雖然這篇Topsoil鄉民發文沒有被收入到精華區:在Topsoil這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 topsoil產品中有4篇Facebook貼文,粉絲數超過68萬的網紅IELTS Fighter - Chiến binh IELTS,也在其Facebook貼文中提到, - TỪ VỰNG BAND 8.0 IELTS WRITING - Topic: Environment (Xem bản có dịch ví dụ ở comment nhé các em) 🎯 1. source of pollution/emissions: Nguồn gây ra ô...
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅美食天堂 - 美味家常料理食譜 一學就會,也在其Youtube影片中提到,木板: 大家可以選這適合自己家的木板,Home Depot 會幫大家切成適合的尺寸。 我們使用的是 2“ x 12”。 長邊:2個2英寸x 12英寸,長6英尺 短邊:2個2英寸x 12英寸,長2英尺 釘子: 16個3英吋甲板釘(deck nails) 土壤: 7 袋表土 (topsoil)(60...
「topsoil」的推薦目錄
- 關於topsoil 在 Resepi Sedap Instagram 的最讚貼文
- 關於topsoil 在 小飛 Xiaofei Instagram 的最讚貼文
- 關於topsoil 在 Judy Chou Instagram 的最佳貼文
- 關於topsoil 在 IELTS Fighter - Chiến binh IELTS Facebook 的最佳解答
- 關於topsoil 在 Judy Chou 啾蒂俏 Facebook 的最佳解答
- 關於topsoil 在 DJ Suharit Siamwalla Facebook 的精選貼文
- 關於topsoil 在 美食天堂 - 美味家常料理食譜 一學就會 Youtube 的最佳解答
topsoil 在 Resepi Sedap Instagram 的最讚貼文
2020-05-10 18:15:36
Idea Untuk Mak-mak Berkebun Dekat Rumah . Seronok tengok hasil tanaman Ronie Raisman ini. Kebunnya pun tersusun cantik. . "Hasil tuaian dari beberapa ...
topsoil 在 小飛 Xiaofei Instagram 的最讚貼文
2020-05-09 14:20:47
100 years ago this was the water source for a now abandoned village which has been taken back by the forest. Portions of the ancient aqueduct are stil...
topsoil 在 Judy Chou Instagram 的最佳貼文
2020-05-10 02:26:55
Central Saint Martins First Day 能夠再當學生是快樂的事♡ Hat: @benoitmissolin Earring: @xiwi Coat: zara Top:topshop Shoes:adidas #袖子就是要過長 #benoitmissolin #X...
-
topsoil 在 美食天堂 - 美味家常料理食譜 一學就會 Youtube 的最佳解答
2020-05-09 02:00:11木板:
大家可以選這適合自己家的木板,Home Depot 會幫大家切成適合的尺寸。
我們使用的是 2“ x 12”。
長邊:2個2英寸x 12英寸,長6英尺
短邊:2個2英寸x 12英寸,長2英尺
釘子:
16個3英吋甲板釘(deck nails)
土壤:
7 袋表土 (topsoil)(60%)
5 袋肥(compost)(40%)
1 袋地覆蓋木削 (mulch)
計算所需土壤:
高x長x寬=立方英尺
例如:1 英尺 x 2 英尺 x 6 英尺 = 12立方英尺 的土壤
60%表土= 12 x 0.6 = 7.2立方英尺(1立方英尺=袋, 需購買7袋)
40%肥 = 12 x 0.4 = 4.8立方英尺(需購買5袋 )
Click here for English recipes: www.cicili.tv
CiCi的聯絡方式:
http://www.cicili.tv
https://www.facebook.com/cicili
http://twitter.com/cicili
http://instagram.com/cicisfoodparadise
#美食天堂 #家常料理 #高架菜園做法
© All Rights Reserved.
topsoil 在 IELTS Fighter - Chiến binh IELTS Facebook 的最佳解答
- TỪ VỰNG BAND 8.0 IELTS WRITING -
Topic: Environment
(Xem bản có dịch ví dụ ở comment nhé các em)
🎯 1. source of pollution/emissions: Nguồn gây ra ô nhiễm, khí thải
Ex: Cars are major sources of greenhouse gas emissions and urban air pollution
🎯 2. alleviate = ease = mitigate: làm giảm đi tính nghiêm trọng của một vấn đề. Trái với nó là exacerbate, worsen hoặc aggravate nghĩa là làm tăng tính nghiêm trọng của vấn đề.
