[爆卦]investigational new drug中文是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇investigational new drug中文鄉民發文沒有被收入到精華區:在investigational new drug中文這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 investigational產品中有28篇Facebook貼文,粉絲數超過11萬的網紅解密科技寶藏,也在其Facebook貼文中提到, ⛓【抗癌藥物傳輸系統】狙擊加鎖定,一擊斃命消滅癌腫瘤細胞! 「癌」總讓人無力……🥺 要是確診癌症,總讓人們的日常,變得無常…… 為此,經濟部支持國衛院研發一種能讓癌細胞一擊斃命的藥物傳輸系統,將小分子藥物結合胺化合物,讓小分子胺化合物取代大分子抗體的角色,具有瞄準標靶和攻擊的兩種功能,也找到更易...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • investigational 在 解密科技寶藏 Facebook 的最佳貼文

    2021-06-15 18:00:20
    有 24 人按讚

    ⛓【抗癌藥物傳輸系統】狙擊加鎖定,一擊斃命消滅癌腫瘤細胞!

    「癌」總讓人無力……🥺
    要是確診癌症,總讓人們的日常,變得無常……

    為此,經濟部支持國衛院研發一種能讓癌細胞一擊斃命的藥物傳輸系統,將小分子藥物結合胺化合物,讓小分子胺化合物取代大分子抗體的角色,具有瞄準標靶和攻擊的兩種功能,也找到更易穿透細胞膜的方法,阻斷癌細胞產生連鎖反應,真正達到消滅癌腫瘤的目的。

    目前研發出的候選藥物💊(DBPR115),發現對於大腸直腸癌特別有效,也已取得美國IND(Investigational New Drug)審查通過,將進行人體臨床試驗,為國內第一個本土研發的抗癌藥物傳輸系統的具體成功案例,而另一支候選藥物💊DBPR186也預計在2~3年內進入臨床研究階段,也讓國際能看到台灣在醫療方面的前瞻與精湛。

    📍詳細技術報導 https://pse.is/3j2c4c

    #經濟部技術處 #科技專案 #國衛院 #抗癌藥物傳輸系統 #大腸直腸癌

  • investigational 在 Facebook 的精選貼文

    2021-06-15 15:28:50
    有 348 人按讚

    Novavax 的防護力報告出爐!

    PREVENT-19 trial
    Novavax

    美國Novavax宣佈,經過第 3 期臨床實驗,證明所研發的新冠疫苗安全及總體效力達 90.4%,並在注射兩劑 Novavax 疫苗後,可以 100% 預防新冠肺炎中度和重症,而且對抗某些變種病毒效力高達 93%,

    疫苗名:NVX-CoV2372
    Age > 18, 排除懷孕及使用免疫抑制者

    為評估效力、安全性和免疫原性(Immunogenicity),第 3 期臨床實驗從美國、墨西哥 119 個地點招募 29,960 名受試者,總計有 77 名確診患者對疫苗有反應,其中 63 名患者接種的是安慰劑,而其餘 14 名患者接種兩劑 Novavax 疫苗,因此估計疫苗效力約為 90.4%。

    #整體防護力: 90.4% (95% CI: 82.9-94.6)
    #中重症防護力: 100% (95% CI: 87-100)

    #針對VoC/VoI的防護力為93.2% (95% CI 83.9-97.1)

    #針對65歲以上或65歲以下有共病者,防護力為91.0% (95% CI 83.6-95.0)

    Novavax 採用的蛋白質次單位技術,與高端、聯亞疫苗相同,因為沒有活病毒進入人體,安全性較高,包含 B 肝疫苗、人類乳突病毒(HPV)疫苗都屬於該類型疫苗。

    VoC, VoI的定義,在此⬇️⬇️
    https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/variants/variant-info.html

    資料來源:

    https://ir.novavax.com/news-releases/news-release-details/novavax-covid-19-vaccine-demonstrates-90-overall-efficacy-and

    https://www.nih.gov/news-events/news-releases/us-clinical-trial-results-show-novavax-vaccine-safe-prevents-covid-19

