[爆卦]Torticollis是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Torticollis鄉民發文沒有被收入到精華區:在Torticollis這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 torticollis產品中有2篇Facebook貼文,粉絲數超過29萬的網紅CheckCheckCin,也在其Facebook貼文中提到, 【 落枕即是瞓捩頸】注意肩頸保暖可以預防「瞓捩頸」。 #放輕鬆星期六 #人人都試過瞓捩頸 #除左彎彎樽裝安X露外都可以自救 相信你也試過早上起來就發現某邊頸部僵硬痛楚,甚至嚴重到無法轉頭的慘況。中醫稱為落枕,俗語即是「瞓捩頸」。造成「瞓捩頸」原因眾多,很大可能是睡眠時姿勢欠佳,或是枕...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • torticollis 在 CheckCheckCin Facebook 的最佳解答

    2018-03-31 13:49:05
    有 267 人按讚


    【 落枕即是瞓捩頸】注意肩頸保暖可以預防「瞓捩頸」。

    #放輕鬆星期六
    #人人都試過瞓捩頸
    #除左彎彎樽裝安X露外都可以自救

    相信你也試過早上起來就發現某邊頸部僵硬痛楚,甚至嚴重到無法轉頭的慘況。中醫稱為落枕,俗語即是「瞓捩頸」。造成「瞓捩頸」原因眾多,很大可能是睡眠時姿勢欠佳,或是枕頭不合適。現代社會個個都是低頭族,經常低下頭來玩手機,又或是躺下來玩電話,都更容易出現「瞓捩頸」。中醫認為「瞓捩頸」主要與經脈受寒有關,當寒氣入侵經絡,就會令局部氣血失調、經絡受阻,頸部肌肉收縮痙攣而引致頸痛,也就是「瞓捩頸」了。

    落枕的調護小貼士:
    1. 以熱毛巾敷患處10至20分鐘,注意不要燙傷皮膚,可促進血液循環及緩和肌肉僵硬的不適

    2. 肩頸位置塗上有薄荷成分的按摩膏,再洗澡,有助加強血液循環

    3. 按摩穴位,有助放鬆頸部肌肉

    落枕穴:位於手背,食指及中指掌骨之間,指掌關節後約一橫指寬度

    風池穴:位於後頸,後頭骨下,2條大筋外緣陷窩中,相當於耳垂齊平

    後溪穴:微握拳,在小指掌指關節的橫紋盡端,赤白肉際處

    Tips to relieve stiff neck
    You have probably experienced waking up with a stiff neck before, maybe even to the point you can't turn your head. The cause for stiff neck is usually related to poor sleep position or pillow fit. People are also using their phones with head down a lot and even mobile phone usage when lying down can cause stiff neck. Chinese medicine believes this is related to meridian being attacked by cold pathogens and the affected area is blocked by qi 0and blood disruption and the muscles shrinking lead to pain.

    Tips for stiff neck care
    1. Use a hot towel to warm compress affected area for 10-20 minutes. Be sure not to burn your skin. This can improve your blood circulation and discomfort for stiff muscles.

    2. Use massage cream containing mint on your neck and shoulders then take a shower to improve blood circulation.

    3. Massage your acupuncture point to relax the muscles.

    Torticollis point: located at the back of your hand between the index and middle finger, about one finger width below the palm joint.

    Wind Pool point: located at back of neck below the back of head bone at the depressed point of the two large tendons at the same vertical position of your ear lobe.

    Hou Xi point: When a loose fist is made, the point is on the ulnar aspect of the hand, proximal to the 5th metacarpophalangeal joint, at the end of the transverse crease of the metacarpophalangeal joint, at the junction of the red and white skin.

    #男 #女 #我狀態ok #氣滯 #扭傷

  • torticollis 在 คุณแม่ยังสวย Facebook 的最佳貼文

    2013-09-19 11:07:04
    有 55 人按讚

    >> ลูกหัวเบี้ยว ทำอย่างไรดี <<

    แน่นอนครับว่าคุณพ่อแม่ คุณปู่ย่าที่บ้านส่วนใหญ่ มีความต้องการที่จะให้ลูกหลานของตนเองนั้นได้รับสิ่งที่ดีในทุก ๆ เรื่อง ไม่เว้นแม้เรื่องความสวยงาม โดยเฉาะในเด็กเล็ก ที่ผู้ปกครองมักมีความกังวลเรื่องลักษณะรูปทรงของศีรษะว่า สวยได้รูปและทุยหรือไม่ จึงนิยมจัดท่าให้เด็กนอนคว่ำ


