki Hayao, 2001) – Japan
    26. Tropical Malady (Apichatpong Weerasethakul, 2004) – Thailand
    27. Mother (Bong Joon-ho, 2008) – Korea
    28. Poetry (Lee Chang-dong, 2010) – Korea
    29. A Separation (Asghar Farhadi, 2011) – Iran
    30. A Touch of Zen (King Hu, 1969) – Taiwan
    31. Manila in the Claws of Light (Lino Brocka, 1975) – Philippines
    32. Mandala (In Kwon Taek, 1981) – Korea
    33. A Moment of Innocence (Mohsen Makhmalbaf, 1981) – Iran
    34. Happy Together (Wong Kar Wai, 1997) – Hong Kong
    35. The River (Tsai Ming-Liang, 1997) – Taiwan
    36. Blissfully Yours (Apichatong Weerasethakul, 2002) – Thailand
    37. Awaara (Raj Kapoor, 1951) – India
    38. Floating Clouds (Naruse Mikio, 1955) – Japan
    39. Pyaasa (Guru Dutt, 1957) – India
    40. The Lonely Wife (Satyajit Ray, 1964) – India
    41. The Cow (Dariush Mehrjui, 1969) – Iran
    42. Red Sorghum (Zhang Yimou, 1987) – China
    43. Days of Being Wild (Wong Kar Wai, 1990) – Hong Kong
    44. Farewell My Concubine (Chen Kaige, 1993) – China
    45. Vive l’amour (Tsai Ming Liang, 1994) – Taiwan
    46. The Adopted Son (Aktan Abdykalykov, 1998) – Kyrgyzstan
    47. Peppermint Candy (Lee Chang-dong, 1999) – Korea
    48. I Was Born, But… (Ozu Yasujiro, 1932) – Japan
    49. The Story of the last Chrysanthemums (Mizoguchi Kenji, 1939) – Japan
    50. Living [Ikiru] (Kurosawa Akira, 1952) – Japan
    51. Sansho The Bailiff (Mizoguchi Kenji, 1954) – Japan
    52. The House is Black (Forough Farrokhzad, 1963) – Iran
    53. Woman in the Dunes (Teshigahara Hiroshi, 1964) – Japan
    54. Scattered Clouds (Naruse Mikio, 1967) – Japan
    55. Daughter in Law (Khodzhakuli Narliyev, 1972) – Turkmenistan
    56. Dersu Uzala (Kurosawa Akira, 1975) – Japan
    57. In the Realm of the Senses (Oshima Nagisa, 1976) – Japan
    58. A time to live and a time to die (Hou Hsiao-hsien, 1985) – Taiwan
    59. Through the Olive Trees (Abbas Kiarostami, 1994) – Iran
    60. Children of Heaven (Majid Majidi, 1997) – Iran
    61. Osama (Siddiq Barmak, 2003) – Afghanistan
    62. West of Tracks (Wang Bing, 2003) – China
    63. Paradise Now (Hany Abu Assad, 2005) – Palestine
    64. Mukhsin (Yasmin Ahmad, 2006) – Malaysia
    65. Secret Sunshine (Lee Chang-dong, 2007) – Korea
    66. The Goddess (Wu Yonggang, 1934) – China
    67. Humanity and Paper Balloons (Yamanaka Sadao, 1937) – Japan
    68. Street Angels (Yuan Mizhi, 1937) – China
    69. The Life of Oharu (Mizoguchi Kenji, 1952) – Japan
    70. Mother India (Mehboob Khan, 1957) – India
    71. Floating Weeds (Ozu Yasujiro, 1958) – Japan
    72. Good Morning (Ozu Yasujiro, 1959) – Japan
    73. Paper Flowers (Guru Dutt, 1959) – India
    74. The Naked Island (Shindo Kaneto, 1960) – Japan
    75. Intentions of Murder (Imamura Shohei, 1964) – Japan
    76. A Man Vanishes (Imamura Shohei, 1967) – Japan
    77. Holiday (Lee Man-hee, 1968) – Korea
    78. The Cruel Sea (Khaled Al Siddiq, 1972) – Kuwait
    79. Insiang (Lino Brocka, 1976) – Philippines
    80. Vengeance Is Mine (Imamura Shohei, 1979) – Japan
    81. Batch ’81 (Mike de Leon, 1982) – Philipines
    82. Taipei Story (Edward Yang, 1984) – Taiwan
    83. The Runner (Amir Naderi, 1985) – Iran
    84. My Neighbor Totoro (Miyazaki Hayao, 1988) – Japan
    85. Ju Dou (Zhang Yimou, 1990) – China
    86. Life, and Nothing More (and Life Goes on…) (Abbas Kiarostami, 1992) – Iran
    87. The Puppetmaster (Hou Hsiao-hsien, 1993) – Taiwan
    88. Chungking express (Wong Kar Wai, 1994) – Hong Kong
    89. The Scent Of Green Papaya (Tran Anh Hung, 1994) – Vietnam, France
    90. Gabbeh (Mohsen Makhmalbaf, 1995) – Iran
    91. The White Balloon (Jafar Panahi, 1995) – Iran
    92. The Day a Pig Fell into The Well ( Hong Sangsoo, 1996) – Korea
    93. Hana-bi (Kitaro Takeshi, 1997) – Japan
    94. Flowers of Shanghai (Hou Hsiao-hsien, 1998) – Taiwan
    95. Chunhyang (Im Kwon Taek, 1999) – Korea
    96. The Color of Paradise (Majid Majidi, 1999) – Iran
    97. The Poet (Garin Nugroho, 1999) – Iran
    98. Blackboards (Samira Makhmalbaf, 2000) – Iran
    99. The Circle (Jafar Panahi, 2000) – Iran
    100. The Day I became a Woman (Marzieh Meshkini, 2000) – Iran