Ex: Traffic problems in colossal cities can be alleviated by encouraging the use of public transport among the general public.
🎯 3. environmentally friendly : thân thiện với môi trường, không gây hại cho môi trường.
Ex: Hybrid cars are perceived to be environmentally friendly, as they run on electricity or solar power.
🎯 4. take measures (against): Đưa ra giải pháp chống lại ….
Ex: Local authorities need to take proactive measures against severe air pollution in the area by imposing heavier fines on excessive disposal of emissions or educating citizens about the importance of environmental protection.
🎯 5. emit: /iˈmɪt/ thải ra (khí, chất)
Ex: As greenhouse gases emitted from industrial zones degrade air quality, stricter enforcement laws need to be imposed to regulate the quantity of industrial emissions.
🎯 6. conservation: /ˌkɒnsəˈveɪʃn/ bảo tồn, giữ gìn
Ex: Vast tracts of land have been allocated to build wildlife conservation areas during the past years. However, not until illegal hunting has been completely eliminated, will myriad rare species still be on the verge of extinction.
🎯 7. carbon footprint : lượng khí thải cácbon
Ex: he introduction of green taxes and carbon trading schemes put firms under pressure to reduce carbon footprint.
🎯 8. abatement /əˈbeɪtmənt/: làm giảm
Ex: While the government spend a large budget on air pollution abatement, conservation efforts seem to be outstripped by the pace of environmental damage.
🎯 9. Logging: /ˈlɒɡɪŋ/ chặt phá cây rừng
Ex: While logging industry provides inputs for a wide array of products, it results in the habitat loss of many life forms – both terrestrial and aquatic and ultimately vanish the entire ecosystem.
🎯 10. Erosion : /ɪˈrəʊʒn/ hiện tượng xói mòn đất
Ex: Illegal Logging is the main contributor to the erosion in many areas across the globe. Tree roots facilitates the transmission process of nutrients into soil. As trees are cut down, the topsoil wears away and leaves behind an infertile of hard clay.
🎯 11. biodegradable/ˌbaɪəʊdɪˈɡreɪdəbl/: tự phân hủy
Ex: One of the most effective solutions to the issue of garbage disposal is to encourage the use of biodegradable cloths or papers instead of plastic packaging.
