[爆卦]Tezcatlipoca是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Tezcatlipoca鄉民發文沒有被收入到精華區:在Tezcatlipoca這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 tezcatlipoca產品中有2篇Facebook貼文,粉絲數超過32萬的網紅The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก,也在其Facebook貼文中提到, เรื่องจากกรุ๊ป การสังเวยของชาวแอซเท็ก #การสังเวยชีวิตและบูชายัญมนุษย์ของชาวเอซเทค Aztec sacrifice ประวัติแรกเริ่มของชาวเอซเทคนั้นไม่มีความชัดเจนเท...

 同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過6,360的網紅法老王,也在其Youtube影片中提到,加入Discord討論/分享 ► https://discord.gg/kyarKbh 贊助法老王 ► https://goo.gl/bKKJ2X #duellinks #yugioh #遊戲王...

  • tezcatlipoca 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的最讚貼文

    2019-03-31 19:48:55
    有 336 人按讚


    เรื่องจากกรุ๊ป การสังเวยของชาวแอซเท็ก

    #การสังเวยชีวิตและบูชายัญมนุษย์ของชาวเอซเทค Aztec sacrifice

    ประวัติแรกเริ่มของชาวเอซเทคนั้นไม่มีความชัดเจนเท่าใดนัก แต่คาดว่าน่าจะเป็นพวก nomadic tribe จากตอนเหนือของแมกซิโกที่เรียกว่า Aztlan หรือ “White Land” ในช่วงศรรตวัตที่ 13 มีเมืองหลักคือ Tenochtitlan จึงเรียกตัวเองว่าชาว Tenochca หรือ Mexica
    เล่าขานกันมาว่า เมื่อชาวเอซเทคเห็นนกอินทรีไปเกาะต้นกระบองเพชร ในพื้นที่น้ำขังทางตอนใต้ของทะเลสาบ Texcoco พวกเขาถือว่าเป็นนิมิตรหมายอันดีที่จะตั้งรกราก จึงหาทางระบายน้ำออกแล้วสร้างพื้นที่เพาะปลูกที่เมือง Tenochtitlán ในปี 1325 โดยมีพืชผลหลักคือข้าวโพด ถั่ว มันฝรั่ง มะเขือเทศและอโวคาโด รวมไปถึงการล่าสัตว์ เช่น กระต่าย งู ไก่งวงป่า ตกปลา มีเทคนิคทางการเกษตรขั้นสูง และกองทัพที่ยิ่งใหญ่จนสามารถตั้งจักรวรรดิได้ จากเดิมที่เป็นแค่รัฐ มีความโดดเด่นทางโครงสร้างสังคม การเมือง ศาสนา และการชวนเชื่อที่แข็งแกร่งอันนำมาซึ่งรัฐศาสนาภายใต้อำนาจของเอซเทคช่วงศรรตวัตที่ 15 ก่อนจะถูกสเปนภายใต้การนำของ Hernan Cortes โจมตีและยึดเมือง Tenochtitlan ไว้ได้ในปี 1521 จึงเป็นที่สิ้นสุดของวัฒนธรรม Mesoamerica นับแต่นั้น

    ชาวเอซเทคมีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนติดค้าง”หนี้เลือด/ชีวิต”ต่อพระเจ้า และเพื่อหลีกเลี่ยงภัยหรือความเลวร้ายต่างๆ ก็ช่วยไม่ได้ที่จะต้องสังเวยอะไรสักอย่างคืนให้พระเจ้าไป ดั่งเพลงโบราณของชาวเอซเทคที่ว่า ”Huitzilopochtli (พระแห่งสงครามและดวงอาทิตย์)มาก่อนอื่นใด เขาไม่เหมือนใคร ข้าไม่อาจจะสรรเสริญพระองค์ได้ดีมากพอแม้จะยืนแถวหน้าด้วยเครื่องแต่งกายของบรรพบุรุษเรา – ข้าจึงเปล่งประกาย” จาก The Hymn of Huitzilopochtli แปลโดย Daniel G. Brinton

