[爆卦]Rwandan genocide是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Rwandan genocide鄉民發文沒有被收入到精華區:在Rwandan genocide這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 rwandan產品中有9篇Facebook貼文,粉絲數超過3萬的網紅寰雨膠事錄 國際新聞 Gaus.ee 台,也在其Facebook貼文中提到, 今日頭版 #tomorrowspaperstoday 東京奧運完美落幕 https://edition.cnn.com/2021/07/23/sport/gallery/tokyo-summer-olympics-best-photos/index.html 都柏林大學中國歷史課程 遭政治...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

rwandan 在 A PASSIONATE FOODIE Instagram 的最佳解答

2021-07-28 08:06:31

Knowing the pastry prowess of Chef-owner @obamatin and being an ardent admirer of his creative and delicious #viennoiserie, I couldn’t wait to sink my...

  • rwandan 在 寰雨膠事錄 國際新聞 Gaus.ee 台 Facebook 的最讚貼文

    2021-08-09 06:05:42
    有 52 人按讚

    今日頭版 #tomorrowspaperstoday

    東京奧運完美落幕
    https://edition.cnn.com/2021/07/23/sport/gallery/tokyo-summer-olympics-best-photos/index.html

    都柏林大學中國歷史課程 遭政治系質疑
    https://t.co/bVGTs66PeR

    金正恩罕有下令軍隊開倉救災
    https://www.bbc.com/news/world-asia-58135753

    盧旺達軍隊協助莫三比克政府軍 重奪港口
    https://www.france24.com/en/africa/20210808-rwandan-troops-help-mozambique-recapture-key-port-held-by-jihadists

    塔利班攻佔多個省府 包括昆都士
    https://www.aljazeera.com/news/2021/8/8/taliban-captures-third-provincial-capital-in-three-days

    夾帶私貨
    支持總裁
    https://www.patreon.com/gausee
    逼你去睇
    https://youtu.be/jncdKuoHF24

  • rwandan 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文

    2021-05-22 11:00:03
    有 3,389 人按讚

    รวันดา จากสงครามล้างเผ่าพันธุ์ สู่ประเทศเติบโตสูง /โดย ลงทุนแมน
    ปี 1994 ในประเทศเล็ก ๆ ใจกลางทวีปแอฟริกา
    ได้เผชิญโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
    เมื่อผู้คนในชาติเดียวกัน แต่ต่างเผ่าพันธุ์ ได้จับอาวุธมาสังหารกัน
    จนบานปลายกลายเป็นสงครามกลางเมืองที่มีผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ครั้งนั้นเกือบ 1 ล้านคน

    คนทั่วโลกรู้จักโศกนาฏกรรมครั้งนั้นภายในชื่อ “การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา”

    ภาพเหตุการณ์ในครั้งนั้น ยังคงอยู่ในความทรงจำของชาวรวันดาผู้รอดชีวิตทุก ๆ คน
    เป็นฝันร้ายที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศพังยับเยิน
    GDP หดตัวลง 50% และรวันดากลายเป็น 1 ใน 5 ประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก

    แต่ 26 ปีหลังพายุใหญ่ครั้งนั้นผ่านพ้นไป ผู้คนในประเทศนี้กลับมุ่งมั่นพัฒนาตัวเอง
    จนมีเศรษฐกิจที่เติบโตโดดเด่นกว่าประเทศเพื่อนบ้าน

    รวันดาเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจเติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งในทวีปแอฟริกา
    และติดอันดับ Top 10 ของโลกเป็นเวลาหลายปี
    GDP ต่อหัวเพิ่มขึ้นมา 6 เท่า จากจุดต่ำสุดในปี 1994

    ประเทศเล็ก ๆ ที่เพิ่งตื่นขึ้นมาจากฝันร้าย ประชากรส่วนใหญ่ยังคงยากจน
    แต่กลับมีความฝันที่ยิ่งใหญ่ โดยความใฝ่ฝันสูงสุดของประเทศนี้
    คือการเป็น “ศูนย์กลางทางเทคโนโลยีของทวีปแอฟริกา”

    เรื่องราวของรวันดาเป็นอย่างไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    รวันดา เป็นประเทศเล็ก ๆ ที่มีพื้นที่เพียง 26,338 ตารางกิโลเมตร
    ขนาดพอ ๆ กับจังหวัดนครราชสีมา ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ใจกลางทวีปแอฟริกา
    และมีฉายาว่า ดินแดนแห่งหุบเขานับพัน เพราะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา
    สูงกว่า 1,500 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล

    ด้วยความที่ตั้งอยู่บนที่สูงและอยู่แถบเส้นศูนย์สูตรพอดี ทำให้กรุงคิกาลี เมืองหลวงของรวันดา เป็นเมืองที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ราว 20 องศาเซลเซียส ตลอดทั้งปี

    ภูมิอากาศที่เหมาะสมทำให้รวันดาเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชผลมากมาย ทั้งกาแฟ ชา ข้าวสาลี ผักและผลไม้ ความอุดมสมบูรณ์ทำให้ปัจจุบันรวันดามีประชากร 12 ล้านคน ซึ่งนับเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงมาก ถึง 470 คนต่อตารางกิโลเมตร

    ด้วยความอุดมสมบูรณ์นี้เอง เมื่อย้อนกลับไปในยุคล่าอาณานิคมช่วงปลายศตวรรษที่ 19
    ดินแดนรวันดาก็ได้ดึงดูดให้ประเทศมหาอำนาจในยุโรปเข้ามาครอบครอง
    แรกเริ่ม รวันดาตกเป็นอาณานิคมของเยอรมนี จนเมื่อเยอรมนีแพ้สงครามโลกครั้งที่ 1
    รวันดาก็ตกเป็นอาณานิคมของเบลเยียม ซึ่งมีส่วนทำให้รวันดามีภาษาราชการในปัจจุบัน
    คือ ภาษาฝรั่งเศส คู่กับภาษากิญญาร์วันดา และภาษาอังกฤษ

    การเป็นอาณานิคมของเบลเยียมนี้เองที่เป็นจุดเริ่มต้นของฝันร้ายสำหรับประเทศเล็ก ๆ แห่งนี้..