🎯 12. diminishing : /dɪˈmɪnɪʃ/ suy giảm, giảm sút
Ex: Nuclear energy has become a feasible source of energy, supplying electricity to homes and industries, in the context of diminishing oil deposits.
........................
- Cô Ngọc Cúc sưu tầm -
Chúc các em học tốt <3
topsoil 在 Judy Chou 啾蒂俏 Facebook 的最佳解答
Central Saint Martins First Day
能夠再當學生是快樂的事♡
Hat: @benoitmissolin
Earring: @xiwi
Coat: zara
Top:topshop
Shoes:adidas
#袖子就是要過長
#benoitmissolin #Xiwi #topsoil #zara #adidas #centralsaintmartins
topsoil 在 DJ Suharit Siamwalla Facebook 的精選貼文
น่ากลัวจังครับ ผมสรุปดังนี้สั้นๆ ตามอ่านรายละเอียดได้ครับ
***ไฟป่า/เขาหัวโล้น ทำให้เกิดการกัดเซาะหน้าดินเร็วกว่าปกติถึง 1 พัน – 1 หมื่นเท่า จากงานวิจัยล่าสุด คนไทยมีเวลาไม่นาน ***
ถามว่าเราทำไมแคร์หน้าดิน? รู้ไหมว่าลึกกว่าหน้าดินก็คือ ชั้นหิน ที่มันใช้เวลานานราว 5 หมื่นปีกว่าจะสลายกลายเป็นดินได้เมตรนึง (อ้างอิงลิ้งค์ 3, 5) กระบวนการเกิดอย่างช้าๆ และดินพวกนี้ก็อุดมไปด้วยธาตุอาหาร เพื่อเหมาะแก่การเพาะปลูกหรือป่าไม้ หากหน้าดินพวกนี้ถูกกัดเซาะหลังฝนตกและพัดพาไปลงแม่น้ำ (จึงเห็นว่าแม่น้ำจะสีขุ่นขลั่ก รูป 2-3 คือแม่น้ำน่านหลังฝนตก 2 วัน ในปีนี้) ด้วยอัตราที่รวดเร็ว
ที่หน้าเศร้าคือ ด้วยอัตราการสูญเสียหน้าดินทั่วโลกในปัจจุบัน นักวิทย์ในอเมริกาคำนวณว่า อีก 60 ปีแค่นั้น หน้าดินก็แทบจะไม่เหลือเลยทั่วโลก รายงานนี้ UN ได้กล่าวแถลงอย่างทางการ เดือน ธค. 2014 เกษตรกรปลูกไม่ได้อาหารแพงสุดๆ
แม่น้ำน่านดังรูป ปลาจำนวนมากในแม่น้ำเกิดอาการน็อกน้ำ ปรับสภาพไม่ทัน ขาดออกซิเจน ลอยคอตายเป็นเบือ ดูข่าวลิ้งข้างล่าง ดูเหมือนจะดีที่ชาวบ้านได้ปลาไปง่ายๆ แต่ลูกปลาก็ตายไปด้วย ไม่ทันโตไว้ให้จับทานกันต่อไปภายหน้า
โดย
ดร. ไพโรจน์ ฉัตรอนันทเวช
University of Arizona, USA, และที่ปรึกษา ศูนย์ภัยพิบัติ สถาบันนิด้า กทม.
***ไฟป่า/เขาหัวโล้น ทำให้เกิดการกัดเซาะหน้าดินเร็วกว่าปกติถึง 1 พัน – 1 หมื่นเท่า จากงานวิจัยล่าสุด คนไทยมีเวลาไม่นาน ***
ที่ผ่านมา แอดมินอาจโพสท์หลายเรื่อง แต่ขอบอกว่าหัวข้อนี้คือ specialty (ความเชี่ยวชาญ) ของฉันที่ร่ำเรียน/วิจัยมาในอเมริกาตลอด 14 ปี ในสาย Earth surface (พื้นผิวโลก) โดยเฉพาะเรื่องกัดเซาะและตะกอน ... ในสหรัฐอเมริกานั้น นักธรณีวิทยาตื่นตัวมากในการวิจัยเรื่องไฟป่าและการเคลื่อนที่ของดินหินจากภูเขาลงสู่แม่น้ำเมื่อฝนนำพาลงไป รัฐได้ทุ่มงบวิจัยมากมายหลาย 10 ล้านดอลล่ามาราว 