    พระเจ้าของชาวเอซเทคมักจะเกี่ยวข้องกันกับเวลา ทิศทาง หรือสีสัน โดยทั่วๆไปแล้วชาวเอซเทคกลัวเรื่องวันสิ้นโลก และเรื่องเหนือธรรมชาติสำหรับพวกเขาที่พวกเขายังหาคำตอบไม่ได้ในเวลานั้น วิธีบูชาเล็กๆ ก็อาจจะแค่เอาอะไรทิ่มแทงตัวให้มีเลือดออก แต่การสังเวย Huitzilopochtli หรือองค์ที่มีความยิ่งใหญ่และสำคัญอื่นๆ จำต้องถึงชีวิต เพื่อให้ทุกสิ่งยังคงดำเนินตามปรกติ เช่น สังเวยเพื่อให้พืชผลงอกงาม เพื่อให้ฝนตก หรือเพื่อให้พรุ่งนี้พระอาทิตย์ขึ้นเหมือนเดิม เป็นต้น และการนับปฏิทินของพวกเขานั้น มีพื้นฐานมาจาก Mayan calendar อันประกอบด้วยรอบพิธีกรรมทุกๆ 260 วัน และรอบปรกติที่ 365 วัน รอบพิธีนั้นมี 2 วงโคจร มีหน้าที่บอกชื่อวันจำนวน 20 วัน และจัดลำดับวันที่ 1-13 ในวงจรของ 13 วันนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมทางศาสนาอันเกี่ยวเนื่องกับเทพแต่ละองค์ ซึ่งเป็นที่มาหรือเกี่ยวพันกับชื่อของวัน ส่วนรอบปฏิทินปรกตินั้นมี 20 วันต่อ 1 เดือน และ 18 เดือนต่อ 1 ปี แต่ละเดือนก็มีรายละเอียดที่ต่างออกไป เช่น เดือน IX (9) Tlaxochimaco เทพHuitzilopochtli, Tezcatlipoca และ Mictlantecuhtli จะต้องบูชาด้วยการอดอาหาร หรือเดือน XII(12) อันเป็นเดือนแห่งเทพ Xochiquétzal จะต้องทำพิธีสังเวยด้วยไฟ เป็นต้น และทุกๆปีนั้นจะมีวันที่เพิ่มมา 5 วันเรียกว่า nemontemi หรือวันซวยแห่งปี และทั้งสองปฏิทินจะมาโคจรวงจนบรรจบครบกันทุกๆ 52 ปี เรียกว่า New Fire Ceremony ซึ่งจะมีการฉลองใหญ่

    ดังนั้นมันจึงฟังเหมือนกับว่าการบูชาเทพเจ้าของชาวเอซเทคคือสิ่งจำเป็น ตัวผู้ถูกสังเวยจะถูกทาสี นำตัวไปยังแท่นแล้วควักเอาหัวใจออกมา ก่อนจะชูไปที่ท้องฟ้าเพื่อให้องค์ Huitzilopochtli พอใจ ส่วนร่างที่เหลืออาจจะถูกโยนลงไปในปิรามิดหรือวิหาร เอาไปให้สัตว์กิน เป็นของขวัญแก่ผู้มีอำนาจ หรือเก็บเฉพาะส่วนหัวไว้ตกแต่งสถานที่ การสังเวยอาจจะไม่ใช่แค่วิธีควักหัวใจอย่างเดียว แต่อาจจะเป็นการยิงผู้ถูกสังเวยด้วยธนู จับกดน้ำ เผา หรือทำให้เป็นชิ้นๆ การต่อสู้แบบ Roman gladiators ก็มีเช่นกันเพื่อบูชาเทพเจ้าเหล่านี้ ซึ่งน่าจะมีราวๆ ร้อยกว่าเทพ จึงเป็นสิ่งสำคัญดั่งตั๋วเบิกทางเพื่อจะได้ไปโลกหน้าและมีชีวิตหลังความตายได้สะดวกขึ้นและเป็นพร ส่วนการกินเนื้อมนุษย์ของชาวเอซเทคนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะเพราะร่างเหล่านั้นได้ “สัมผัส” กับเทพแล้วจึงถือว่า “holy” และเป็นเกียรติแก่ผู้ได้ลิ้มรส

    ในฤดูใบไม้ผลิ จะเป็นเด็กๆที่ถูกสังเวยต่อองค์ Tlaloc เทพแห่งการเกิดใหม่และการเกษตร เพื่อขอให้ฝนตกและพืชผลเจริญเติบโต หากเด็กเกิดร้องในพิธีขึ้นมา แปลว่าจะมีฝนตลอดปี ดังนั้นจึงต้องหาอะไรแหลมๆ มาแทงเด็กเรื่อยๆ เพื่อให้ร้องไห้

    ส่วนการบูชาเจ้าแม่ข้าวโพด ( the maize goddess ) นั้น ผู้หญิงจะแต่งตัวเป็น Xilonen ตามแบบดั้งเดิมแล้วก่อไฟเผาชาย 4 คนที่เป็นเชลยตรงหน้าทั้งเป็น แล้วตัวเธอจะถูกสังเวยต่อด้วยการโดนตัดหัวบนร่างของ 4 คนที่โดนเผานั้น เพื่อให้เลือดเธอโชติช่วงอยู่ในกองไฟ

