[爆卦]Statista是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Statista鄉民發文沒有被收入到精華區:在Statista這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 statista產品中有146篇Facebook貼文,粉絲數超過4萬的網紅會計人的Excel小教室,也在其Facebook貼文中提到, Excel練習題:複製網頁顏色 魷魚正在製作「跨國精品集團LVMH收購珠寶品牌Tiffany」的研究專案,希望能將《statista》上找到的圖表當成主視覺色調,請協助他利用Window小畫家,取得網頁RGB三原色作為參考。 參考文章或影片:https://www.zanzan.tw/archi...

 同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過60萬的網紅Thai Pham,也在其Youtube影片中提到,Gia tăng hiệu suất làm việc thời công nghệ 4.0 Theo nghiên cứu của statista, trong thời công nghệ 81% giới trẻ Mỹ có xu hướng sử dụng nhiều màn hình ...

statista 在 BusinessFocus | 冷知識 Instagram 的精選貼文

2021-09-10 16:14:23

【 @businessfocus_knowledge 】現時不少營銷廣告都用KOL取代傳統藝人,根據網站datareportal顯示,香港在2021年1月的社交媒體用戶有644萬人,已經達到總人口的85.6%,較2020年同期上升1.7%。正正由於社交媒體用戶人數增加,廣告商的營銷渠道產生變化,轉向...

statista 在 BusinessFocus | 商業、投資、創科平台 Instagram 的精選貼文

2021-09-17 19:39:18

【 @businessfocus_knowledge 】現時不少營銷廣告都用KOL取代傳統藝人,根據網站datareportal顯示,香港在2021年1月的社交媒體用戶有644萬人,已經達到總人口的85.6%,較2020年同期上升1.7%。正正由於社交媒體用戶人數增加,廣告商的營銷渠道產生變化,轉向...

statista 在 4Gamers編輯部 Instagram 的精選貼文

2021-05-12 09:24:36

Steam 測試用戶端於昨晚有了最新一波更新(4 月 20 日),相信有在使用 Steam 的朋友都有收到通知,通常這類更新我們很快就會重新啟動進行安裝,但這一次修正的項目有點意思,因為你的遊戲如果超過 25,000 款,可能會引發程式當機。⁣ ⁣ 根據 Steam 啟動器更新程式記載「Fix a ...

  • statista 在 會計人的Excel小教室 Facebook 的精選貼文

    2021-09-29 20:56:33
    有 29 人按讚

    Excel練習題:複製網頁顏色

    魷魚正在製作「跨國精品集團LVMH收購珠寶品牌Tiffany」的研究專案,希望能將《statista》上找到的圖表當成主視覺色調,請協助他利用Window小畫家,取得網頁RGB三原色作為參考。

    參考文章或影片:https://www.zanzan.tw/archives/4283

    加入Line社群取得測驗檔案:
    https://line.me/ti/g2/zhLjcgh26SFxC8_3MccZLw?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default

  • statista 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文

    2021-09-29 11:00:19
    有 3,784 人按讚

    กรณีศึกษา ทำไมคนญี่ปุ่น ชอบถือเงินสด มากกว่าลงทุนในหุ้น /โดย ลงทุนแมน
    รู้ไหมว่า ตลาดหุ้นญี่ปุ่นนั้นก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1878 หรือเมื่อ 143 ปีที่แล้ว และมีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้นญี่ปุ่นมากกว่า 2,000 บริษัท ในปัจจุบัน

    และรู้หรือไม่ว่า ต้นปี 2021 มูลค่าของตลาดหุ้นญี่ปุ่นนั้นสูงกว่า 190 ล้านล้านบาท ซึ่งถือเป็นตลาดหุ้นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก

    หลายคนอาจคิดว่า คนญี่ปุ่นคงชอบลงทุนในหุ้น มากกว่าสินทรัพย์อื่น
    แต่ความจริงแล้ว กลับไม่เป็นเช่นนั้น..