    #whatever

  • raj 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文

    2021-08-24 20:00:50
    有 4,200 人按讚

    Saverin อยู่กับเฟซบุ๊กปีเดียว แต่มีทรัพย์สิน 6 แสนล้าน /โดย ลงทุนแมน
    Mark Zuckerberg เริ่มก่อตั้ง Facebook ในปี 2004 ร่วมกับเพื่อนอีก 4 คน
    หนึ่งในนั้นคือรุ่นพี่ที่ชื่อว่า “Eduardo Saverin”

    Saverin คือเพื่อนคนแรกที่ Zuckerberg ชวนมาร่วมทีมและเขาคนนี้ยังเป็นคนแรกที่ร่วมลงทุนใน Facebook

    แต่ผ่านไปเพียงปีเดียว กลับมีเรื่องราวที่ทำให้เขากลายเป็นผู้ร่วมก่อตั้งที่ต้องออกจากบริษัทไปเป็นคนแรกเช่นกัน

    แล้วมันเกิดอะไรขึ้นกับ Saverin ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    “Eduardo Saverin” เกิดที่เมืองเซาเปาลู ประเทศบราซิล ในปี 1982 ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่เมืองรีโอเดจาเนโร

    เขาเกิดมาในครอบครัวชาวยิวที่ร่ำรวย โดยพ่อของเขาเป็นนักธุรกิจ ที่เป็นเจ้าของกิจการทั้งการส่งออก เรือขนส่ง ไปจนถึงอสังหาริมทรัพย์

    แต่ความมั่งคั่งนี้ ก็เป็นที่ล่อตาล่อใจของแก๊งมาเฟีย ทำให้เมื่อปี 1993 Saverin ในวัย 11 ปี มีชื่ออยู่ในลิสต์เหยื่อที่จะโดนแก๊งลักพาตัวไปเรียกค่าไถ่

    โชคดีที่พ่อของเขาไหวตัวทัน เขาจึงพาครอบครัวอพยพไปตั้งต้นชีวิตในที่ที่ปลอดภัยกว่า อย่างประเทศสหรัฐอเมริกา จน Saverin ได้สัญชาติอเมริกันในปี 1998

    หลังจากเรียนจบมัธยมศึกษา Saverin เลือกเรียนเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

    เขาโดดเด่นเรื่องการลงทุนเป็นพิเศษ ทั้งการได้เป็นประธาน Harvard Investment Association และยังเป็นที่เลื่องลือจากการทำกำไรเป็นเงิน 3 แสนดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 10 ล้านบาท จากการลงทุนในฟิวเจอร์สน้ำมัน

    ปี 2003 ขณะที่ Saverin เรียนอยู่ปี 3 รูมเมตรุ่นน้องของเขาที่ชื่อ “Mark Zuckerberg” กำลังพัฒนา TheFacebook.com หรือที่เรารู้จักกันก็คือ Facebook ในปัจจุบัน

