[爆卦]dividends declared中文是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇dividends declared中文鄉民發文沒有被收入到精華區:在dividends declared中文這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 dividends產品中有70篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, ทำไม บางบริษัทมีกำไร แต่ไม่ยอมจ่ายเงินปันผล /โดย ลงทุนแมน สำหรับคนที่ลงทุนในหุ้น ผลตอบแทนจากการลงทุนจะมาจาก 2 ส่วน คือ 1. กำไรจากการขายหุ้น (Capital ...

 同時也有7部Youtube影片,追蹤數超過118萬的網紅johannes liong,也在其Youtube影片中提到,✅ Daftar Akun eToro : https://linktr.ee/sahamworld ------------------------------------------------- Disclaimers: eToro AUS Capital Pty Ltd, ABN 66 61...

  • dividends 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答

    2021-09-30 11:00:54
    有 3,206 人按讚

    ทำไม บางบริษัทมีกำไร แต่ไม่ยอมจ่ายเงินปันผล /โดย ลงทุนแมน
    สำหรับคนที่ลงทุนในหุ้น ผลตอบแทนจากการลงทุนจะมาจาก 2 ส่วน คือ
    1. กำไรจากการขายหุ้น (Capital Gain) และ
    2. เงินปันผล (Dividend)

    ซึ่งโดยพื้นฐาน ทั้ง 2 ส่วนจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับเรื่องของ กำไรของกิจการเป็นหลัก
    เพราะโดยทั่วไปแล้ว ถ้าบริษัทมีกำไรเติบโตมาก
    ราคาหุ้นก็จะปรับเพิ่มขึ้น รวมไปถึงจ่ายเงินปันผลมากขึ้น

    แต่ประเด็นของบทความนี้ก็คือ มีบางบริษัท ที่แม้ว่าจะมีกำไรมาก แต่กลับเลือกที่จะไม่จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นเลย

    มีเหตุผลอะไรที่บางบริษัทแม้ว่าจะมีกำไรมหาศาล
    แต่เลือกที่จะไม่จ่ายเงินปันผลออกมา
    แล้วถ้าเราอยู่ในฐานะนักลงทุน เราควรหลีกเลี่ยงหุ้นที่ไม่จ่ายเงินปันผลหรือไม่ ?
    ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่า นักลงทุนบางส่วนที่ลงทุนในหุ้น หวังจะได้ผลตอบแทนอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำทุก ๆ ปี เพราะฉะนั้น นักลงทุนในกลุ่มนี้ จึงชอบมองหา บริษัทที่มีการประกาศจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นอย่างต่อเนื่อง

    ดังนั้น จึงอาจมีนักลงทุนจำนวนหนึ่ง
    ที่มีกฎเหล็กเลยว่า จะไม่ลงทุนในบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผล

    ในมุมของบริษัท หลัก ๆ แล้วจะสามารถจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นได้ เมื่อในรอบปีบัญชีนั้น บริษัทมีกำไร และไม่มีผลขาดทุนสะสม

    อย่างไรก็ตาม ก็มีบริษัทจำนวนไม่น้อย ที่เลือกไม่จ่ายเงินปันผล ทั้งที่บริษัทก็มีกำไร และไม่ได้ขาดทุนสะสม
    ซึ่งก็มีเหตุผลที่ไม่จ่ายหลากหลายกรณี เช่น

    กรณีแรก: บริษัทต้องการนำผลกำไรนั้น ไปลงทุนต่อ

    การนำผลกำไรกลับไปลงทุนต่อ (Reinvesting Profits)
    คือสิ่งที่หลายบริษัทเลือกทำ โดยเฉพาะถ้าบริษัทนั้น กำลังอยู่ในช่วงของการเติบโต ซึ่งต้องการทุ่มเงินลงทุนไปในโครงการต่าง ๆ

    บางบริษัทเชื่อว่า การนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อ จะสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่า การที่ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล

    ซึ่ง Netflix ผู้ให้บริการสตรีมมิงวิดีโอรายใหญ่ของโลก ก็คือกรณีศึกษาที่ดีของเรื่องนี้