    แล้วคนญี่ปุ่นเมื่อมีเงินแล้ว พวกเขาเอาไปเก็บไว้ที่ไหน ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    เราลองมาเทียบกันดูก่อนว่า ส่วนใหญ่แล้วคนญี่ปุ่นชอบถือครองสินทรัพย์อะไร และเมื่อเทียบกับประเทศอื่นอย่างสหรัฐอเมริกาและยุโรป มีความแตกต่างกันมากน้อยแค่ไหน

    ข้อมูลจากธนาคารกลางญี่ปุ่นระบุว่า ในปี 2018 ครัวเรือนญี่ปุ่น ถือครองสินทรัพย์มูลค่ารวมกันกว่า 558 ล้านล้านบาท

    โดยจำนวนนี้ ถ้าแบ่งตามสัดส่วนจะเป็น
    - เงินสดและบัญชีเงินฝาก 52%
    - ประกันและบำนาญ 28%
    - หุ้นและกองทุนรวม 15%
    - อื่น ๆ 5%

    ที่น่าสนใจคือ เมื่อเทียบกับคนยุโรปและคนอเมริกัน ที่มีสัดส่วนการลงทุนในหุ้นและกองทุนรวม ต่อมูลค่าสินทรัพย์ถือครอง เท่ากับ 28% และ 31% ตามลำดับ

    จึงแสดงให้เห็นว่าคนญี่ปุ่นไม่ค่อยสนใจการลงทุนในหุ้นและกองทุนรวมมากนัก และยังชอบถือครองเงินสด ด้วยการฝากเงินไว้ในธนาคารจำนวนมากอีกด้วย

    ทั้ง ๆ ที่รู้ว่า อัตราดอกเบี้ยเงินฝากในญี่ปุ่นนั้น อยู่ในระดับที่ต่ำมาต่อเนื่องหลายปี แม้กระทั่งในปัจจุบันก็อยู่ที่ประมาณ 0%

    คำถามสำคัญก็คือ ทำไมคนญี่ปุ่น ยังเลือกที่จะฝากเงินกับธนาคารจำนวนมาก แทนที่จะนำเงินไปลงทุนในหุ้นและกองทุนรวม ที่มีโอกาสได้ผลตอบแทนที่สูงกว่า ?

    เหตุผลที่อธิบายเรื่องนี้ สามารถสรุปออกมาได้ 3 ประเด็น คือ

    1. ประสบการณ์ที่เลวร้ายจากเหตุการณ์ฟองสบู่แตกครั้งใหญ่ในญี่ปุ่น

    หลังจากที่ญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 1945 ญี่ปุ่นก็เริ่มเข้าสู่ระยะของการฟื้นฟูประเทศ ช่วงหลังจากนั้นเป็นต้นมา เศรษฐกิจของญี่ปุ่นก็เติบโตแบบก้าวกระโดด

    ในช่วงปี 1961-1971 เศรษฐกิจญี่ปุ่นเติบโตอย่างรวดเร็ว เฉลี่ยกว่า 9% ต่อปี และเติบโตมาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมา จนถึงในช่วงทศวรรษ 1980

    ในตอนนั้น ผลกำไรของบริษัทในญี่ปุ่นอยู่ที่ระดับสูงสุดในประวัติศาสตร์ของบริษัท และธนาคารหลายแห่งมีการปล่อยกู้ให้แก่บริษัทจำนวนมาก

    การเติบโตทางเศรษฐกิจทำให้ทั้งบริษัทและผู้คนในญี่ปุ่นต่างร่ำรวย จนเกิดการเข้าไปเก็งกำไรราคาสินทรัพย์ต่าง ๆ รวมทั้งอสังหาริมทรัพย์

    ราคาหุ้นในตลาดปรับตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว ดัชนี Nikkei ที่สะท้อนตลาดหุ้นญี่ปุ่น พุ่งขึ้นทำจุดสูงสุดใหม่อย่างต่อเนื่อง จนเกือบแตะ 40,000 จุด ในปี 1989 จากระดับประมาณ 8,000 จุดในปี 1982

