[爆卦]Truss bridge是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Truss bridge鄉民發文沒有被收入到精華區:在Truss bridge這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 truss產品中有114篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, รู้จัก AUKUS ของสหรัฐ และการโต้กลับด้วย CPTPP ของจีน /โดย ลงทุนแมน เรื่อง AUKUS เป็นประเด็นใหม่ที่คนทั้งโลกจับตา สนธิสัญญา AUKUS เป็นข้อตกลงที่สหรัฐฯ ...

 同時也有16部Youtube影片,追蹤數超過4,070的網紅N.R.G. tv,也在其Youtube影片中提到,【4 Da Kulcha】 Kダブシャインが語るヒップホップカルチャー番組 ヒップホップの歴史、ディスコグラフィー、アーティスト解説etc.. 1991年リリースされたヒップホップアルバムからお薦め10枚をピックアップして紹介。 ▶︎Kダブシャイン Twitter : https://twitt...

truss 在 goodbyehkhellouk Instagram 的最讚貼文

2021-09-17 16:14:15

新舊外交大臣嘅笑容 今日英國首相出席下議院例行答問大會(PMQ)之後,忽然宣布重組內閣,當中比較注目嘅係外交大臣Dominic Raab調任(降職)為司法大臣,兼任Lord Chancellor(中譯大法官,但個人覺得實際職能同中文意思唔多配合)與及代任首相(Deputy Prime Minist...

  • truss 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文

    2021-09-29 20:00:09
    有 611 人按讚

    รู้จัก AUKUS ของสหรัฐ และการโต้กลับด้วย CPTPP ของจีน /โดย ลงทุนแมน
    เรื่อง AUKUS เป็นประเด็นใหม่ที่คนทั้งโลกจับตา
    สนธิสัญญา AUKUS เป็นข้อตกลงที่สหรัฐฯ และสหราชอาณาจักร จะสนับสนุนการสร้างเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ให้แก่ออสเตรเลีย

    คำว่า AUKUS ย่อมาจาก
    Australia (AU)
    United Kingdom (UK)
    United States (US)

    แต่รู้ไหมว่าสนธิสัญญา AUKUS ยังเกี่ยวข้องกับจีน และอาจทำให้เกิดความตึงเครียดในภูมิภาคทะเลจีนใต้ระหว่าง สหรัฐฯ กับ จีน มากขึ้น
    เรื่องนี้น่าสนใจอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    สหรัฐฯ และสหราชอาณาจักร อ้างว่า การทำสัญญา AUKUS กับออสเตรเลีย เพราะอยากให้มีความปลอดภัยและสันติภาพ เพิ่มขึ้นในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก

    แต่หลายประเทศ เช่น ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย มองว่า สนธิสัญญานี้จะทำลายความสงบสุขในเอเชียมากกว่า เพราะอย่างที่รู้กันคือ สนธิสัญญานี้จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของกองทัพออสเตรเลีย

    การที่ออสเตรเลียได้เรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ในครั้งนี้ ออสเตรเลียจะกลายเป็นประเทศที่ 7 ของโลก ที่มีเทคโนโลยีดังกล่าว

    เรื่องทั้งหมดนี้ก็คงเป็นเพราะเหตุผลเบื้องหลังคือ สหรัฐฯ ต้องการคานอำนาจและท้าทายอิทธิพลของจีน ในเขตทะเลจีนใต้

    แล้วสำหรับจีน มีมุมมองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไร ?

    จีนกล่าวหลังจากทราบเรื่องดังกล่าวว่า สหรัฐฯ นั้นใจแคบ และไร้ความรับผิดชอบ ที่อาจนำพาให้ประเทศอื่นเข้าสู่ยุคสงครามเย็น

    และที่ทำให้ทุกคนประหลาดใจ หลังจากการแถลงข่าวเรื่อง AUKUS ได้ 1 วัน รัฐบาลจีนเลยเข้าร่วมข้อตกลงการค้าเสรี CPTPP ในทันที

    แล้ว CPTPP คืออะไร ?