    เราลองมาดูผลประกอบการของ Netflix ในช่วงปี 2018-2020
    ปี 2018 รายได้ 521,000 ล้านบาท กำไร 40,000 ล้านบาท
    ปี 2019 รายได้ 666,000 ล้านบาท กำไร 62,000 ล้านบาท
    ปี 2020 รายได้ 833,000 ล้านบาท กำไร 92,000 ล้านบาท

    รู้ไหมว่า สิ้นปี 2020 Netflix มีกำไรสะสมมากถึง 252,000 ล้านบาท แต่ที่ผ่านมา บริษัทไม่เคยจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเลย

    เนื่องจากบริษัทนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อในการผลิตคอนเทนต์ เช่น สร้างภาพยนตร์ สร้างแอนิเมชัน ซีรีส์ รวมไปถึงการจ่ายคืนหนี้ และซื้อหุ้นคืน

    อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผู้ถือหุ้นจะไม่ได้เงินปันผล แต่มูลค่าบริษัทของ Netflix ก็ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 119,000 ล้านบาท เมื่อ 10 ปีที่แล้ว มาอยู่ที่ 8.5 ล้านล้านบาทในปัจจุบัน

    หมายความว่า ถ้าเราลงทุนในหุ้น Netflix 1 ล้านบาท เมื่อ 10 ปีที่แล้ว
    มาวันนี้ เงิน 1 ล้านบาทนั้นของเรา จะกลายเป็น 71 ล้านบาท
    และนั่นคงไม่ทำให้ผู้ถือหุ้น Netflix มีปัญหาอะไร แม้ว่าจะไม่เคยได้รับเงินปันผลเลยก็ตาม..

    กรณีที่สอง: เก็บเงินสดไว้ซื้อกิจการเป้าหมาย

    อีกหนึ่งบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นมานานแล้ว คือ Berkshire Hathaway ที่มีวอร์เรน บัฟเฟตต์ นักลงทุนชื่อดังระดับโลกเป็นผู้บริหารอยู่

    รู้ไหมว่า ปัจจุบัน Berkshire Hathaway นั้นมีเงินสดอยู่ในบริษัทกว่า 2 ล้านล้านบาท ซึ่งการที่ Berkshire Hathaway เลือกถือเงินสดไว้มาก ๆ เหตุผลหนึ่งก็คือ เก็บเอาไว้ใช้ซื้อกิจการที่น่าสนใจ

    ตัวอย่างกิจการที่ Berkshire Hathaway เข้าไปซื้อในอดีตที่ผ่านมา เช่น

    ปี 2010 ซื้อหุ้น 100% ของบริษัท BNSF Railway ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางรถไฟรายใหญ่ ที่มีเครือข่ายในทวีปอเมริกาเหนือ มูลค่ากว่า 1.5 ล้านล้านบาท

    ปี 2013 ซื้อหุ้น 50% ใน The H. J. Heinz Company บริษัทแปรรูปอาหารและผลิตซอสมะเขือเทศ มูลค่ากว่า 410,000 ล้านบาท

    แม้ว่าหลัง ๆ มา Berkshire Hathaway จะไม่ได้เข้าซื้อกิจการด้วยมูลค่ามาก ๆ เท่าในอดีต
    แต่การที่บริษัทมีเงินสดอยู่มหาศาล ก็ทำให้บริษัทสามารถเข้าไปซื้อกิจการเป้าหมายได้ เมื่อไรก็ตามที่บริษัทต้องการ

    กรณีที่สาม: ปัญหาทางการเงินของบริษัท

    นอกเหนือจากการนำผลกำไรนั้นกลับไปลงทุนต่อ และเก็บเงินไว้เพื่อซื้อกิจการเป้าหมายแล้ว การที่บริษัทจะไม่จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นอาจเกิดจากปัญหาทางการเงินของบริษัทเอง

    บางบริษัทแม้ว่า จะมีกำไรในบางปี แต่ก็ไม่สามารถจ่ายเงินปันผลออกมาได้ เนื่องจากบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสมอยู่ ซึ่งตามกฎแล้ว บริษัทจะยังไม่สามารถที่จะจ่ายเงินปันผลออกมาให้ผู้ถือหุ้นได้