    พอเรื่องเป็นแบบนี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นจำเป็นต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจาก 2.5% ในปี 1989 มาอยู่ที่ 6% ในปี 1990 เพื่อเพิ่มต้นทุนการกู้ยืม ไม่ให้เกิดการกู้ไปเก็งกำไรในสินทรัพย์ต่าง ๆ

    จนสุดท้าย เมื่อแรงเก็งกำไรเริ่มอ่อนลง ก็ถึงคราวฟองสบู่ลูกใหญ่ระเบิดออก
    ราคาสินทรัพย์ต่าง ๆ และราคาอสังหาริมทรัพย์ ก็เริ่มปรับตัวลดลง และลดลงเรื่อย ๆ จนหลายคนเจ็บตัวอย่างหนักจากการลงทุน

    วิกฤติฟองสบู่ครั้งใหญ่ในครั้งนั้น ทำให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นหลังจากนั้นมาหลายสิบปีแทบจะหยุดอยู่กับที่ และเป็นแบบนี้มาแล้วราว 3 ทศวรรษ

    ซึ่งนี่เองเป็นหนึ่งเหตุผลสำคัญ ที่ทำให้คนญี่ปุ่นจำนวนมาก รู้สึกขยาดกับการลงทุนโดยเฉพาะในตลาดหุ้น รวมทั้งยังปลูกฝังความคิดนี้มายังรุ่นลูกรุ่นหลานต่อ ๆ มา จนถึงตอนนี้

    2. ภาวะเงินเฟ้อฝืด

    ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในช่วงต้นทศวรรษ 1990 ส่งผลโดยตรงต่อภาคครัวเรือน
    รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนของคนญี่ปุ่นนั้นลดลง จากการที่หลายคนต้องตกงาน ซึ่งเรื่องนี้ส่งผลโดยตรงต่อการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ

    ข้อมูลจาก Statista ระบุว่า ในช่วงปี 1990-2020
    ญี่ปุ่นประสบกับภาวะเงินฝืด (เงินเฟ้อติดลบ) ทั้งหมด 14 ปี
    ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะเงินฝืด นั่นหมายความว่า ราคาสินค้าและบริการมีแนวโน้มที่จะลดลง

    พอเรื่องเป็นแบบนี้ ชาวญี่ปุ่นจึงเกิดแรงจูงใจในการถือเงินสด มากกว่าที่จะนำเงินออกไปใช้จ่าย หรือชะลอการใช้จ่ายออกไปก่อน เพราะพวกเขาเชื่อว่า ในอนาคตเงินจำนวนเท่าเดิมนั้นจะสามารถซื้อสินค้าและบริการได้มากกว่าในปัจจุบัน และนำเอาเงินไปฝากกับธนาคารไว้ก่อนนั่นเอง

    3. ความรู้ ความเข้าใจด้านการเงิน ของคนญี่ปุ่น

    หลายคนคงแปลกใจถ้าบอกว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น มีคนจำนวนไม่น้อยที่ขาดความรู้ด้านการเงิน

    ซึ่งเรื่องนี้ มีผลการสำรวจของธนาคารกลางญี่ปุ่นระบุว่า ประชาชนชาวญี่ปุ่นนั้นมีความรู้ด้านการเงินน้อยกว่าประชาชนในประเทศพัฒนาแล้วอื่น ๆ อย่างเช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเยอรมนี

    การขาดความรู้ความเข้าใจทางด้านการเงิน ทำให้คนญี่ปุ่นจำนวนมาก กลัวการลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง และชอบในการเก็บเงินออมด้วยการฝากธนาคารที่มีความเสี่ยงน้อยกว่า

    นอกจากนี้ โรงเรียนในญี่ปุ่นก็ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับเรื่องการลงทุนเท่าที่ควร โดยศาสตราจารย์ Nobuyoshi Yamori ที่สอนสาขาวิชาเศรษฐกิจและธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยโกเบ ระบุว่า