    CPTPP คือ ข้อตกลงสำหรับประเทศที่อยู่ใกล้เคียงกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในประเด็นเรื่อง การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา มาตรฐานแรงงาน และกฎหมายสิ่งแวดล้อม

    จริง ๆ แล้ว CPTPP เกิดจากโมเดลของ TPP ที่สหรัฐฯ ออกแบบมา เพื่อกีดกันทางการค้ากับจีนโดยเฉพาะ ดังนั้นหลายคนคิดว่าจีนอาจไม่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนด CPTPP ได้เพราะติดเกณฑ์หลายเรื่องในข้อตกลง

    แต่การที่จีนยอมเข้าร่วมข้อตกลง CPTPP นี้ นอกจากจีนจะทำการโต้กลับเรื่อง AUKUS แล้ว จีนคงเห็นอะไรบางอย่างที่จะได้ประโยชน์จากเรื่องนี้

    โดยก่อนหน้านี้ ในสมัยที่ดอนัลด์ ทรัมป์ เป็นประธานาธิบดี สหรัฐฯ ได้ออกจากข้อตกลง TPP มาแล้ว ซึ่งการออกจากข้อตกลง TPP ในครั้งนั้นทำให้ขนาดเศรษฐกิจของประเทศทั้งหมดที่อยู่ในข้อตกลง ได้ลดลงจาก 27% ของ GDP โลก มาอยู่ที่ 15%

    แต่การเข้ามาของจีนในครั้งนี้ จะทำให้ CPTPP มีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 30% ของ GDP โลก และมีประชากรรวมเป็น 1,900 ล้านคน หรือ 25% ของประชากรโลกเลยทีเดียว

    แต่เรื่องนี้คงต้องติดตามกันอีกยาว ว่าจีนจะเข้าร่วม CPTPP ได้หรือไม่
    เพราะตอนนี้หลายประเทศที่อยู่ใน CPTPP ก็ยังคงทำตัวไม่ถูก เนื่องจากในข้อตกลงนี้มีแต่ประเทศที่เป็นมหามิตรของสหรัฐฯ เช่น ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และแคนาดา ในขณะที่ จีนนั้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับสหรัฐฯ อย่างชัดเจน

    ซึ่งน่าติดตามว่า พันธมิตรของสหรัฐฯ ในข้อตกลง CPTPP จะคิดเห็นอย่างไร ?

    ประเทศสมาชิกใน CPTPP ที่ใกล้ชิดกับสหรัฐฯ โดยเฉพาะ ญี่ปุ่นและออสเตรเลีย มองว่าการเข้ามาใน CPTPP ของจีนเป็นภัยคุกคามต่อภูมิภาคแปซิฟิกมากขึ้น

    สำหรับญี่ปุ่นยังมีกรณีพิพาทในทะเลจีนใต้กับจีน และนอกจากนั้นญี่ปุ่นเคยเจรจาเรื่อง CPTPP กับไต้หวันไว้ว่าจะยอมรับเข้าเป็นสมาชิก

    ดังนั้นไต้หวันย่อมกังวลว่า ถ้าจีนได้เข้าร่วม CPTPP ไต้หวันจะถูกกีดกันในการเป็นสมาชิกของ CPTPP ในอนาคต

    สำหรับออสเตรเลียเอง ก็ยังมีข้อพิพาทกับจีนเช่นกัน
    โดยจีนได้เพิ่มอัตราการเก็บภาษีนำเข้าสินค้าจากออสเตรเลีย ซึ่งมีเจตนาเพื่อโต้กลับออสเตรเลีย หลังจากที่ออสเตรเลียเรียกร้องให้จีนออกมารับผิดชอบว่าเป็นต้นเหตุของโรคระบาดโควิด

    อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นและออสเตรเลีย อาจไม่มีอำนาจมากพอที่จะห้ามจีนเข้า CPTPP ได้
    แต่ทั้ง 2 ประเทศก็คงใช้วิธีเน้นย้ำว่า จีนต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ CPTPP ให้ได้