    หัวไม่ทุย หัวเบี้ยว คืออะไร

    หัวไม่ทุยหรือหัวเบี้ยว เป็นหนึ่งในความผิดปกติในหลายแบบของกะโหลกศีรษะครับ ในกลุ่มที่แพทย์เรียกว่า "Skull deformities" หัวไม่ทุย คือ ลักษณะกะโหลกศีรษะบริเวณท้ายทอยแบนราบ ซึ่งทางแพทย์เรียกกระดูกนี้ว่า occiput ดังนั้นท้ายทอยแบนราบ คือ flat occiput ครับ คือภาวะที่กระดูก occiput ทั้งด้านซ้ายและขวาแบนราบไป แต่ถ้าหัวเบี้ยว ก็จะเกิดจากภาวะที่กระดูก occiput เพียงด้านซ้าย หรือด้านขวา ด้านใดด้านหนึ่งแบนราบไป ภาวะนี้พ่อแม่จะกังวลและวิตกมากกว่าครับ เข้าทำนองหัวแบนยังพอรับได้ แต่หัวเบี้ยวนี่ทำใจยาก เนื่องจากมองเห็นได้ชัด ไม่ใช่ไม่สวย แต่แลดูออกจะน่าเกลียดเลยด้วยซ้ำ ในทางการแพทย์ ภาวะนี้จะมีชื่อทางวิชาการแตกต่างกันไป แต่ที่ใช้บ่อยคือ Plagiocephaly ครับ ซึ่งเป็นภาษากรีกแปลว่า "หัวเบี้ยว"

    หัวไม่ทุย หัวเบี้ยว เกิดจากอะไร

    แบ่งแยกได้ 2 แบบ คือ แบบแรกเกิดตั้งแต่แรกคลอดใหม่ และแบบที่สองจะเกิดขึ้นภายหลัง ในแบบแรกจะพบว่าลักษณะศีรษะของลูกจะผิดปกติ ผิดรูปไปตั้งแต่แรกคลอดเลย สามารถสังเกตเห็นได้ตั้งแต่แรกเกิด หรือหลังคลอดใหม่ ๆ ครับ ซึ่งพบได้น้อยกว่าแบบหลังครับ แบบที่สอง เมื่อแรกคลอดจะปกติดีแต่ต่อมา หัวจะเริ่มผิดปกติ หรือเริ่มเบี้ยว

    ในแบบแรกสาเหตุของหัวเบี้ยวชนิดนี้ส่วนใหญ่ เป็นความผิดปกติตั้งแต่ในครรภ์มารดา จากการกดทับของมดลูกต่อกะโหลกส่วนท้ายทอยของลูกเป็นเวลานาน จะพบได้ในรายที่แม่มีมดลูกเล็ก กดรัดมาก หรือในรายที่มีลูกแฝด หรืออาจพบหลังคลอดใหม่ ๆ จากการใช้อุปกรณ์ของสูตินรีแพทย์ เช่น การใช้คีมหรือเครื่องสุญญากาศช่วยคลอด ในรายที่มีปัญหาคลอดยากก็เป็นได้ ในเด็กที่คลอดก่อนกำหนดจะพบได้บ่อยกว่าเด็กทารกครบกำหนด เนื่องจากกะโหลกศีรษะของเด็กไม่แข็งเท่ากับผู้ใหญ่ คือจะไม่แตกร้าวแต่จะกดแล้วบุ๋มได้เหมือนลูกปิงปองครับ

    ในรายที่กะโหลกศีรษะผิดรูปเกิดภายหลังคลอด ส่วนใหญ่เกิดจากการนอนอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนาน ๆ กะโหลกที่มีลักษณะรูปวงรีสวยงามจะเบี้ยวไปโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอย และมักจะเบี้ยวด้านใดด้านหนึ่ง ถ้านอนด้านนั้นนานมาก หรืออาจจะมีท้ายทอยแบนราบ ถ้านอนหงายเป็นเวลานานครับ เราเรียกหัวเบี้ยวแบบนี้ว่า "Positional skull deformities" ครับ