30 ปีอัพ (บางทีก็ร่วมกับวิจัยเรื่องอื่นๆ) งานวิจัยล่าสุดที่ทำโดย ศาสตราจารย์ ดร. Jon Pelletier ที่ฉันกำลังจะทำวิจัยร่วมด้วย (ในเรื่องวิวัฒนาการของมนุษย์และการ ปป. ของพื้นผิวโลกและภูมิอากาศในยุค 2-5 ล้านปีก่อน) ที่มหาลัยรัฐอริโซน่า ท่านพึ่งได้ตีพิมพิ์งานใหม่เกี่ยวกับเรื่องการกัดเซาะหน้าดินบนภูเขาหลังไฟป่าพอดี ซึ่ง ดร. Pelletier กับ นศ ป เอก นั้นโชคดีมาก พวกเขาได้ศึกษาพื้นที่ภูเขาในรัฐนิวเม๊กซิโก ในปี 2007-2010 ในด้านการกัดเซาะของผิวดิน ภูเขานี้ก็มีต้นไม้พอควร พอๆกับในไทยทั่วไป ...ด้วยความโชคดี ปี 2011 มีไฟป่าในระแวกนั้นพอดี ครอบคลุม 2 ใน 7 หุบเขาลุ่มน้ำ (watersheds) ที่พวกเขากำลังศึกษา เขาพบว่า ในหุบเขาที่ถูกเผานี้ ดินและหินถูกกัดเซาะจากผิวและนำพาลงสู่แม่น้ำในที่สุดช่วงฝนตก ในระยะ 12 เดือน เร็วกว่าลุ่มน้ำอื่นที่ไม่โดนไฟป่าปี 2011 มากกว่า 1 พันเท่า ทีเดียว
ถามว่าเราทำไมแคร์หน้าดิน? รู้ไหมว่าลึกกว่าหน้าดินก็คือ ชั้นหิน ที่มันใช้เวลานานราว 5 หมื่นปีกว่าจะสลายกลายเป็นดินได้เมตรนึง (อ้างอิงลิ้งค์ 3, 5) กระบวนการเกิดอย่างช้าๆ และดินพวกนี้ก็อุดมไปด้วยธาตุอาหาร เพื่อเหมาะแก่การเพาะปลูกหรือป่าไม้ หากหน้าดินพวกนี้ถูกกัดเซาะหลังฝนตกและพัดพาไปลงแม่น้ำ (จึงเห็นว่าแม่น้ำจะสีขุ่นขลั่ก รูป 2-3 คือแม่น้ำน่านหลังฝนตก 2 วัน ในปีนี้) ด้วยอัตราที่รวดเร็ว ด้วยฝีมือมนุษย์ จากการเผาป่า หินข้างล่างมันก็เปลี่ยนเป็นดินด้วยกระบวนการทางเคมีธรณีหรือฟิสิกส์ธรณี (เรียกว่า weathering) ไม่ทันในยุคข้างหน้าอันใกล้ (10-50 ปี) สักวันความอุดมของดินก็จะหมดไปในบริเวณนั้น ไม่สามารถใช้เพาะปลูกหรือทำป่าไม้อะไรได้อีกต่อไป เหลือแต่โขดหินเป็นหย่อมๆ .....ปกติ ทั้งรากต้นไม้ ไส้เดือน สัตว์ใต้ดิน พวกนี้ก็ช่วยกระบวนการสร้างดินจากหินด้วย (หลักๆคือเคมี)
ที่หน้าเศร้าคือ ด้วยอัตราการสูญเสียหน้าดินทั่วโลกในปัจจุบัน นักวิทย์ในอเมริกาคำนวณว่า อีก 60 ปีแค่นั้น หน้าดินก็แทบจะไม่เหลือเลยทั่วโลก รายงานนี้ UN ได้กล่าวแถลงอย่างทางการ เดือน ธค 2014 (ดูลิ้งสุดท้าย) ปัญหาพวกนี้ซีเรียสมาก ทั้งในจีน แอฟริกา อินเดีย อเมริกาใต้ (แอดมินเคยบ่นบ่อยๆ ว่าประชากรล้นโลก ไม่งั้นจะมีคนอดตาย ยากจน ดิ้นรนกันขนาดนี้รึ อีกหน่อย สัก 40-50 ปี เมื่อเกษตรกรรมทำได้ยาก หน้าดินหดหาย อาหารขี้คร้านจะแพงสุดๆ คนที่ไม่ค่อยมีเงินก็จะซื้อไม่ได้) ..... นอกจากการเผาป่าแล้ว การใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ในการเกษตร การพรวนดินทำเกษตร วัวควายกินหญ้า การเปลี่ยนป่าเป็นพื้นที่เกษตร พวกนี้ต่างทำให้หน้าดินหมดไปเร็วมากๆ