    เวลานั้น Zuckerberg กำลังมองหาพาร์ตเนอร์มาร่วมทีม ซึ่งเขามองหาคนที่มีเงินทุนและเก่งในด้านที่เขาไม่ถนัด นั่นคือการลงทุนและการทำธุรกิจ ซึ่ง Saverin ก็เรียกได้ว่ามีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ Zuckerberg ต้องการ นั่นจึงทำให้เขาถูกชวนมาเป็นพาร์ตเนอร์คนแรก

    พวกเขาตกลงว่าจะร่วมทุนกันคนละ 15,000 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 5 แสนบาทและแบ่งหน้าที่กัน โดย Zuckerberg โฟกัสการพัฒนาเซิร์ฟเวอร์ ส่วน Saverin รับผิดชอบด้านการเงินและธุรกิจ

    จนในที่สุด TheFacebook.com ก็ได้เปิดตัวในช่วงต้นปี 2004 และได้รับความนิยมไปทั่วมหาวิทยาลัยทันที โดยมีผู้สมัครใช้งานกว่า 4 พันคนภายใน 2 สัปดาห์แรก

    พวกเขาเลยชวนรูมเมตอีกคนที่ชื่อ Dustin Moskovitz มาร่วมทีม ซึ่งรับหน้าที่เป็นโปรแกรมเมอร์ และหลังจากนั้นไม่นานก็มีเพื่อนอีก 2 คนมาร่วมทีม

    เดือนเมษายน หรือหลังเปิดตัวเว็บไซต์ไปได้ 2 เดือน TheFacebook ก็จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัด
    โดยมีผู้ถือหุ้นคือ Zuckerberg ถือหุ้น 65%, Saverin ถือหุ้น 30% และ Moskovitz ถือหุ้น 5%

    มาถึงช่วงปิดเทอมหน้าร้อนในเดือนมิถุนายน Zuckerberg กับ Moskovitz เดินทางไปที่เมืองพาโล อัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของซิลิคอนแวลลีย์ เพื่อเช่าบ้านและโฟกัสกับการพัฒนา TheFacebook.com

    ส่วน Saverin เลือกไปฝึกงานกับสถาบันการเงิน Lehman Brothers ที่นิวยอร์ก และ Zuckerberg ได้แบ่งความรับผิดชอบให้เขา 3 อย่าง คือ วางโครงสร้างบริษัท ทำโมเดลธุรกิจ และที่สำคัญคือหาเงินทุน

    แต่การเลือกเส้นทางที่แตกต่างกันในครั้งนี้ กลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของรอยร้าว

    สิ่งที่ Saverin ให้ความสำคัญมากที่สุดในเวลานั้น คือการฝึกงาน
    เขาจึงละเลยสิ่งที่ Zuckerberg ฝากให้เขาจัดการทั้ง 3 ข้อ

    ทั้งที่ Zuckerberg และคนอื่นในทีม ทุ่มเทกับการต่อยอด TheFacebook.com ซึ่งในตอนนั้นมีจำนวนผู้ใช้งานเติบโตอย่างรวดเร็วแบบที่ไม่มีใครคาดคิด ดังนั้นสิ่งที่จำเป็นที่สุดก็คือการหาเงินทุน ซึ่งเป็นหน้าที่ของ Saverin มาตั้งแต่ต้น

    แต่กลับกลายเป็นว่าคนที่รับหน้าที่ในการหานักลงทุนก็คือ Sean Parker ไอดอลแห่งวงการเทคโนโลยี ผู้ก่อตั้ง Napster แพลตฟอร์มแชร์และดาวน์โหลดเพลงออนไลน์ ที่เป็นต้นแบบของ iTunes

    ก่อนหน้านี้ไม่นาน Parker ได้รู้จัก TheFacebook.com และรู้สึกสนใจ จึงติดต่อ Zuckerberg เพื่อมาร่วมทีมด้วย

    ซึ่ง Parker สามารถโน้มน้าวให้ Peter Thiel ผู้ร่วมก่อตั้ง PayPal มาลงทุนใน TheFacebook.com ได้สำเร็จ เป็นเงิน 5 แสนดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 16.6 ล้านบาท