    หรือแม้แต่กรณีที่บริษัทมีกำไรสะสม และสามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ แต่บริษัทก็อาจจะยังไม่จ่าย เนื่องจากสถานะการเงินที่ยังไม่แข็งแรง จึงเลือกที่จะเก็บเงินสดไว้ระดับหนึ่งก่อน

    อ่านมาถึงตรงนี้ เราก็น่าจะพอได้ไอเดียแล้วว่า
    ทำไมบางบริษัทที่มีกำไรแต่ไม่จ่ายเงินปันผลออกมาให้ผู้ถือหุ้น

    เพราะว่าบริษัทเหล่านั้น ต้องการที่จะนำผลกำไรไปลงทุนต่อในธุรกิจตัวเอง ไปซื้อกิจการอื่น จ่ายคืนหนี้ ซื้อหุ้นคืน หรือแม้แต่เก็บเงินสดไว้ เพื่อรักษาสภาพคล่องทางการเงิน

    ดังนั้น ก่อนที่เราจะปฏิเสธไม่ลงทุนในบริษัทที่ไม่จ่ายเงินปันผล เราต้องดูให้ดีก่อนว่า ที่บริษัทไม่ยอมจ่ายเงินปันผลนั้น เพราะอะไร หรือมีแผนเอาเงินที่ไม่จ่ายออกมาเป็นปันผลนั้น ไปต่อยอดได้ดีแค่ไหน

    ถ้ามองแล้วว่า ถึงแม้บริษัทจะไม่จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น
    แต่มีการเอาเงินส่วนนั้น ไปต่อยอดสร้างอนาคตที่ดีให้กิจการ
    หุ้นที่เราถืออยู่ ก็สามารถมีมูลค่าที่เติบโตเพิ่มขึ้น
    จนทำให้สุดท้ายแล้ว เราในฐานะผู้ถือหุ้น ก็อาจได้ผลตอบแทนจากราคาหุ้นที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน
    ซึ่งถ้าผู้ถือหุ้นอยากได้เงินสดมาใช้ ก็อาจแบ่งขายหุ้นออกมาได้..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.suredividend.com/why-companies-never-pay-dividends/
    -https://www.set.or.th/th/regulations/simplified_regulations/files/20200914_Dividend.pdf
    -https://ir.netflix.net/financials/financial-statements/default.aspx
    -https://www.investopedia.com/ask/answers/12/why-do-some-companies-pay-a-dividend.asp
    -https://www.wallstreetzen.com/stocks/us/nasdaq/nflx/dividends
    -https://finance.yahoo.com/quote/NFLX/balance-sheet?p=NFLX
    -https://www.investopedia.com/ask/answers/021615/why-doesnt-berkshire-hathaway-pay-dividend.asp
    -https://kunaldesai.blog/berkshire-hathaway-acquisitions/

  • dividends 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最佳解答

    2021-07-06 00:16:52
    有 392 人按讚

    【還原「物業帶動鐵路」的歷史時空】 #永續港鐵霸權 #7月專研

    港鐵霸權一大核心就是長期壟斷「鐵路上蓋物業發展權」,今時今日香港土地問題走到如斯局面,與經常被吹噓為「國際成功模式」的「鐵路加物業」(Rail + Property) 不無關係,但服務大眾的鐵路公司搖身一變成為追求利潤的發展商,絕對不是一夕間發生的合理事情。「鐵路上蓋物業」的原意又與今日有沒有變化? 是次研究專題將會透過回顧過上千頁有關香港地下鐵發展的英國解密檔案,還原70年代「物業帶動鐵路」發展模式的源起及原意,將有助進一步理解現時逐漸扭曲的港鐵發展形態。

    ▌構思初現:初期鐵路物業的背景與概念

    「以地養鐵」更早可以在日本找到相類似發展模式 (Murakami, J., & Gregory, K. I.,2012),然而最早「引進」香港的來源暫不可考。但從現有官方內部檔案中,可找到早於1970年交通諮詢委員會 (Transport Advisory Committee)提交的一份《集體運輸計劃總報告書》,報告中建議除了計劃興建已設計的4條鐵路路線,並分9期(nine distinct stages) 完成「理想」鐵路系統(preferred system)外,已有提及「發展上蓋物業」的構思。在報告提及鐵路系統的長期發展影響:

    ”Wherever subway systems have been built experience shows that property and land increase in value. This opens up the strong possibility that a part of the cost of providing station concourses could be met through arrangements which permit the private development of station superstructures and surrounds.”