    ที่น่าสนใจก็คือ พันธมิตรของสหรัฐฯ ที่ยังไม่ได้อยู่ใน CPTPP อย่างสหราชอาณาจักร ก็ต้องการเข้าร่วม CPTPP เพื่อขายสินค้าเกษตรกับประเทศอื่นเพิ่มมากขึ้น หลังไม่มีข้อผูกมัดกับสหภาพยุโรปแล้ว

    คำถามต่อไปก็คือ จีนจะปฏิบัติตามเกณฑ์ของ CPTPP ได้หรือไม่

    โดยในข้อตกลง CPTPP จะเน้นเรื่องความเป็นเสรี และรัฐบาลต้องไม่ไปอุดหนุนรัฐวิสาหกิจเพื่อบิดเบือนตลาด

    ซึ่งเรื่องนี้สอดคล้องกับรัฐบาลจีนเองที่มีแผนจะลดเงินสนับสนุนแก่รัฐวิสาหกิจ และดึงเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อผลักดันให้บริษัททำกำไรและดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

    นอกจากนี้ ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ยังได้ประกาศเข้าร่วมพันธกรณีข้อตกลงปารีส และยุติโครงการสร้างโรงงานถ่านหินในต่างประเทศ เพื่อช่วยลดมลพิษทางอากาศและแก้ปัญหาโลกร้อน

    ดังนั้น กฎเกณฑ์ในการเข้าร่วม CPTPP ในประเด็นเรื่องรัฐวิสาหกิจ และกฎหมายสิ่งแวดล้อม ก็อาจจะไม่ใช่เรื่องยากสำหรับจีน

    อย่างไรก็ตาม จีนยืนยันว่าการเข้าร่วม CPTPP ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องสนธิสัญญา AUKUS เพราะจีนต้องการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ มากกว่าจะผลักดันให้เกิดสงครามเหมือนสหรัฐฯ

    แล้วสหรัฐฯ มีท่าทีอย่างไร หลังจีนต้องการเข้าร่วม CPTPP ?

    การร่วมมือของสหรัฐฯ ทางการทหาร ผ่านสนธิสัญญา AUKUS อาจไม่พอที่จะหยุดอำนาจของจีนในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก เพราะสหรัฐฯ ยังขาดบทบาทการเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจในเอเชีย

    ซึ่งนักธุรกิจ และสมาชิกในสภาคองเกรส ต้องการให้สหรัฐฯ กลับเข้ามาเป็นสมาชิก CPTPP ก่อนประเทศจีน เพื่อลดกำแพงภาษี และรองรับการเป็นสมาชิกของไต้หวันก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป

    แต่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน อาจจะไม่เข้าร่วม CPTPP ในทันที จนกว่าการปฏิรูปเศรษฐกิจภายในประเทศ หรือนโยบาย “Build Back Better” จะสำเร็จเสียก่อน

    ซึ่งนโยบายนี้ กีดกันทางการค้าและเทคโนโลยีกับจีนในทางอ้อม ด้วยการส่งเสริมการใช้วัตถุดิบในประเทศและใช้สินค้าที่ผลิตโดยคนอเมริกัน

    ซึ่งดูเหมือนว่า สงครามการค้า หรือ สงครามเทคโนโลยี ระหว่างสหรัฐฯ และจีน ตั้งแต่สมัยทรัมป์ ยังคงดำเนินต่อ เพียงแค่อยู่ในรูปแบบที่เปลี่ยนไป