    นอกจากนี้ Parker ซึ่งมีประสบการณ์ธุรกิจมาก่อน จึงกลายเป็นที่ปรึกษาคนสำคัญของ Zuckerberg และยังมีบทบาทสำคัญในการทำหน้าที่ทุกอย่างที่ Saverin ละเลย

    มาถึงตรงนี้ Saverin ที่ให้ความสำคัญกับ TheFacebook.com น้อยกว่าคนอื่น ก็หมดความจำเป็น Zuckerberg เลยคิดจะตัดเขาออกจากทีม แต่ก็ติดปัญหาตรงที่เขาไม่รู้จะใช้วิธีไหน
    เพราะ Saverin เป็นทั้งผู้ร่วมก่อตั้งและที่สำคัญคือเป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท

    Parker เลยแนะนำวิธีหนึ่งให้กับ Zuckerberg ซึ่งเป็นทริกที่ Thiel เคยใช้และเรียนรู้ต่อมาจากนักลงทุนระดับตำนานคนหนึ่ง

    วิธีการนั้นก็คือ การลดสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทของ Saverin ลง ด้วยการตั้งบริษัทใหม่ เพื่อมาซื้อบริษัทเดิม หลังจากนั้นก็ออกหุ้นเพิ่ม และจัดสรรหุ้นของบริษัทใหม่ให้กับทุกคน ยกเว้น Saverin

    Zuckerberg ได้ลองอธิบายแผนการนี้ผ่านทางอีเมลเพื่อขอคำปรึกษาจากนักกฎหมายของเขา ซึ่งนักกฎหมายก็เตือนว่าอาจจะเกิดการฟ้องร้องตามมาได้ แต่สุดท้ายแผนการนี้ก็ยังดำเนินต่อไป

    ขั้นตอนแรกเริ่มขึ้นในปลายเดือนกรกฎาคม ทีม Zuckerberg จัดตั้งบริษัทใหม่และใช้บริษัทใหม่นี้ไปซื้อบริษัทเดิม ซึ่งสัดส่วนผู้ถือหุ้นของบริษัทใหม่ จะถูกจัดสรรโดยรวมผู้ลงทุนอย่าง Thiel เข้าไปด้วย ดังนี้

    Zuckerberg ถือหุ้น 40%
    Saverin ถือหุ้น 24%
    Moskovitz ถือหุ้น 16%
    และ Thiel ถือหุ้น 9%
    ส่วนอีก 11% ที่เหลือ เก็บไว้เผื่อแจกเป็นอ็อปชันให้กับผู้ร่วมทีมในอนาคต

    ขั้นตอนนี้ ทำให้สัดส่วนหุ้นของ Saverin ลดลงจากเดิม 30% มาเป็น 24%

    หลังจากนั้น ทาง Zuckerberg ก็ได้ให้ Saverin เซ็นชื่อในข้อตกลงจัดสรรหุ้นของบริษัทใหม่นี้ในเดือนตุลาคม โดย Saverin ตกลงให้ทรัพย์สินทางปัญญาทุกอย่างของบริษัท รวมถึงสิทธิ์ในการออกเสียงในบริษัท ที่เคยเป็นส่วนของเขา โอนมาเป็นของ Zuckerberg แทน

    และเมื่อปิดเทอมหน้าร้อนสิ้นสุด ความสำเร็จเกินคาดของ TheFacebook.com ก็ทำให้ Zuckerberg และ Moskovitz ตัดสินใจออกจากมหาวิทยาลัยและอยู่ที่แคลิฟอร์เนียต่อ ขณะที่ Saverin กลับมาเรียนต่อที่ฮาร์วาร์ดในปีสุดท้าย

    ต่อมา ในต้นเดือนมกราคม ปี 2005 บริษัท Facebook ก็ได้ออกหุ้นสามัญเพิ่ม 9 ล้านหุ้น โดยถูกจัดสรรเป็นของ Zuckerberg 3.3 ล้านหุ้น Parker และ Moskovitz ได้ไปคนละ 2 ล้านหุ้น ส่วน Saverin ไม่ได้อะไรเลย