    當年報告所述,由於預視到鐵路系統的帶動下,當地物業及地價將會升值。因而報告提到有很大可能可以容許私人發展 (private development) 上蓋物業去補貼鐵路站的建設成本。值得注意的是,報告除了提出上蓋 (station superstructures)發展外,首次提到發展上蓋周邊 (surrounds) 的發展概念。可見,現時港鐵圈地/上蓋物業發展一早出現在早期鐵路系統構思之中。

    70年代還有差點讓鐵路系統觸礁的財政艱難,更清晰定位鐵路中的「物業收益」有何功能。參考早期關於興建鐵路系統的英國解密檔案顯示,早於1972年,香港政府成立集體運輸臨時管理局(Mass Transit Railway Provisional Authority),打算先行興建較全面、工程單一批予日資財團(Japanese consortium)的早期系統(initial system),但後來石油危機爆發,日本經濟陷入危機,財團先是提出可否修訂興建成本價格上限由50億為60億,遭到管理局拒絕後則宣佈退出鐵路興建,檔案中可看到港英政府曾一度為此而與日資財團就賠償爭執,甚至有香港主要大班 (怡和除外) 都因財政理由反對繼續推展興建鐵路計劃。

    當年港英內部評估1980年代交通系統會超負荷,即使鐵路系統已被日資延遲一年(have effectively delayed the MTR project for 12 months),連帶物料通賬的財政問題,但卻認為必須「頂硬上」,調整鐵路系統的財政預算、規模以及未來發展方向,於是臨急推出後來實現的修正早期系統 (Modified Initial System)。在1975年一份關於修正早期系統行政局內部文件,港英將會排除必要鐵路系統以外的多餘支出 (eliminate all expenditures not strictly necessary for resultant simpler system),不僅使整個鐵路規模「大縮水」,同時更建議以溢價債卷(Premium bond)作為融資措施,以及發展沿線上蓋物業(property development on lines)抵消(offset)財赤,皆為確保(safeguard)鐵路在任何情況下的財政可負擔性(the financial viability in any event),讓減少後規模的總興建成本能夠保持於49億的水平。可見,當初「鐵路加物業」發展的概念是在財政大緊縮的特定歷史脈絡生成,目的為防止鐵路興建所帶來財政不穩定情況的其中一法。

    ▌立業辟地:港鐵上蓋四小龍

    直到1975年,為了確保鐵路系統的財政可負擔性以及應急儲備,集體運輸臨時管理局向政府申請批出四個鐵路上蓋物業的綜合發展權(comprehensive development)。而當時行政局內部討論中,一份十分詳細記錄有關批予集體運輸臨時管理局四個上蓋發展權的行政局文件顯示,最早期物業上蓋發展的具體情況:

    —九龍灣車廠上蓋物業(現時德福花園):

    當時除了作為首個利用鐵路車廠上蓋作物業發展的項目,而且亦成為物業上蓋住宅發展的先例,佔地165,800平方呎,打算興建大型屋苑,滿足18,000個人口的住宅需求。

    —亞皆老站(即現今旺角站)上蓋物業(現時旺角中心第一期):

    首個非鐵路站上蓋作物業發展,只是相鄰於(adjacent to) 鐵路站,為首個利用鐵路通風樓(ventilation shaft)的物業發展。

    —金鐘站上蓋物業(現時海富中心):

    佔地60,000平方呎的海富中心,當時金鐘站上蓋物業批地條例原來有列明非工業用途,包括興建酒店(non-industrial purposes which may include a hotel)。

    —畢打/遮打站(即現今中環站)上蓋物業(Pedder/Chater)(現時環球中心):