    และสำหรับประเทศที่เหลือบนโลกใบนี้ ก็ยังต้องปรับตัวให้อยู่กับ 2 ขั้วทางการเมือง ที่ไม่น่าจะมีวันมาบรรจบกันได้อย่าง สหรัฐฯ และจีน ไปอีกนานเป็นทศวรรษ..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.reuters.com/world/china/china-officially-applies-join-cptpp-trade-pact-2021-09-16/
    -https://apnews.com/article/united-nations-general-assembly-joe-biden-6dd0382e93987500d714f9fa497602af
    -https://www.bbc.com/news/world-asia-china-58647481
    -https://www.posttoday.com/world/663460
    -https://www.prachachat.net/economy/news-765984
    -https://www.cnbc.com/2021/09/27/analysts-on-chinas-bid-to-join-cptpp-strategic-competition-with-us.html
    -https://www.bbc.com/news/explainers-55858490
    -https://www.globaltimes.cn/page/202109/1234584.shtml
    -https://www.reuters.com/article/uk-davos-meeting-trade-truss-idUSKBN29Y14U
    -https://www.cnbc.com/2021/01/11/control-risks-on-biden-administration-rejoining-tpp-trade-deal.html
    -https://www.piie.com/blogs/trade-and-investment-policy-watch/chinas-cptpp-bid-puts-biden-spot
    -https://www.economist.com/leaders/2021/09/25/america-is-at-last-getting-serious-about-countering-china-in-asia
    -https://www.economist.com/leaders/2021/09/25/america-is-at-last-getting-serious-about-countering-china-in-asia

  • truss 在 Facebook 的最讚貼文

    2021-09-24 18:00:57
    有 1,488 人按讚

    今天的 #新聞短打 要來繼續追蹤CPTPP的消息。台灣申請加入CPTPP後,中國不意外地重申「一個中国」的政策,而加拿大、澳洲與日本則傳出要一起合作協助台灣加入CPTPP。

    依據CPTPP的協議文本,加入CPTPP的國家在提出申請後,將會與其他國家進行非正式磋商;待各成員國對新成員有共識後,再以「成員共識決」同意其加入。換句話說,若有成員國強烈反對特定國家加入,申請案就會卡在「成員共識決」這個關卡。

    目前CPTPP共有11個成員國,但只有8個國家的國會批准CPTPP的協議文本。美國智庫CSIS資深研究員 Gregory Poling 在推特上指出,台灣目前在申請案上具有優勢,因為較容易受到北京影響的汶萊與馬來西亞,都尚未批准CPTPP的協議文本,也因此無法在成員國會議中投反對票。

    此外,根據澳洲媒體《澳洲人報》報導,加拿大、澳洲與日本正在私下運作,促使成員國支持台灣的申請案。日本前首相安倍晉三選擇在推特上對台灣的申請案表示歡迎,外相茂木敏充則在例行記者會答覆記者提問時稱台灣是「極為重要的夥伴」且在各項法規與政策條件上,應能滿足CPTPP的要求。

    在日本之外,一樣被澳洲媒體點名支持台灣加入的國家,還有澳洲與加拿大。我們昨天提到澳洲與中國正在WTO對簿公堂,就澳洲紅酒進口議題進行貿易仲裁,而在紅酒之外,澳洲其他產品,像是龍蝦和煤炭,目前都被中國拒於門外。澳洲貿易部長特漢 (Dan Tehan) 就表明,除非中國撤除懲罰性關稅,並且恢復雙方的部長級接觸,否則不會支持中國的申請案。

    而在加拿大,渥太華與北京的歧見,主要來自於孟晚舟事件,以及延伸出來的人質外交疑雲。在美國向加拿大請求引渡孟晚舟以來,加拿大商人史帕佛 (Michael Spavor) 、NGO工作者康明凱 (Michael Kovrig) 都因間諜罪名在中國坐牢,另一名男子謝倫伯格 (Robert Schellenberg) 則因運毒被判死刑且上訴失敗,這些司法案件讓加拿大政府對北京難有好臉色。

    同時,今年六月間才傳出加拿大打算向WTO提出申訴,要求成立調查小組,調查中國限制加拿大油菜籽進口是否涉及不正當的貿易限制,但這項要求被中國拒絕。在中國解決與加拿大的歧見之前,中國的入會案能否獲得加拿大的同意?北京能否影響加拿大對台灣的態度?還在未定之天。

    在這兩國之外,英國新任外相特拉斯 (Elizabeth Truss) 昨天訪問墨西哥,希望能獲得墨西哥的支持,讓英國能順利加入CPTPP。英國是在今年2月正式遞件申請加入,也是第一個申請加入CPTPP的非原始成員國,目前預計將於今年年底完成談判。