  • investigational 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文

    2021-06-06 20:19:41
    有 534 人按讚

    (รีโพสต์) "ยา โมลนูพิราเวียร์ อยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนา ครับ .. ยังไม่ได้มีให้ใช้"

    ตอนนี้มีการแชร์ข้อความและคลิปวีดีโอ ที่พูดถึงยาต้านไวรัส ตัวใหม่ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการวิจัยเพื่อต่อสู้กับโรค covid-19 ชื่อว่ายา Molnupiravir โมลนูพิราเวียร์

    ปัญหาคือหลายคนไปแชร์กันในทำนองที่ว่า ไม่ต้องฉีดวัคซีนหรอก เดี๋ยวรอใช้ยาตัวนี้ก็ได้ !?

    อย่าทำอย่างนั้นนะครับ !! เพราะยาต้านไวรัสตัวนี้ ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยพัฒนาอยู่เลย เป็นหนึ่งในยาอีกเป็น 100 ตัวที่เขาพยายามพัฒนากันเพื่อใช้ในการรักษาโรค covid-19 ซึ่งกว่าจะมีออกมาให้ใช้จริง ก็คงอีกนาน

    และประสิทธิภาพของมันก็ไม่ได้สูงเลิศล้ำอย่างที่แชร์กันด้วยนะ

    ลองอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมได้จากข้อมูลของศูนย์ #ชัวร์ก่อนแชร์ สำนักข่าวไทย เรียบเรียงไว้ด้านล่างครับ
    -------
    (จาก https://tna.mcot.net/latest-news-708412)

    ชัวร์ก่อนแชร์: Molnupiravir ยาต้านไวรัสรักษาโควิด 19 หายภายใน 5 วัน?

    ตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย: Taiwan FactCheck Center (ไต้หวัน)

    แปลและเรียบเรียงบทความโดย: พีรพล อนุตรโสตถิ์, อดิศร สุขสมอรรถ

    ประเภทข่าวปลอม: ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    บทสรุป:

    1.ผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 2 พบว่า Molnupiravir ได้ผลดีกับผู้รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน แต่ไม่มีผลทางการรักษากับผู้ป่วยที่รักษาตัวในโรงพยาบาล
    2.ประสิทธิภาพของยายังต้องรอผลการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ต่อไป

    ข้อมูลที่ถูกแชร์:

    เป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับ Molnupiravir ยาต้านไวรัสโควิด 19 ซึ่งอยู่ในระหว่างการทดลองโดย Merck บริษัทผู้ผลิตยาในประเทศสหรัฐอเมริกา

    หนึ่งในข้อความอวดอ้างสรรพคุณของ Molnupiravir คือข้อความจาก Facebook ซึ่งส่งต่อกันในไต้หวันช่วงต้นเดือนเมษายน โดยข้อความระบุว่าบริษัทผู้ผลิตยาจากอเมริกา ได้ผลิตยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำในชื่อ Molnupiravir ผู้ป่วยสามารถกินยาอยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน ตัวยาผ่านการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 และ 2 เรียบร้อยแล้ว ซึ่งการทดลองในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ คาดว่าจะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า และต่อไปโควิด 19 จะรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา

    FACT CHECK: ตรวจสอบข้อเท็จจริง:

    ข้ออ้างเกี่ยวกับ Molnupiravir ที่ถูกแชร์เหล่านี้มีข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหลายประการ แยกเป็นประเด็นได้ดังนี้

    1.Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดน้ำ – ไม่เป็นความจริง

    บริษัท Merck ระบุว่า Molnupiravir เป็นยาต้านไวรัสโควิด 19 ชนิดเม็ด ไม่ใช่ยาต้านไวรัสชนิดน้ำอย่างที่กล่าวอ้าง