    ขั้นตอนนี้ ทำให้สัดส่วนหุ้นของ Saverin ลดลงจาก 24% จนเหลือไม่ถึง 10%

    Saverin ผู้ที่ไม่รู้อะไรเลยก็เพิ่งมารับรู้ถึงวิธีที่เขาโดนลดสัดส่วนการถือหุ้นหลังผ่านไปเกือบ 4 เดือน
    ซึ่งในอีกไม่กี่สัปดาห์ต่อมา เขาก็ต้องออกจากบริษัทและถูกลบชื่อออกจากผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท

    ความขัดแย้งนี้ก็นำไปสู่การฟ้องร้อง ตามที่นักกฎหมายของ Zuckerberg เคยเตือนไว้

    Zuckerberg ยื่นฟ้อง Saverin โดยอ้างว่า Saverin ทำให้บริษัทเสียหาย จากการระงับบัญชีธนาคารของบริษัทเมื่อช่วงปิดเทอมหน้าร้อน รวมถึงอ้างว่าข้อตกลงเรื่องการจัดสรรหุ้นตอนจัดตั้งบริษัทใหม่ไม่มีผลบังคับใช้

    Saverin ฟ้อง Zuckerberg กลับ โดยอ้างว่าในช่วงปิดเทอมหน้าร้อน Zuckerberg นำเงินทุนของบริษัทในตอนแรก ซึ่งเป็นส่วนที่เขาร่วมลงทุนด้วย ไปใช้กับเรื่องส่วนตัว และอีกข้อหาคือเรื่องที่เขาถูกบังคับให้ออกจากบริษัท

    แต่สุดท้ายแล้ว ในปี 2009 ทั้งสองฝ่ายก็มาทำความตกลงกันนอกศาล ซึ่งจบที่การยอมความ
    และชื่อของ Saverin ก็กลับมาอยู่ในผู้ร่วมก่อตั้งเหมือนเดิม

    ตั้งแต่นั้นมา Saverin ก็ย้ายไปอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์
    และได้เปลี่ยนสัญชาติจากอเมริกันเป็นสิงคโปร์ ในปี 2011

    ซึ่งนอกจากจะแต่งงานและสร้างครอบครัวที่สิงคโปร์แล้ว ในปี 2015 Saverin ได้ร่วมก่อตั้งบริษัท Venture Capital ที่ชื่อ “B Capital” กับเพื่อนสมัยเรียนฮาร์วาร์ดที่ชื่อ Raj Ganguly ซึ่งเคยทำงานในบริษัทที่ปรึกษาธุรกิจระดับโลกอย่าง McKinsey & Company และ Boston Consulting Group

    โดย B Capital จะเน้นให้เงินทุนกับสตาร์ตอัปในเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดีย อย่างเช่นบริษัทจากอินเดียที่ชื่อ BYJU’S ซึ่งปัจจุบันเป็นสตาร์ตอัปด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่มูลค่ามากสุดในโลก

    แต่เรื่องการเปลี่ยนสัญชาตินี้ก็ได้ทำให้เขาถูกวิจารณ์ เพราะหลังจากนั้นไม่นาน Facebook ก็เตรียม IPO ในปี 2012 Saverin จึงถูกมองว่าเขาสละสัญชาติอเมริกันเพราะต้องการเลี่ยงภาษีกำไรจากเงินลงทุน

    เพราะแม้ว่าการระดมทุนในตลาดหุ้นของ Facebook จะทำให้สัดส่วนการถือหุ้น Facebook ของเขาลดลงเหลือเพียง 2% ก็คิดเป็นมูลค่ากว่า 6 หมื่นล้านบาท ซึ่งถ้าเขาขายทำกำไร เขาจะถูกคิดภาษีกำไรจากเงินลงทุนราว 2 หมื่นล้านบาท

    แต่ Saverin ก็ยืนยันว่าเขาตั้งใจจะทำงานและใช้ชีวิตที่สิงคโปร์มาตั้งแต่แรกจริง ๆ
    และจากตอน IPO ปี 2012 มาถึงวันนี้ ปี 2021 Saverin ก็ไม่ได้ขายหุ้น Facebook เพื่อทำกำไร ในทางกลับกันเขากลับซื้อเพิ่มอีกเล็กน้อยด้วยซ้ำ

    ปี 2012 Saverin มีหุ้น Facebook 53.13 ล้านหุ้น
    ปี 2021 Saverin มีหุ้น Facebook 53.46 ล้านหุ้น