    當時批中環商業靚地予鐵路公司的理據明顯為商業利益最大化(maximum exploitation of the commercial possibilities),一來可以善用土地資源(物業建於鐵路站上蓋),二來物業及鐵路站同時興建,可以減少工程興建時發展阻礙(development disturbance)。

    其後地鐵公司分別與恆隆、合和、長實多間發展商共合發展上述四個上蓋物業,作為「鐵路加物業」發展模式的雛型,當時內部估計以上物業收入將會佔地鐵公司總收益的20%。當年批出九龍灣車廠上蓋物業上公頃的市區發展土地,整體政府部門都相當歡迎,認為可以平衡當區公屋主導的房屋格局,與及能夠為該區提供額外設施的機會,甚至具體要求屋苑內有至少10戶1車位的發展條件 (XCC(75)52)。此四幅最早批出的上蓋物業發展,從通風樓到車廠、由單一大廈到綜合發展,已是奠定了日後鐵路物業發展的主要選址方式與發展類型。

    ▌誰主上蓋物業?

    這份行政局文件亦載有早期鐵路用地發展權的重要批地原則(principles to be adopted in respect to land grant to Mass Transmit Railway Corporation),是還原物業上蓋發展歷史一份重要參照。文件清楚列出,上蓋物業不一定是地鐵公司「囊中物」,鐵路物業發展權是否批出,或批給誰,完全是政府「話事」 (the grant of comprehensive development rights on land affected by railway installations will be discretionary)。

    文件亦同時指出,程序上地鐵公司需要先向政府申請(formally apply)批地,政府可以基於實際考慮 (practical consideration) 決定如何運用這些鐵路上蓋用地的發展潛力 (for government to decide on how to dispose of any development potential remaining in the land over and above its Mass Transit usage) 。換言之,港鐵的上蓋發展絕對可以由政府主導及決定,包括根據現時的實際考慮(公營房屋供應長期落後及不足)用作興建公屋,不一定用於與發展商合作興建私樓供港鐵公司利潤最大化。

    ▌物業收益應急而起

    70年代尾,鐵路系統打算擴建至荃灣區。翻查1978年有關鐵路擴建荃灣(Mass Transit Railway extension to Tsuen Wan)的行政局文件顯示,當時除了提及車廠上蓋物業發展的選址爭議外,亦有提及港英對發展上蓋物業的財政原則。物業發展的收入原本並不用作補貼鐵路成本 (revenue from property development was not originally envisaged as being used as a means of financing the capital cost of the railway itself),而是作為應急儲備及改善現金流(contingency reserve and to improve its cash flow)。而且更補充荃灣車廠上蓋物業發展的剩餘收入,可以用作應對以下4個應急情況:

    —抵消「超支」建築成本(offset any excess construction costs)

    —抵消收入財赤(offset any revenue deficiencies)

    —加速還債(accelerate loan repayments)

    —提早鐵路公司對港英政府的投資分股息的日子(bring forward the date when the Corporation begins to pay the Government as share holder on behalf of the public dividends on its investment)

    可見,港英多次強調,鐵路上蓋物業收入為確保財政可負擔性(viability)及應急(contingency),而非像現時政府愈來愈恆常化送地予港鐵興建私樓賺錢。

    引述法國城市學者Aveline-Dubach整理地鐵公司至其後港鐵自1980至2016年收入可見,明顯看見90年代末東涌綫及其後的將軍澳線所帶動的物業發展收入比例愈來愈重,已經超越鐵路票務收入,現時每年物業收益足足佔港鐵總收入四成。可見,透過重現當初的批地原意,更能突顯漸走向扭曲的港鐵發展形態,形成尾大不掉之勢。

    ▌賣樓補車費:明言物業發展利潤補貼車費

    港鐵不應用上蓋物業賺盡的討論,亦見於地下鐵路公司條例的立法階段的重要討論。一份1975年討論地下鐵路公司草案(Mass Transit Railway Corporation Bill)的行政局文件,提及鐵路公司需要按照審慎商業原則 (prudent commercial principles)。鐵路作為公共交通工具,不應最大化其投資回報 (maximize its return on investment),只應賺取足夠(enough)收入作營運開支。