    “โรงเรียนส่วนใหญ่ในญี่ปุ่น ใช้เวลาสอนเรื่องการเงินการลงทุนให้นักเรียนน้อยมาก ขณะที่ครูที่มาสอนวิชาดังกล่าวก็ไม่ได้รับการฝึกอบรม หรือมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านการเงินการลงทุนที่ดีมากนัก”

    จึงทำให้เด็กญี่ปุ่นจำนวนมากขาดความรู้ด้านการเงิน ซึ่งส่งผลให้เมื่อทำงานมีรายได้แล้ว พวกเขาเลือกที่จะฝากเงินกับธนาคาร มากกว่านำเงินไปลงทุนในสินทรัพย์อื่น ๆ โดยเฉพาะหุ้น

    อ่านมาถึงตรงนี้ เราก็น่าจะเข้าใจว่าทำไมที่ผ่านมา คนญี่ปุ่นจำนวนมากตัดสินใจถือเงินสด หรือฝากเงินไว้กับธนาคารอย่างมากและไม่ค่อยชอบการลงทุนในหุ้นมากนัก ทั้ง ๆ ที่ญี่ปุ่นก็เป็นประเทศที่มีตลาดหุ้นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

    ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
    รู้ไหมว่าปัจจุบัน เงินเยนของญี่ปุ่น เป็นสกุลเงินที่ถูกใช้ซื้อขายบิตคอยน์มากที่สุดอันดับที่ 2 ของโลก เป็นรองเพียงแค่เงินดอลลาร์สหรัฐ

    ซึ่งเราอาจบอกได้ว่า แม้คนญี่ปุ่นจำนวนมาก จะไม่ชอบสินทรัพย์เสี่ยงสูง และนิยมฝากเงินไว้ในธนาคาร
    แต่ในทางกลับกันก็มีคนญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อย ที่หันมาลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความผันผวนสูง อย่างบิตคอยน์
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.stat.go.jp/english/data/handbook/pdf/2020all.pdf
    -https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.KD.ZG?locations=JP
    -https://en.wikipedia.org/wiki/Tokyo_Stock_Exchange
    -https://www.statista.com/statistics/710680/global-stock-markets-by-country/
    -https://tradingeconomics.com/japan/deposit-interest-rate
    -https://en.wikipedia.org/wiki/Demographics_of_Japan
    -https://data.worldbank.org/country/JP
    -https://en.wikipedia.org/wiki/Lost_Decades
    -https://www.statista.com/statistics/270095/inflation-rate-in-japan/
    -https://www.fsa.go.jp/frtc/kenkyu/event/20150305/s3_2.pdf
    -https://www.investopedia.com/tech/top-fiat-currencies-used-trade-bitcoin/
    -https://globalriskinsights.com/2021/06/japans-cryptocurrency-market-set-to-bloom-or-wither/

  • statista 在 跨境電商服務網 Facebook 的最讚貼文

    2021-09-28 10:00:18
    有 6 人按讚

    ✨✨跨境食在有意思✨✨
    今晚e特務🕵️‍♀️我想來點....越南河粉
    現在外送平台真的是太方便了
    加上疫情期間很多地方都不能內用
    促使外送服務需求大增📈

    根據數據,越南是目前東南亞外賣服務市場規模最小的國家,但未來發展可期,吸引大型電商平台搶攻,我們就一起來看看越南的外賣市場現況。👇👇👇👇👇

    🛵 蝦皮在越南也做起了外賣生意🛵

    越南外送平台Now在今年八月正式重新命名為ShopeeFood在當地運營,預計可與蝦皮支付(ShopeePay)與蝦皮電商平台的生態系進一步整合。對於ShopeeFood而言,將有機會可以觸及蝦皮廣大的用戶群及一同參與蝦皮的促銷活動,進一步提升其銷量。除了在越南之外,ShopeeFood也有在印尼及馬來西亞進行運營,這次在越南開啟的外賣服務,是蝦皮持續進軍東南亞外賣市場的下一步動作。🦶🦶