    สำหรับเทพ Tezcatlipoca ซึ่งเป็นเทพแห่งพลัง ราตรี โชคชะตา และทิศเหนือ ผู้ถูกสังเวยจะต้องสู้แบบโรมันกับอัศวินจากัวร์และนักรบอินทรีที่มาพร้อมเกราะเต็มยศถึง 4 คนด้วยอาวุธเห่ยๆ จึงเป็นอันสรุปได้ว่าไม่น่าจะรอด ผู้ถูกสังเวยต่อเทพ Tezcatlipoca อีกแบบอาจจะเป็นคนรุ่นๆ ที่ต้องแต่งตัวเลียนแบบเทพองค์นี้ตลอดทั้งปี เสมือนดั่งตัวแทนเทพมาจุติบนโลก อาจจะได้รับรางวัลเป็นหญิงสาว 4 คนไว้ปรนิบัติจนกว่าจะถึงเวลาบูชายัณ

    ว่ากันว่า แม้จะเป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่ามีผู้ที่สังเวยชีวิตไปเท่าไหร่กันแน่ แต่ในปี 1487 มีการบูชาครั้งใหญ่เป็นเวลา 4 วันที่ the great Templo Mayor มีการประเมินคร่าวๆตั้งแต่ 10.000 จนอาจจะถึง 80.400 รายเฉพาะภายในระยะเวลาดังกล่าว แต่จากการคาดคะเนคิดว่าน่าจะหลักหลายพันถึงหมื่นต่อปี
    คนที่จะถูกนำไปสังเวยนั้นเป็นคนของอาณาจักรเอซเทคเอง ทั้งสมัครใจและไม่สมัครใจ หรืออาจจะเป็นเชลยก็ได้ มีการทำสงครามกันแต่จุดประสงค์ไม่ใช่เพื่อแย่งดินแดนแต่อย่างใด หากแต่มุ่งไปที่ทรัพยากรมนุษย์เพื่อเอามาบูชาเทพเจ้า ดังนั้นจึงจะไม่ฆ่าเชลยที่ถูกจับมาให้ตาย แต่จะเอามาเพื่อบูชายัญแทน (the Aztec flower war / flowery war ) เช่นตอนที่เอซเทคไปตีเมือง Tlaxcala แทนที่จะเข้าไปครอบครองก็กลับเลี้ยงไว้เพื่อทำฟาร์มมนุษย์สำหรับการนี้ ก็น่าจะเป็นเหตุผลนึงที่ทำให้แพ้ทหารสเปนในเวลาต่อมา เพราะไม่ได้เคยสู้เต็มรูปแบบจริงๆสักที หากแต่ว่าต้องการเอาคนเป็นๆมาทำพิธีมากกว่า ดังนั้น ตอนที่พวกสเปนบุก จึงเป็นชาว Tlaxcala นั่นเองที่ร่วมกันสมคบกับสเปนไปตีเอซเทคจนราบคาบ

    ผู้ถูกสังเวยอาจจะเป็นทาสที่ไม่มีปากมีเสียงใดๆ ทาสเหล่านี้อาจจะถูกขายออกมาเองจากครอบครัวของทาส หรือขายตัวเองมาเป็นทาสก็ได้ เพราะมักจะฐานะยากจน ทาสคนไหนขี้เกียจหรือทำผิด หรืออาจจะเป็นนักโทษ เจ้านายหรือผู้มีอำนาจก็จะส่งตัวทางไปร่วมพิธีสังเวยแทนเป็นการลงโทษ ส่วนเด็กๆ ที่ถูกฆ่าเพื่อบูชาเทพ Tlaloc นั้น นักบวชอาจจะซื้อมาจากครอบครัวใดครอบครัวนึง หรืออาจจะเป็นลูกของผู้มีฐานะหรือ high born ก็ได้เช่นกัน หากชายใดเกิดร้องไห้ หรือเป็นลม กลัว ระหว่างที่รอพิธีสังเวยนั้นก็จะถูกด่าว่า “ทำตัวเป็นผู้หญิงไปได้” จึงเป็นข้อสังเกตว่า หากผู้ถูกสังเวยเป็นหญิงแล้วมีอาการกลัวดังกล่าวคงไม่น่าจะโดนตำหนิแต่อย่างใด