    หัวเบี้ยวมีลักษณะอย่างไร

    หัวเบี้ยว หรือ Plagiocephaly เป็นภาวะที่เกิดจาก ท่าทางการนอนท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานาน ซึ่งมักจะเป็นท่านอนหงาย (ต่อเนื่องจากบทความฉบับที่แล้วครับ) คือภายหลังที่มีการรณรงค์ให้เด็กแรกเกิดมีการนอนหงาย (Back to step) เพื่อป้องกันการเสียชีวิตจากการนอนหลับ (SIDS) แล้วปรากฏว่ามีเด็กแรกเกิดมีปัญหาเรื่องกะโหลกศีรษะผิดรูปมากขึ้น ขอย้ำอีกครั้งว่า กะโหลกศีรษะผิดรูป (Skull deformities) นี้จะเกิดหลังคลอด ซึ่งเกิดจากการนอนหงายท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานานครับ (positional related) ซึ่งจะมีลักษณะสำคัญคือ แรกเกิดจะปกติหัวทุยดีแต่เมื่อโตขึ้น ท้ายทอยจะแฟบหรือแบนราบไป เด็กที่ศีรษะเบี้ยวจากปัญหานี้จะมีลักษณะคือ ถ้ามองจากด้านบนลงมาจะแล้วสังเกตตำแหน่งของใบหู กระดูกโหนกแก้ม (zygoma) กระดูกท้ายทอย (occiput) กระดูกหน้าผาก (frontal) จะพบว่ากระดูกท้ายทอยจะแบนไม่เท่ากับอีกด้าน กระดูกหน้าผากจะยื่นออกมา และใบหูจะเลื่อนไปด้านหลัง (ดูรูปประกอบ) ภาวะนี้พบได้ไม่บ่อยมากครับ อาจพบได้ 1 ใน 300 รายต่อการคลอดปกติ

    ภาวะอื่นที่ทำให้ลูกหัวเบี้ยว

    เด็กปกติทุกคนเวลานอนหงายไม่จำเป็นจะต้องมีหัวเบี้ยวทุกรายครับ ตัวเลขดังกล่าวข้างต้น ดงไม่ต้องตื่นตกใจมากนัก บางรายเท่านั้นที่มีปัญหา เด็กปกติสามารถหันคอไปมาได้เอง หรือสลับซ้ายทีขวาที ในเด็กบางคนที่เป็นโรคบางชนิด กะโหลกศีรษะนุ่มกว่าปกติ หรือเด็กคลอดก่อนกำหนด หรือในเด็กบางรายจะมีความผิดปกติของคอ คือมีภาวะคอเอียงตลอดเวลา ที่ทางแพทย์จะเรียกว่า Torticollis ซึ่งเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม แต่สาเหตุที่พบบ่อยมากคือจะมีเลือดออกในกล้ามเนื้อที่บริเวณคอ แล้วหายกลายเป็นพังผืด ให้กล้ามเนื้อด้านตรงข้ามทำงานตลอดเวลา คอจึงเอียง เด็กจะนอนหันหน้าด้านใดด้านหนึ่งตลอดเวลา นอกจากนี้จำเป็นต้องแยกจากกะโหลกผิดรูปที่เกิดจากรอยแยกของกะโหลก หรือ suture เชื่อมปิดเร็วกว่าปกติ (premature closure) โดยเฉพาะรอยแยกที่เรียกว่า Lamdoid ครับ (ดูรูปประกอบ) ในรายที่เกิดจากรอยแยกของกะโหลกปิดเร็ว (Lamdoid craniosynostosis จะพบได้น้อยกว่ามากมากครับ หรือ 3 ในแสนรายครับ

    ป้องกันไม่ให้ลูกหัวเบี้ยวต้องทำอย่างไร

    แม้ว่าภาวะนี้พบน้อย แต่หมอก็พบได้เป็นระยะ แม้เด็กส่วนมากจะพบว่ามีภาวะคอเอียงเสียมากกว่า อย่างไรก็ดีการป้องกันแน่นอนว่าสำคัญที่สุดครับ ในที่นี้ผมจะขอแนะนำผู้ปกครอง หรือพ่อแม่ในระยะแรกคลอดหรือ 2 - 3 สัปดาห์แรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุด เนื่องจากกะโหลกศีรษะจะอ่อน และเกิดความผิดปกติได้ง่าย ด้วยวิธีการง่าย ๆ คือ