ไฟป่าตามธรรมชาตินั้นก็มีในไทย สมัย 25 ปีก่อน แอดมินนั่งรถทัวร์จากเชียงใหม่ไป กทม ก็เห็นได้ยามค่ำคืน ... แต่การเผาโดยมนุษย์นั้นทำให้มันแย่กว่าที่ธรรมชาติจะสมดุลได้ ....55 ปีก่อน ไทยมีประชากรแค่ 26 ล้านคน ตอนนี้เพิ่มขึ้นเป็น 67 ล้าน ทั้งการเกษตรกรรม การทำเพื่อส่งออก เพื่อความอยู่รอดของคนไทย และยังมีการอุตสาหกรรม ที่นายทุนส่งเสริมให้เผาป่า ...คิดไหมว่า ราว 50-60 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าหน้าดินในไทยเสียสมดุลจากสิ่งต่างๆเหล่านี้โดยมนุษย์ด้วยอัตราที่รวดเร็วมากๆๆๆๆ มันใช้เวลาเป็นหลายแสนปีที่จะเปลี่ยนจากชั้นหินให้เป็นดิน ในภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ไทย ลึกสัก 5 เมตร (ภาคกลางเป็นเดลต้า ไม่เกี่ยว) แต่ใช้เวลาหลักไม่ถึง 100 ปีในการทำลายหน้าดินพวกนี้อย่างไว .... อย่างที่งานวิจัยข้างต้นแนะนำ การกัดเซาะผิวดินหลังไฟป่านั้น ในช่วง 12 เดือนหลังไหม้ ไวกว่าปกติ (ที่มีป่า) ถึงหลายพันเท่าตัว หากป่าในไทยยังถูกเผาและตัดและหัวโล้นไปเรื่อยๆ ครอบคลุมบริเวณมากขึ้น สักวันเราก็จะไม่เหลืออะไรเลย ไวกว่า “60 ปีข้างหน้า” ที่ UN ว่าไว้อีก ปลูกป่าก็ไม่ค่อยขึ้น ทำการเกษตรก็ไม่ได้ เพราะดินที่อุดมไปด้วยธาตุอาหาร ลงแม่น้ำ ลงอ่าวไทยไปหมดแล้ว .... ทีนี้ ปัจจุบัน ป่าไทยถูกเผาไปด้วยพื้นที่มากแค่ไหน ลองไปหาข่าวอื่นนะฮะ เพราะแอดมินไม่ทราบชัด แต่เท่าที่เห็นก็เยอะพอควร และมันควรจะหยุดได้แล้ว ....
ฝีมือมนุษย์ไม่ใช่แค่เผาป่าเท่านั้น ที่มีผลกระทบ ภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน ที่ CO2 ในบรรยากาศโลกสูงก็เพราะยุคอุตสาหกรรมที่ผ่านมา (โรงไฟฟ้าเผาถ่านหิน ควันรถ ฯลฯ) เมื่อโลกร้อนขึ้น หน้าร้อนร้อนมากแห้งมาก อย่างที่เห็นทุกวันนี้ ไฟป่าก็เกิดบ่อยขึ้นโดยธรรมชาติ เพราะอากาศร้อนและกิ่งไม้เสียดสีกัน อย่างที่เกิดขึ้นที่แคนาดา ไม่นานมานี้ (แอดมินเคยโพสท์ไป) และเป็นไปได้ว่าที่ไฟไหม้ใกล้พระธาตุดอยสุเทพเดือนก่อนก็คงภัยธรรมชาติเช่นกัน ...ในอเมริกาเป็นต้น น้อยมากที่ไฟป่าเพราะคนมือบอนเผา (แบบในไทย อินโดฯ) ส่วนมากแล้วเกิดเอง และงานวิจัยพบแล้วว่า เพราะโลกร้อนทำให้ไฟป่าเกิดบ่อยขึ้นและวงกว้างขึ้น
รูปที่เอามาให้ดูนี้ คือในไทยทั้งสิ้น ผลข้างเคียงของแม่น้ำโคลน ยังมีต่อสัตว์น้ำอีกด้วย แม่น้ำน่านดังรูป ปลาจำนวนมากในแม่น้ำเกิดอาการน็อกน้ำ ปรับสภาพไม่ทัน ขาดออกซิเจน ลอยคอตายเป็นเบือ ดูข่าวลิ้งข้างล่าง ดูเหมือนจะดีที่ชาวบ้านได้ปลาไปง่ายๆ แต่ลูกปลาก็ตายไปด้วย ไม่ทันโตไว้ให้จับทานกันต่อไปภายหน้า