    2.การทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ของ Molnupiravir ใกล้จะเสร็จสิ้นและได้ผลที่น่าพอใจ – ไม่เป็นความจริง

    เมื่อวันที่ 15 เมษายน Merck ได้เผยแพร่ความคืบหน้าการทดลองยาต้านไวรัสโควิด 19 Molnupiravir ทางเว็บไซต์ โดยบริษัทเตรียมทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่ยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นการทดลองยังไม่ใกล้ที่จะได้ผลสรุปตามที่กล่าวอ้าง

    3.การทดลอง Molnupiravir ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ 100% – ไม่เป็นความจริง

    ในการทดลองยา Molnupiravir มีการแบ่งผู้ทดลองเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม MOVe-OUT ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ระยะแรกซึ่งยังไม่เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และกลุ่ม MOVe-IN ซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล

    ผลการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ได้ผลดีกับกลุ่ม MOVe-OUT และจะทำการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 กับกลุ่มนี้ต่อไป แต่จะไม่ทำการทดลองต่อกับกลุ่ม MOVe-IN หรือกลุ่มผู้ป่วยมีอาการของโรคมาเป็นเวลานานและรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล เพราะการทดลองพบว่าการใช้ยา Molnupiravir ไม่มีผลในรักษากับผู้ป่วยกลุ่มนี้ เป็นการยืนยันว่า Molnupiravir ไม่สามารถรักษาผู้ป่วยโควิด 19 ทุกรายอย่างที่กล่าวอ้าง

    4.ผู้ป่วยโควิด 19 สามารถกินยา Molnupiravir อยู่กับบ้านและเชื้อจะหมดไปจากร่างกายภายใน 5 วัน – ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    รอย เบนส์ หัวหน้าศูนย์วิจัยของ Merck อธิบายกับเว็บไซต์ STAT ว่า ผลการทดลองพบว่า Molnupiravir ได้ผลดีที่สุดกับผู้ที่รับเชื้อโควิด 19 ไม่เกิน 5 วัน ซึ่งการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 ทีมวิจัยจะลดระยะเวลาของการติดเชื้อในกลุ่มตัวอย่างจาก 7 วันเหลือ 5 วัน โดยจะให้กลุ่มตัวอย่างรับยาสูงสุดที่ 800 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ซึ่งผลการทดลองคาดว่าจะออกมาในช่วงเดือนกันยายนหรือตุลาคม

    ขณะที่สรรพคุณของยายังอยู่ในการทดลอง การอ้างว่า Molnupiravir สามารถกำจัดเชื้อโควิด 19 ได้ภายใน 5 วันจึงเป็นข้ออ้างไม่มีหลักฐานยืนยัน

    5.คาดว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในท้องตลาดในอีก 4 ถึง 5 เดือนข้างหน้า – ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    ดร.ฉี๋ซิงปัง จากสถาบัน Academia Sinica และสถาบันสุขภาพแห่งไต้หวัน กล่าวว่า Molnupiravir เพิ่งจะเข้าสู่ทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 และต้องทำการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างอีกประมาณ 3,000 คน

    Merck คาดว่า Molnupiravir จะใช้เวลาในการทดลองทางคลินิกระยะที่ 3 อีกประมาณ 5 ถึง 6 เดือน และจะสามารถวางจำหน่ายในช่วงครึ่งหลังของปี 2021 แต่การกล่าวอ้างว่า Molnupiravir จะวางจำหน่ายในอีก 4 ถึง 5 เดือนเป็นการคาดเดาที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    6.Molnupiravir ทำให้โควิด 19 สามารถรักษาได้เองที่บ้านไม่ต่างจากไข้หวัดธรรมดา – ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    เฉินฉิวฉี ศาสตราจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย National Taiwan University อธิบายว่า แม้ Molnupiravir จะมีผลการทดลองที่ดี แต่ตัวยายังต้องผ่านการพิจารณาจากหน่วยงานด้านสาธารณสุขก่อนจะได้รับการอนุมัติให้ใช้กับประชาชนทั่วไป