    文件亦可見當年政府就發展上蓋物業項目的收益,會清晰公開回應指物業發展可為鐵路帶來的額外利潤,以維持一個「保守的車費政策」 (assist the railway by providing extra revenue to maintain a conservative fares policy)。比起今天已經與物業收益「脫勾」的「可加可減」車費制度,當日港英政府明顯認為物業收益有助更平宜的車費定價。

    在40多年前的歷史時空,當初「鐵路加物業」發展模式跟現時已經不可同日而語,發展上蓋物業不論就其發展型態、財政狀況、規劃模式、補貼原意,明顯有其特定的歷史脈絡及原意。是次研究專題透過還原早期興建地鐵的歷史討論,帶出現時不斷被政府吹奏作為「國際級典範」—港鐵發展模式,並不是一套千秋萬世的發展方程式。

    參考資料

    1971 FCO 40 358 Construction of an underground railway system in Hong Kong

    1975 FCO 40 658 Construction of an underground railway system in Hong Kong

    1975 FCO 40 659 Construction of an underground railway system in Hong Kong

    1975 FCO 40 660 Construction of an underground railway system in Hong Kong

    1978 FCO 40 974 Construction of an underground railway system in Hong Kong

    Aveline-Dubach, N., & Blandeau, G. (2019). The political economy of transit value capture: The changing business model of the MTRC in Hong Kong. Urban Studies, 56(16), 3415-3431.

    Murakami, J., & Gregory, K. I. (2012). Transit value capture: New town codevelopment models and land market updates in Tokyo and Hong Kong. Value capture and land policies, 285-320.

    研究自主 月捐撐起最新專研系列:https://liber-research.com/support-us/
    FPS ID:5390547
    HSBC PayMe 捐款支持:https://bit.ly/32aoOMn
    戶口號碼:匯豐銀行 640-198305-001 (LIBER RESEARCH COMMUNITY (HK) COMPANY LIMITED)
    義工招募:https://bit.ly/2SbbyT3

  • dividends 在 貓的成長美股異想世界 Facebook 的最讚貼文

    2021-05-20 07:45:04
    有 94 人按讚

    🌻美國生活
    打了疫苗後, 在上週進城了一趟.
    許久未出門的感覺很奇妙. 進了城, 也感到大家的生活還是如往常一般, 只是餐廳沒甚麼人(都用電話下單, 或是當場點了東西後就走), 許多人(並不是全部)的臉上也多了個口罩. 旅館的人倒是不多. 但商家停車場的車子應該如往常一樣, 沒有減少.

    每次進城, 也一定會到Chipotle打牙祭. 這次試了他們新的飯(參雜了cauliflower花椰菜), 酸酸滋味, 配上原來burrito裡面就有的料, 真的是開胃又好吃, 一口接一口.

    最近吃了三家不同的burrito, 還是覺得Chipotle的最好吃. 我想原因之一(不知道我的觀察有沒有誤), 可能是他們把不同口感的配料加在一起時, 有多家一道手續, 讓新鮮脆口的生菜, 烤熟的肉類, sour cream與其他配料均勻地被融合起來, 也讓滋味豐富了起來. 不像其他家的burrito, 一口咬下去, 就是飯, 或是豆類, 分得很清楚, 而沒有不同食材所帶來的多層次的口感.

    Anyway. 附上這次進城照的幾張照片在下方.

    🌻My happiness project: 年報財報導讀

    股市對我來說像戰場; 年報財報就像是兵書. 而一家家公司的年報財報, 對我來說, 就像是故事書一樣, 述說著公司的成長營運軌跡. 做了這些功課後, 持股也會有信心. "Buy and do homework," 是我認為投資該有的態度.

    下半年時間比較多, 所以想抽一點時間出來, 跟對看年報財報有興趣的投資人一起來讀資料, 順便藉此分享我是如何抓重點&透過年報財報來做思考的. 也想要藉此來宣揚看年報財報的好處&消除投資人對英文年報財報可能會有的恐懼感. Anyway. 這只是初步的想法. 若要實行也會是九月的事情了.