    ปัจจุบัน Saverin ในวัย 39 ปี ได้กลายเป็นชาวบราซิลที่รวยสุดในโลก และเป็นคนที่รวยสุดเป็นอันดับ 2 ในสิงคโปร์ ด้วยมูลค่าทรัพย์สินกว่า 6.5 แสนล้านบาท ซึ่งความมั่งคั่งเกือบทั้งหมดมาจากการที่เขายังถือหุ้น Facebook โดยที่ยังไม่ได้ขายออกไป

    โดยถ้าคิดจากราคา IPO ของ Facebook ที่ 38 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น ปัจจุบันราคาหุ้น Facebook อยู่ที่ 355 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น

    ซึ่งมูลค่าหุ้นที่ Severin ถืออยู่ตอน IPO ปี 2012 ที่กว่า 6 หมื่นล้านบาท ตอนนี้ได้เพิ่มขึ้นกลายเป็น 6.2 แสนล้านบาทแล้ว

    ที่น่าสนใจคือ 6.2 แสนล้านบาทนี้มีจุดเริ่มต้นจากเงินลงทุนหลักแสน
    และเขาใช้เวลาอยู่ในบริษัท Facebook เพียงปีเดียว โดยแทบไม่ต้องทำอะไรเลย
    สิ่งที่เขาทำหลังจากนั้น เป็นเพียงการถือหุ้น Facebook ที่มีอยู่ไปเรื่อย ๆ เท่านั้นเอง..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.businessinsider.com/how-mark-zuckerberg-booted-his-co-founder-out-of-the-company-2012-5
    -https://www.businessinsider.com/goodbye-america-billionaire-facebook-cofounder-renounces-citizenship-2012-5
    -https://www.forbes.com/sites/alexkonrad/2019/03/19/life-after-facebook--the-untold-story-of-billionaire-eduardo-saverins-highly-networked-venture-firm/?sh=21f9b3462c8c
    -https://www.forbes.com/sites/briansolomon/2012/05/18/eduardo-saverins-net-worth-publicly-revealed-more-than-2-billion-in-facebook-alone/?sh=47dee32a32ac
    -https://www.rollingstone.com/culture/culture-news/the-battle-for-facebook-242989/
    -https://www.dailymail.co.uk/news/article-2143764/Facebook-founder-Eduardo-Saverin-risk-kidnapping-moving-US.html
    -https://www.forbes.com/profile/eduardo-saverin/?sh=dbbbb3b7bd56
    -https://www.sec.gov/Archives/edgar/data/1326801/000132680121000022/facebook2021definitiveprox.htm

  • raj 在 Claudia Koh Youtube 的最佳貼文

    2021-05-19 20:30:03

    830出左一個月
    經歷好多ups and downs
    最終我發現,我並不是一個result-oriented既人
    我重視既:係個過程
    原來成績點都好 係做呢首歌既過程 大家一起衝呢件事既人 大家個心 大家開心 享受 而能夠自己欣賞自己作品 先係最大既回報
    跟住落黎既所有,都係一個bonus

    所以

    多謝每一位為830付出努力既人
    I don't deserve any of this
    Thank you God, thank you all

    已經開始緊下一首歌 期待大家繼續努力 成長 享受音樂世界!

    ?Watch 830 MV: https://youtu.be/VcSR-hkf9Lk
    ?Listen to 830: https://orcd.co/830_claudiakoh

    (Order of appearance)
    Talent (男神): Justin Chan 陳樂 @lokjustinchan
    Director: Chester Ku @chesterkkm
    Art Director: Jenny Fei Chan @feichannn
    Hair Stylist: Wilson Pang @wilson_lehuit8
    Talent (Bitch): Winka Chan @winka_chan
    Make up: Yuki Lam @yukilam_makeup
    Arranger: Y.Siu @y.siuiuiuiu
    Lyricists:Higgo Raj @sleepyvoice / Dayze Leung @dlcl
    Cover Art: Karen Koh @karenkoh.art

    And so many more people... please watch all my other videos and follow them all, it's a command.
    JUST DO IT.