    เฉินฉิวฉี ย้ำว่าสิ่งท้าทายผู้ผลิตวัคซีนและยาต้านไวรัสในวันนี้ คือไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์ที่กำลังระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ที่หายป่วยจากโควิด 19 สายพันธุ์เดิมมาแล้วยังสามารถกลับไปติดเชื้อได้อีก ประสิทธิภาพของยาและวัคซีนในการรับมือกับไวรัสโควิด 19 กลายพันธุ์จึงเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายตั้งคำถาม การอ้างว่า Molnupiravir จะสามารถรักษาโควิด 19 ทุกชนิดได้ จึงเป็นข้อกล่าวอ้างที่ไม่มีหลักฐานยืนยัน

    ข้อมูลอ้างอิง:

    https://tfc-taiwan.org.tw/articles/5283
    https://www.statnews.com/2021/04/15/merck-to-continue-tests-of-covid-pill-but-stop-trial-in-hospitalized-patients/
    https://www.merck.com/news/merck-and-ridgeback-biotherapeutics-provide-update-on-progress-of-clinical-development-program-for-molnupiravir-an-investigational-oral-therapeutic-for-the-treatment-of-mild-to-moderate-covid-19/
    -------
    (เพิ่มเติมจาก wikipedia)

    โมลนูพิราเวียร์, อังกฤษ: Molnupiravir (รหัสการพัฒนา MK-4482 และ EIDD-2801) เป็นยาต้านไวรัสทดลองซึ่งออกฤทธิ์โดยการให้ทางปาก ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเป็นโปร-ดรักของอนุพันธ์ของ เอ็น4-ไฮดรอกซีไซติดีน (N4-hydroxycytidine ของนิวคลีโอไซด์สังเคราะห์ และออกฤทธิ์ต้านไวรัสโดยการนำข้อผิดพลาดในการคัดลอกระหว่างการจำลองแบบของไวรัสอาร์เอ็นเอ[1][2] นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนา เช่น ซาร์ส, เมอร์ส และ SARS-CoV-2[3]

    หลังจากพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัส SARS-CoV-2 ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการทดสอบโมลนูพิราเวียร์ในการศึกษาเบื้องต้นในมนุษย์เรื่อง "ความปลอดภัย, ความทนทานต่อยา และเภสัชจลนศาสตร์" ในอาสาสมัครที่มีสุขภาพดีในสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[6] ต่อมาในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 บริษัทริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ประกาศว่าจะเริ่มต้นทดลองในระยะที่ 2 เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของยาในการรักษาโควิด-19[7] การทดลองสองครั้งของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลในสหรัฐและสหราชอาณาจักรดำเนินการในเดือนกรกฎาคม[8][9] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 โดยที่ยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลทางการแพทย์ใด ๆ บริษัทเมอร์ค ซึ่งเป็นพันธมิตรกับริดจ์แบ็ก ไบโอเทราพิวติกส์ ในการพัฒนายาได้ประกาศความตั้งใจที่จะเริ่มการทดลองขั้นสุดท้ายของยาโมลนูพิราเวียร์ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563[10] เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เมอร์คเริ่มการทดลองระยะที่ 2/3 เป็นเวลา 1 ปี โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล[11]

    เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ได้มีการเผยแพร่บทความซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เกี่ยวกับผลการศึกษาของการรักษาเฟร์ริตที่ติดเชื้อโควิด-19 ด้วยยาโมลนูพิราเวียร์[12] จากการศึกษาพบว่ายามีประสิทธิภาพ "เมื่อให้ทางปากกับเฟร์ริตที่ติดเชื้อ และป้องกันการแพร่กระจายของไวรัสระหว่างเฟร์ริตหลังจาก 24 ชั่วโมงภายหลังการให้ยา

    จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C

  • investigational 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:19:08

  • investigational 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • investigational 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站