    按照英國的申請時程,台灣的申請案如未被杯葛,將有機會在明年下半年完成談判,之後正式簽署協議。為了降低北京的反對聲量,台灣也聲明將循WTO的模式,以獨立關稅領域的名義加入CPTPP。未來CPTPP能否為成員國與台灣帶來更多的好處,值得我們進一步關注。

  • truss 在 Facebook 的最讚貼文

    2021-09-17 23:29:10
    有 304 人按讚

    2021年9月7日,我應邀參觀 臺北流行音樂中心 Taipei Music Center 即將在9月18日開展的《唱 我們的歌 流行音樂故事展》,展出內容十分精彩,令人驚豔且感動!我逛了整整兩個小時仍意猶未盡,拍了這些照片與大家分享。

    全程充滿音樂的名人語音導覽是一大特色,參觀者各自戴著耳機,導覽內容會隨著你的移動而變化,所以一定得親自走上一趟,才能體驗完整的展覽內容。

    對了,展覽裡有我提供的數件珍藏喲!能夠參與其中,讓我覺得十分榮幸且驕傲,誠摯推薦這個超讚的「博物館級」臺灣流行音樂界特展給大家!

    ※認識臺北流行音樂中心常設展《唱 我們的歌 流行音樂故事展》

    歷經四年籌備,國內第一個紀錄華語流行音樂展覽《唱 我們的歌 流行音樂故事展》在2021年9月18日正式登場。

    由策展人梁浩軒與三位共同策展人:李明道(Akibo)、馬世芳、五月天瑪莎,歷經1000多天,聯繫超過269家唱片公司與音樂人;簽下數百份授權、借展、視聽合約;南北往返與借展人商借珍貴展品;更經歷了不停討論與取捨,最後選擇111首歌對比臺灣流行音樂歷史與事件中,最具經典與共鳴的歌曲。

    展覽打破了時間軸說歷史,以「時代場景」和「故事主題」相呼應,透過流行歌曲在民眾生活的「共同記憶」為主軸串連起跨越時代的流行音樂作品。

    展覽規劃的12個展區共計1326件展品,分別坐落在臺北流行音樂中心「文化館」的6樓至4樓三個樓層,依序由上而下展開流行音樂故事的旅程:

    6樓共7個展區,真實還原每人接觸音樂的開始,由台語流行歌曲發源地「台北圓環」啟航;隨年齡漸長,來到「台北戲院」看免錢電影;坐上「火車火車」離鄉背井打拼新人生。背起吉他「唱自己的歌」,我們開始關心自己成長的這塊土地,與志同道合的朋友在「年輕人的精神世界」,藉由唱歌抒發自己的熱血。

    5樓透過3個展區,傳達「流行音樂的影響力,是一則永遠說不完的故事」。流行音樂以愛情主題為大宗,來到「音樂愛情故事」欣賞跨時代的聲光秀;在「唱片的出生」體驗一張專輯的每一個環節,都需要最有才華的專業工作者,讓它們廣為傳唱,讓歌者發光。接著在「音樂的魅力」,一覽1930~2020年間華語流行音樂以多元形式展演屬於各世代獨有的音樂樣貌。

    最後來到4樓展區,「音樂現場」紀錄那些未必乖馴的音樂,卻在 LIVE HOUSE、貢寮海祭、墾丁春吶、大港開唱舞台上,找到紮根、開花的土壤。作為Ending展區的「生命的現場-演唱會與 Back Stage」,與必應團隊合作展現沈浸體驗,重現經典演唱現場,帶領觀眾重返感動當下。

    這個展覽是第一個使用自動化及主動式推播語音導覽設備的展覽,當參觀者戴上耳機,隨展區動線移動,耳機即透過紅外線自動感應主動推播音樂,每個展區透過配合主題播放屬於其故事背景的多首流行歌曲混曲。