    ✅Now打下的江山可助蝦皮獲得一定的市場份額

    Now的母公司Foody Corporation早在2017年就被蝦皮母公司Sea以美金6千4百萬元收購。這次Now更名為ShopeeFood,蝦皮可以擴大在外賣市場上版圖。根據Statista的調研報告,2020年越南外賣服務市場的市佔率中,Now以42%位居第一,第二為GrabFood(40%)及第三為GOjek(9%),目前越南的外賣市場的整體競爭壓力相對於其他東南亞國家要來的小,ShopeeFood可以利用蝦皮在東南亞電商市場的龍頭地位,穩固其在越南外賣市場的市占率。📈

    ✅電商的外賣服務策略

    電商業者進軍外賣服務,蝦皮並非第一家企業,中國大陸電商巨頭阿里巴巴同樣也擁有中國大陸外賣平台「餓了麼」,藉由更多的生活服務應用,阿里巴巴將可壯大其生態系的資源及服務。相信蝦皮進軍外賣市場,勢必也是為了擴大其在消費者的生活服務應用上的影響力,也可以做為未來提供會員更多加值服務的一個策略選項。同樣的,越南外賣市場的競爭者GrabFood及GOjek,一樣也是從原本的業務叫車服務開始延伸額外更多的生活服務應用,朝著超級App的策略發展。

    🎯可以預見蝦皮東南亞將會持續朝著從電商應用走向更多消費者日常生活應用的方向前進。

    參考來源:
    1.ShopeeFood to be officially launched in Vietnam on August 18 tx.ag/JBuJJ87
    2.Market share of leading food delivery services in Vietnam in 2020 tx.ag/nWYQObX

    #九月跨境食在有意思 #跨境電商服務網 #跨境電商 #e特務 #越南 #外送 #外賣 #蝦皮 #

  • statista 在 Thai Pham Youtube 的最讚貼文

    2018-10-05 20:30:03

    Gia tăng hiệu suất làm việc thời công nghệ 4.0

    Theo nghiên cứu của statista, trong thời công nghệ 81% giới trẻ Mỹ có xu hướng sử dụng nhiều màn hình trong một thời điểm, họ muốn trở nên đa nhiệm (multitasking), tiếp cận nhiều nguồn thông tin và xử lý nhiều vấn đề cùng lúc.

    Nhưng đồng thời, điều này cũng dẫn đến việc suy giảm khả năng tập trung - một trong những điểm huyệt chính làm tê liệt hiệu suất làm việc - productivity.

    Trong video, tôi sẽ chia sẻ 3 phương thức nâng cao hiệu suất làm việc của tôi giúp bạn “đả thông huyệt đạo”. Hãy theo dõi và chia sẻ đến bạn bè của bạn nếu bạn thấy hữu ích nhé!

    ► Nếu bạn có những suy nghĩ khác với tôi, đừng ngần ngại comment bên dưới cho tôi biết ý kiến của bạn. Bạn cũng đừng quên bấm nút Subscribe tại đây: http://bit.ly/kenh_Thai_Pham
    để nhận được những thông tin hữu ích về đầu tư, kinh doanh và phát triển bản thân.
    ----------------.----------------.---------------.----------------
    ► Hãy cập nhật thông tin mới nhất của tôi tại:
    Facebook: http://bit.ly/thaipham
    Youtube Channel: http://bit.ly/kenh_Thai_Pham
    Blog: https://thaipham.live/
    ----------------.----------------.---------------.----------------
    ► Xem toàn bộ những video thành công của tôi tại đây:
    https://bit.ly/2Tqucbr
    ----------------.----------------.---------------.----------------
    #Thaipham
    #Pháttriểnbảnthân
    #Kỹnăngmềm
    #Làmthếnàođầutưthànhcông
    #Làmthếnàođầutưchứngkhoánthànhcông
    #Đầutưchứngkhoán
    #Sáchchứngkhoán
    #Họcđầutư
    #họctập

你可能也想看看

搜尋相關網站