    #830 #makingof #behindthescenes

    00:00 First Fitting
    00:23 Day 2錄音
    00:43 Backing Vocals Editing
    01:01 Mixing
    01:39 整/染頭髮 for MV
    01:55 Second Fitting + 試妝
    02:44 Listening to Mastered version (by JBP)
    03:04 Shooting Day 1
    04:45 Shooting Day 2
    06:16 CD Album Cover Design
    06:40 Final Cut with Director

  • raj 在 EHPMusicChannel Youtube 的精選貼文

    2021-03-06 21:00:15

    ❖訂閱頻道收聽更多好聽的歌:https://www.youtube.com/c/EHPMusicChannelII
    ❖Facebook臉書專頁:https://www.facebook.com/EHPMC/
    ❖IG:ehpmusicchannel
    ❖微信公眾號:ehpmusicchannel
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------
    ♫ 一鍵收聽你想聽的歌 ♫
    ❖ 抖音/TikTok專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRwduBTjBHknz5U4_ZM4n6qm
    ❖ 華語歌曲專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRz5t_T2v2iuW1pqnj89kY4F
    ❖ 廣東歌/粵語歌專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRxBtfYS-CM3UXto2VbUL8hA
    ❖ RAP/說唱專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRyD5qKNqumkTXqtPiYj3mlr
    ❖ 古風歌曲專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRy9uWRObrUifsgJBdpBEq-y
    ❖ 翻唱/改編/Remix/EDM 歌曲專區 ♪:https://www.youtube.com/playlist?list=PLtAw-mgfCzRz9-257u_Eknjf0sjW6HDjH
    ❖ 更多分類歌單:https://www.youtube.com/channel/UC345x_D7DgK5313D3ftM_EQ/playlists?view=50&sort=dd&shelf_id=17
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------
    ❖歌詞在下面❖

    演唱:羊羊
    作詞:周林
    作曲:周林
    編曲:筱明
    和聲:王韓伊淋
    吉他:老田
    製作人:一寸光年團隊
    混音:張鳴利
    製作公司&OP:一寸光年

    聽著 老歌 你曾 最愛那些歌
    我不禁跟著附和
    如果 你我 也曾 相互勇敢過
    結局定然是不同的

    記得你的名字深深刻在骨子
    怎麼你卻戴上別人給的戒指
    不為愛低三下四
    不過如此

    我忙著愛你抽空生活
    你忙著生活抽空愛我
    你隨便一個動態
    我費盡心思猜
    我忙著過好我們生活
    你忙著怎麼能甩開我
    忙著不難過
    忙著受折磨

    生活 工作 娛樂 太多的選擇
    你選了讓我心冷的
    他們說當兩人失去了分享欲
    剩下的其實都只是時間問題
    不怪你厭舊喜新
    怪我願意

    我忙著愛你抽空生活
    你忙著生活抽空愛我
    你隨便一個動態
    我費盡心思猜
    我忙著過好我們生活
    你忙著怎麼能甩開我
    忙著不難過
    忙著受折磨

    我忙著愛你抽空生活
    你忙著生活抽空愛我
    我費心發的動態
    你從來不理睬
    都忙著縫補這段感情
    都忙著結局好散好聚
    忙著不忙的
    裝沒空關心
    抽空回回憶
    最初的感情
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------
    ❖歌曲上架平台
    ➸ QQ音樂 | https://c.y.qq.com/base/fcgi-bin/u?__=C1cq7xC
    ----------------------------------------------------------------------------------------------------------
    ❖ 合作郵箱:ehpmusicchannelhk@gmail.com
    ❖ 微信:EHPMusicChannel(id:xy-z1315)
    (歡迎查詢合作/投稿音樂/攝影作品等等)

    ❖Original Photo by Road Trip with Raj

    ❖歌曲版權為歌手本人及其音樂公司所有,本頻道只作推廣及宣傳之用,若喜歡他們的音樂請到以上平台鏈接購買歌曲支持。

    ❖Like, Comment, Share & Subscribe❖
    ❖喜歡的請分享及訂閱本頻道❖

  • raj 在 Psyman 塞門 Youtube 的精選貼文

    2021-01-24 21:30:11

    #hellskitchen #地獄廚房 #第八季
    成為這個頻道的會員並獲得獎勵:
    https://reurl.cc/MARXdX

    00:00 ​開場
    00:11 地獄廚房無敵潑婦
    07:35 冰箱男Raj

    Psyman副頻道|https://reurl.cc/WdOo2Z
    Facebook|https://fb.me/psymantalk
    IG|https://www.instagram.com/psyman_zz/
    Mail|psymantalk@gmail.com