    展覽也將 RFID 技術帶入展覽置入門票手環中,每位觀展者不僅可在展場中以手環晶片感應機臺獲得展品資訊,觀展後更可登入北流官網,輸入手環晶片密碼,將有包含張雨生的紅色吉他、臺灣嘻哈先鋒宋岳庭「Life’s a Struggle」 手稿、五月天混音器、搖滾天王伍佰第一把 Les Paul 電吉他等20件珍貴展品,利用 RFID 紀錄典藏查詢自己於展場中搜集的數位典藏展品資料。

    此展邀請製作人王希文擔任音樂總監,搭配盧建彰導演的文案,為展覽混音串接111首歌曲及12段語音導覽;更邀請14位重量級音樂人為每個展區引言導覽:音樂教父李宗盛、臺語流行歌曲前輩文夏與文香、陶晶瑩、劉若英,金曲獎最佳貢獻獎羅大佑、民歌之母陶曉清、陳綺貞、張艾嘉、五月天阿信、王力宏,搖滾天王伍佰。英語導覽則由新生代歌手 9m88 與 ØZI 擔綱。在重量級音樂人帶領下,更深刻感受每一展區與臺灣流行音樂背後故事。

    展覽另一大沈浸體驗區「生命的現場-演唱會與 Backstage」,則與必應團隊合作,重現包括五月天、Tizzy Bac、兄弟本色與田馥甄等四組藝人的演唱會現場;結合新科技,以九宮矩陣大型五面投影畫面搭配舞台燈光設計、雷射等,展現沈浸體驗。

    離開演唱會舞台區,來到後台,觀展者則可以透過 AR,觀看有著演唱會後台最常見的 Truss 舞台工程結構。牆面將掛著知名演唱會舞台設計圖,觀眾可在等候表演入場前,利用手機 AR 掃描,一窺舞台製作奧妙,包含蕭敬騰、伍佰 & China Blue、林宥嘉、陳綺貞與盧廣仲,五組藝人的演唱會舞台設計。

    ———————————
    每個人心中都有自己最重要的一首歌、一個物件、一個印記。
    《唱 我們的歌 流行音樂故事展》
    臺北流行音樂中心文化館 9月18日與您相見!
    ———————————

    指導單位|文化部
    主辦單位|臺北市政府文化局、臺北流行音樂中心
    策展單位|INCEPTION 啟藝
    策展人|梁浩軒
    共同策展人|李明道、馬世芳、五月天瑪莎
    策展團隊|曾詩婷、王思雅、林君澤、戴家佑、黃意淳、簡青玲、尹方平、朱庭誼、林宛賢、葉思嘉、朱品堯、林蔚軒、劉曉綺、黃華男

    語音導覽 / 引言人
    序章 / 記憶的和弦|李宗盛
    臺北圓環|文夏、文香
    時代電器行|陶晶瑩
    臺北戲院|劉若英
    火車火車|羅大佑
    唱 自己的歌|陶曉清
    年輕人的精神世界|陳綺貞
    音樂愛情故事|張艾嘉
    唱片的出生|五月天 阿信
    音樂的魅力|王力宏
    音樂現場|伍佰
    英文語音導覽引言人|9m88、ØZI
    語音導覽文案|盧建彰
    語音導覽音樂總監|王希文

    目前只能線上購票: https://bit.ly/3jPZvIT

    ⚠⁣ 因應疫情,此展覽採取預約參觀制,將分時段售票。⁣

    🔹 開館特惠票 $250 (一般民眾) ⁣⁣
    🔹 敬老票 $125 (六十五歲以上長者) ⁣⁣
    🔹 團體票 $225 (團體人數二十人以上) ⁣⁣
    ※ 一律採取OPENTIX 線上購票⁣⁣
    ※ 敬老票資格者,請於入場時出示有效證件⁣⁣
    ⁣⁣
    🎟 展覽時間|2021/9/18 (六)起,為期五年
    每週一休館(2021/9/20除外)
    開放時間:10:00~18:00
    最晚入場時間:16:30⁣⁣

    🎟 展覽地點|臺北流行音樂中心 文化館⁣⁣
    地址:臺北市南港區市民大道八段99