    สถาบัน National Institute of Anthropology and History (INAH) ได้ค้นพบซากกระดูกและกระโหลกที่ยังคงหลงเหลือภายใต้ตัวตึกของบ้านซึ่งเคยตั้งอยู่ในช่วงเอซเทค ที่ปัจจุบันกลายเป็นสนามหญ้าของวิหาร Mexico City's cathedral ในปี 2015 วางเรียงเป็นแถวอย่างมีระเบียบและขนาดของพื้นที่สามารถจุได้มากกว่า 1000 กระโหลก จึงอาจกล่าวได้ว่าเอซเทคคือแหล่งอุตสาหกรรมการบูชายัญที่ไม่เหมือนที่อื่นใดในโลก ปัจจุบันพวกเขากำลังศึกษารายละเอียดย่อยของแต่ละชิ้นเพื่อหวังว่าจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับการสังเวยในช่วงเวลาดังกล่าวและความเป็นมาเกี่ยวกับช่วงก่อนที่ผู้สังเวยจะมาจบชีวิตลงที่ the Templo Mayor มากขึ้น

    #PaulskiMNP5245

  • tezcatlipoca 在 米絲肉雞 Mythology Facebook 的精選貼文

    2018-02-25 21:02:33
    有 793 人按讚


    ❖ 淺談『黑豹』背後的神話:

    ● 一、埃及—芭斯泰特(Bastet):
    黑豹神的原型來自埃及的『芭斯泰特』,埃及人喜歡把『長很像的神都兜在一起』,所以她的故事與許多女神重疊,如果你在許多書之間看到不同資訊也別意外。

    (舉例:古埃及人會把「凌波零」、「長門有希」、「雷姆」、「莓希望」全部串在一起)。

    常見的版本裡,她是一隻「母獅神」,生性兇殘殺人無數!後期就從母獅神變成母貓神,而因為母貓很會捉老鼠,對瘟疫的減少功不可沒!過去殺人無數的戰神就轉變成家庭守護神。

    有玩過老遊戲《法老》的就知道,祭祀芭斯特特得到的效果是提升居民健康與生育率。



    ● 二、阿茲特克—特斯卡特利波卡(Tezcatlipoca):
    實際上剛剛提到的貓女神芭斯泰特根本沒有以『黑豹』的形式流傳,所以以她為故事主神的原因我想大概就只是「非洲有名、長得像貓」如此而已。但有沒有文明以『豹』為神?有的,就是阿茲特克。

    《世紀帝國》中,阿茲特克最威猛的特種部隊是『豹勇士』,他們的神話裡有一位性情古怪、捉摸不定、時正時邪的偉大豹神,叫做『特斯卡特利波卡』(早期有些翻譯會翻做「煙霧鏡」,但這應該是望文生義的翻法)。

    諸神誕生,首要創世!而特斯卡特利波卡居創世頭功!

    當時的原生地球充滿深海魚怪,使創世大業困難重重。但他以腳為餌,引出魚怪後盡殺之,這才完成創世大業。因為他犧牲最多、功勞最大,成為阿茲特克第一代太陽神。(對他們而言,太陽覆滅又生好幾次)。

    後來,天庭發生政爭,特斯卡特利波卡被趕下台。怒火中燒的他化為一頭巨大的黑豹吞噬地球,導致第一次的世界末日。

    在發生許多故事後,他在阿茲特克心裡成了象徵君權的天神(亦正亦邪,難以捉摸)。電影裡我記得似乎有提到『原本人類以為他們在南美洲』這句話,這應該暗示黑豹神話的背景來自阿茲特克的緣故。



    ● 三、印度—哈努曼(Hanuman)
    電影中,瓦甘達是多部落組成的共和社會,大部分的居民都信奉黑豹女神,獨獨與主角做對那派,住在雪山裡的部落信奉猴神。

    因為設定中兩派的主神不同,所以瀑布邊決鬥時,猴子部落的親王才會嘲笑說:「你的神在哪裡?」

    有趣的是,哈努曼這名稱擺明來自印度,但漫畫故事中似乎根本不叫哈努曼。以此為名的目的貌似是要拉攏印度擴大票房,問題是把炮灰配角取做人家著名神祇,不會擔心反效果嗎?

    哈努曼是『羅摩衍那』故事中的主角隨從,很多學者都認為他其實就是孫悟空的原型。



    ● 四、 關於黑豹這種生物
    比較有趣的是,其實黑豹根本不是特別種,牠們就是一般豹子偶爾會生出的異色版而已。喜歡狗的就知道,兩隻白色拉不拉多,偶爾還是會生出黑色的拉不拉多,黑豹的成因就像這樣。

    以上就是『黑豹』背後的真實神話,如果你好奇的是原著漫畫設定,這就不是肉雞在行的了,總之,謝謝看到這邊的你。祝假期愉快。

    話說有一件事我一直不解,google完還是不解,到底panther puma leopard jaguar 這些英文單字有什麼差別啊?跪求英文大大科普一下QWQ

    <補充>:
    如果你只是好奇這部好不好看?米絲覺得很好看,肉雞覺得難看到爆。希望這樣有解決你的問題。

你可能也想看看

搜尋相關網站