    不過先錄了一段影片, 解釋我是怎麼做財報內容&電話會議內容整理的: https://youtu.be/vvkrs6CiWdw

    🌻本周做的功課與閱讀
    https://makingsenseofusastocks.blogspot.com/2021/05/blog-post_19.html

    這次的閱讀中, 跟成長股比較有關的是這段. 目前成長股也被重新定價中, 所以建議成長股投資人在挑股的時候, 盡量找有現金流, 還有獲利的公司.

    "That’s true even for the highflying growth stocks that have been getting hit so hard recently—as long as they have earnings. Adam Parker, founder of Trivariate Research, notes that following large growth selloffs, S&P 500 growth stocks with both free cash flow and expanding margins tend to outperform in the months ahead. That means favoring stocks like ServiceNow (ticker: NOW) and Advanced Micro Devices (AMD) over shares of Chegg (CHGG) and Twitter (TWTR). “Buy some growth stocks on the selloff, but they have to have positive free cash flow and margin expansion,” Parker says."

    🌻投資金句
    "I learned that you may be right, but if enough people believe you're wrong the markets can really hurt you." --BlackRock bond chief Rick Rieder

    🌻The Future of Work
    看到BofA寫的這一段, 覺得挺感動的. 這也是投資的目的之一, 能夠藉著這個方式, 來接觸到世界的脈動.

    The Future of Work
    Thematic Research
    BofA Global Research
    bofa.com

    May 12: The future of work is not zero-sum between humanity and technology. We believe humans can collaborate with and work alongside robots, rather than be displaced by them, and that technology can create more jobs than it destroys. By 2025 alone, the WEF [World Economic Forum] thinks automation will add 12 million net new jobs, with robots eliminating 85 million jobs but creating 97 million new ones. Other grounds for optimism include: (1) 65% of children starting school today will work in jobs that have not been invented yet; (2) “new” collar jobs will be generated from well-placed thematic sectors like healthcare, renewables, new mobility, or even moonshot technologies; and (3) we might actually be more productive and have more leisure time if robots can relieve us of more mundane, repetitive everyday tasks. We have identified $14 trillion in market cap of enablers for the future of work. Technology, industrials, and medtech are some key beneficiaries. We also see opportunities in education and the upskilling/retraining of workers by corporates. Conversely, commercial real estate/offices and legacy transport are some of the sectors facing headwinds...

    So, what are the truly futuristic jobs that could be invented? Data-privacy managers, nanomedicine surgeons, lab-meat scientists, blockchain strategists, space-tourist guides, freelance biohackers, AI avatar designers, 3D food-printer chefs, leisure-time planners, ethical algorithm programmers, and brain simulation specialists, to name but a few.

    🌻Dividend Growers’ Allure
    這段從股息的角度, 來講解傳統價值股跟成長股的不同處.

    Dividend Growers’ Allure
    Insights & Commentaries
    Washington Crossing Advisors
    washingtoncrossingadvisors.com

    May 10: Buy quality stocks that increase dividends regularly. This simple strategy takes a long-term view of investing and focuses on the dividend, not the stock price. Passive income generated from dividend growth has two main benefits. First, it focuses your investment strategy on cash-generating, growing companies. Second, it tends to lead to quality businesses that are neither too young nor too old.

    Why is this so? Almost by definition, a dividend-growing company tends to cover expenses with rising cash flow. And which companies do these tend to be? They tend to be profitable, established companies in the middle of their corporate life cycle. By contrast, young companies tend to be burning cash, constantly in need of capital, and face a higher risk of failure. Such young firms tend to not pay dividends at all as they are consumed with growth. On the other hand, older companies often funnel most or all cash to investors as dividends because viable investments can no longer be found. These firms are often in decline and offer little growth, often reflected in a high current yield.

    Picture:
    1. Chipotle內部. 可以看到有個取餐的架子. 餐廳人員也不時在電腦螢幕前, 看進來的訂單, 備菜.
    2. 旅館外一區. 面向密西根湖.
    3. CSX, Union Pacific的火車廂(這兩家都有上市)