    ขณะที่ลูกน้อยนอนหงายเวลาหลับ คุณพ่อคุณแม่อาจต้องคอยช่วยจับศีรษะลูก สลับด้านที่นอนกดทับพลิกไปมาเป็น ระยะ ๆ สลับกันไปครับ และเมื่อเวลาลูกตื่นนอน มีความจำเป็นมากครับที่ต้องพยายามให้ลูกนอนคว่ำ (prone position) และหมอขอแนะนำด้วยว่าต้องคอยจับลูกนอนคว่ำหน้าในขณะตื่น การนอนคว่ำหน้าในเด็กจะทำเฉพาะตอนตื่นนอนเท่านั้นนะครับ ผมขอย้ำ เวลาตื่นนอนเราจะเรียกว่า Tummy time ครับ นอกเหนือจากจะช่วยให้ลูกได้มีโอกาสบริหารกล้ามเนื้อคอ และไหล่เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของเด็กในด้านต่าง ๆ ได้ด้วยแล้ว ขณะเดียวกันก็ป้องกันศีรษะเบี้ยวได้อีกด้วย

    ในต่างประเทศ หรือพ่อแม่คนไทยบางรายเวลาลูกตื่นนอน มักจะให้ลูกนอนอยู่ในที่นอนเด็ก หรือ car seat ที่จะมีลักษณะกึ่งนั่งกึ่งนอน เด็กจะอยู่ในท่านอนหงายตลอดเวลาแม้เวลาตื่นนอน การทำเช่นนี้ไม่แนะนำครับและจะส่งผลต่อรูศีรษะของเด็กด้วย

    การจัดตำแหน่งของศีรษะลูกบนเตียงนอนอาจช่วยได้ ในกรณีเด็กที่มีความจำเป็นต้องนอนหงาย แล้วหันคออยู่ท่าใดท่าหนึ่งตลอดเวลา เช่น อาจเกิดภาวะคอบิด ดังกล่าวข้างต้น การหันศีรษะลูกเพื่อให้มองเห็นกิจกรรมของพ่อแม่ หรือคนเลี้ยงอาจช่วยให้เด็กมีความพยายาม ที่จะไม่อยู่ในท่าใดท่าหนึ่งตลอดไปได้

    ถ้าลูกหัวเบี้ยวแล้วต้องทำอย่างไร

    ในรายที่มีภาวะศีรษะเบี้ยวตั้งแต่แรกคลอด แต่ภายหลังจากคลอด 2 - 3 เดือน ก็จะเริ่มดีขึ้นเรื่อยๆ ครับ แต่หากเด็กเหล่านี้ยังนอนหงาย โดยใช้บริเวณท้ายทอยที่แบนราบสัมผัสพื้นต่อไป ภาวะดังกล่าวจะยังคงอยู่ครับ และอาจแย่ลงได้ด้วย การแย่ลงนั้นเกิดจากผิวหนังของศีรษะกดทับบริเวณท้ายทอยครับ ดังนั้น ในรายที่เกิดมีภาวะหัวเบี้ยวแล้ว อาจใช้วิธีนอนคว่ำ เวลาตื่นดังกล่าวข้างต้นหรือใช้วิธีการจัดเตียงแทน โดยให้เด็กนอนหงายนอกเหนือจากนอนคว่ำ แต่จัดท่าให้นอนหงายในท่าที่เด็กไม่ค่อยหันมองออกด้านนอก อาจหันเข้าหากลางห้อง เพื่อให้เด็กมีความพยายามที่จะเปลี่ยนท่านอนตนเอง การทำดังกล่าวจะช่วยได้แก้ปัญหาหัวเบี้ยวได้ แต่จะใช้เวลาประมาณ 2 - 3 เดือน

    ในรายที่ทำตามคำแนะนำดังกล่าวแล้วไม่ดีขึ้น อาจต้องพบแพทย์เฉพาะทางด้านสมอง การรักษาจะได้ผลดี หากมาพบแพทย์ในช่วงอายุของลูกประมาณ 4 - 12 เดือนครับ เนื่องจากเป็นช่วงที่กะโหลกศีรษะของลูกยังมีความอ่อน สามารถจะปรับเข้ารูปได้ง่าย ๆ ในรายที่ไม่ได้ผลอาจต้องลงเอยด้วยวิธีการใส่หมวกคล้ายหมวกกันน็อก หรือ (Skull molding helmet) ส่วนการผ่าตัดเป็นทางเลือกสุดท้ายและจะทำในรายที่ไม่ได้ผลจริง ๆ หรือมีปัญหาอื่น ซึ่งจะพิจารณาทำน้อยรายมากครับ
    เนื้อหาแม่และเด็ก

  • torticollis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • torticollis 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • torticollis 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:09:56