บางคนอาจสงสัยว่า อ้าว ก่อนหน้าที่สยามประเทศจะกำเนิดมามีคนอยู่ เป็นล้านๆปี ธรรมชาติไม่สร้างดินลึกเป็นร้อยๆเมตรรึ ...คำตอบคือไม่ เมื่อดินถูกสร้างจากหินได้สัก 5-10 เมตร มันก็แทบจะหยุดสร้างละ เพราะอัตราการสร้างดินจะลดลงอย่างมากเมื่อชั้นดินหนาขึ้น เหตุเพราะกระบวนการเคมีที่ว่า มันอาศัย อากาศ ความร้อน ความชื้น เป็นปัจจัย...อันนี้คือ พื้นที่ๆเป็นเขา อย่างภาคเหนือไทยน่ะ ....แต่อย่างพื้นที่ กทม และปริมลฑล นี้เป็นเดลต้า/สามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (ดินเหนียว ที่ตวัดกวัดแกว่งในช่วงน้ำหลากน้ำท่วมทำให้ทับถมเป็นชั้นดินในที่ราบลุ่ม) จึงมีดินเหนียวลึกเป็น 30 เมตรได้
ก่อนจบ คนที่อยากรู้ลึกเรื่องธรณีวิทยา ว่า ดร. Pelletier รู้ได้ไงว่า การกัดเซาะหลังไฟป่า เร็วกว่าปกติถึง 1พัน-1 หมื่นเท่า ...เดี๋ยวนี้ในแวดวงธรณีในอเมริกา มีการบินเครื่องบินเล็กและยิงเลเซอร์ที่เรียก LiDAR เยอะมาก ผลที่ได้คือแผนที่แสดงระดับผิวดิน (เรียก topographic map or DEM) ในบริเวณกว้าง (ดูรูปสุดท้าย) เรียกได้ว่า pixel ขนาด 1 X 1 เมตรเลย และสามารถลบเอาต้นไม้ออกได้ด้วยในแผนที่ จึงได้แผนที่ ที่ละเอียดมาก แผนที่พวกนี้มีประโยชน์ในหลายด้าน เช่นการเปรียบเทียบแผนที่ก่อนและหลังไฟป่า (หลังไฟป่า เขาบินเก็บ LiDAR อีก 4 ครั้งใน 2 ปี) เพื่อคำนวณหาปริมาตรดิน/หินที่ถูกพัดพาไปตอนฝนตกหลังไฟป่า และการวัดหาอัตราการกัดเซาะของดินหรืออายุของมันในพื้นที่อื่นๆนั้น ยังใช้วิธีเคมีธรณีที่เรียก Geochronology กรณีนี้เขาใช้การวัดหาธาตุ beryllium-10 ในตัวอย่างน้ำที่เก็บในแม่น้ำในลุ่มน้ำบ่อยๆ ตลอด 5 ปี ธาตุนี้ถูกใช้บ่อยๆในการหาอายุของดิน/หิน (เช่นอายุของชั้นทรายจากสึนามิที่อินโดนีเซีย ทำให้รู้ว่า สึนามิตอนนั้นเกิดเมื่อไหร่? 500 ปีก่อน ทำนองนั้น) ...ปริมาณของธาตุไอโซโทป beryllium-10 นี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามการ expose ของดิน/หินต่อแสงอาทิตย์ …….พวกเขาพบว่า การกัดเซาะหน้าดินในป่าธรรมชาตินั้น 90% เกิดหลังไฟป่านี้เอง ในช่วงที่ไม่โดนเผาแทบจะไม่ค่อยกัดเซาะเท่าไหร่
โดย
ดร. ไพโรจน์ ฉัตรอนันทเวช
University of Arizona, USA, และที่ปรึกษา ศูนย์ภัยพิบัติ สถาบันนิด้า กทม.
อ้างอิง
https://uanews.arizona.edu/…/postwildfire-erosion-can-sculp…
http://onlinelibrary.wiley.com/…/10.1…/2015JF003663/abstract
https://en.wikipedia.org/wiki/Topsoil
http://www.thaiday.com/Local/ViewNews.aspx…
http://world.time.com/…/14/what-if-the-worlds-soil-runs-out/
http://www.scientificamerican.com/…/only-60-years-of-farmi…/