    แต่เดิมผู้คนพื้นเมืองในรวันดาประกอบไปด้วยชนเผ่า 2 เผ่าหลัก ได้แก่
    เผ่าฮูตู ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 85% ของประชากร ชาวฮูตูจะมีผิวคล้ำ ตัวค่อนข้างเตี้ย

    และอีกเผ่าชื่อว่า ทุตซี คิดเป็นสัดส่วน 14% ชาวทุตซีจะมีผิวคล้ำน้อยกว่า และมีความสูงมากกว่า
    ซึ่งผู้คนทั้ง 2 เผ่าอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมาหลายร้อยปี

    แต่เมื่อเบลเยียมเข้ามา ก็ได้นำนโยบายหลักของเจ้าอาณานิคมยุโรปในยุคนั้น
    คือ “การแบ่งแยกแล้วปกครอง” มาใช้กับรวันดา
    ด้วยการให้ประชาชนทุกคนต้องมีบัตรประชาชน ที่ระบุว่าตัวเองเป็นเผ่าพันธุ์อะไร

    โดยรัฐบาลอาณานิคมเลือกสนับสนุนชนเผ่าทุตซีที่มีจำนวนน้อยกว่า
    และเป็นชนชั้นปกครองมาแต่ดั้งเดิม มอบสิทธิพิเศษต่าง ๆ ให้ ทั้งการศึกษา การจ้างงาน
    ขณะที่ชนเผ่าฮูตูซึ่งเป็นคนหมู่มาก กลับถูกกีดกัน และต้องกลายเป็นพลเมืองชั้นสอง

    ความบาดหมางนี้ค่อย ๆ ก่อตัวขึ้นระหว่างผู้คน 2 เผ่าพันธุ์
    จนมาถึงปี 1959 ชาวฮูตูจึงเริ่มลุกฮือ และล้มล้างระบอบการปกครองเดิม
    จนทำให้ชาวทุตซีนับหมื่นต้องอพยพลี้ภัยไปประเทศเพื่อนบ้าน
    กระทั่งปี 1962 รวันดาจึงได้รับเอกราช และมีประธานาธิบดีคนแรกของประเทศเป็นชาวฮูตู

    เมื่อชาวฮูตูขึ้นเป็นใหญ่ ก็เริ่มออกนโยบายที่กดขี่ชาวทุตซี ทำให้ชาวทุตซีถูกขับไล่ไปยังประเทศเพื่อนบ้านมากยิ่งขึ้น บางส่วนก็ได้เริ่มรวมตัวกันจัดตั้งกองกำลัง Rwandan Patriotic Front หรือ RPF เพื่อจะกลับไปยึดบ้านเกิดของตัวเอง

    ความวุ่นวายนี้เกิดขึ้นเป็นระยะเวลาราว 30 ปี จนมาถึงฟางเส้นสุดท้าย ในเดือนเมษายน ปี 1992

    เมื่อประธานาธิบดีรวันดาในขณะนั้นซึ่งเป็นชาวฮูตูได้ถูกลอบสังหาร สื่อมวลชนฝั่งรัฐบาลปล่อยข่าวว่าสาเหตุเกิดมาจากชาวทุตซี มีการเรียกร้องให้ชาวฮูตูออกมาทำการสังหารชาวทุตซีทุกคนที่พบ หากเพิกเฉย ก็จะถือว่าชาวฮูตูคนนั้นเป็นผู้ทรยศและจะต้องถูกสังหารเช่นเดียวกัน

    กลุ่มชาวฮูตูสุดโต่ง ก็ได้ออกมาสังหารชาวทุตซีทุกคน รวมไปถึงชาวฮูตูที่ให้ความช่วยเหลือชาวทุตซี ก็ไม่ละเว้น

    โดยอาศัยการแบ่งแยกด้วย “บัตรประชาชน” ซึ่งระบุเชื้อชาติไว้อย่างชัดเจน หรือหากใครไม่มีบัตรประชาชน ก็อาศัยดูจากสีผิวที่คล้ำน้อยกว่า ไม่ว่าจะเป็นเด็กทารก ผู้หญิง หรือคนชรา

    ภาพยนตร์ชื่อดังเรื่อง Hotel Rwanda ก็ถูกสร้างขึ้นมาจากเหตุการณ์จริงที่ผู้จัดการโรงแรม
    ชาวฮูตูสายกลาง ได้พยายามช่วยเหลือชาวทุตซีทุกคนที่หลบหนีเข้ามาในโรงแรม

    เป็นระยะเวลา 100 วันแห่งโศกนาฏกรรมอันโหดร้าย
    ที่ชาวรวันดา สังหารเพื่อนร่วมชาติเดียวกันไปถึง 800,000 คน..

    จนเมื่อกองกำลังปลดปล่อย RPF ของชาวทุตซี ซึ่งมีผู้นำคือ Paul Kagame
    ได้เริ่มปฏิบัติการตีโอบล้อมกรุงคิกาลี และยึดอำนาจเป็นผลสำเร็จ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์แห่งรวันดาจึงปิดฉากลงในเดือนกรกฎาคม

    หลังจากนั้นได้มีการสถาปนารัฐบาลใหม่ ที่มีทั้งชาวฮูตูและทุตซีขึ้นปกครองร่วมกัน
    โดยมีประธานาธิบดี Pasteur Bizimungu ซึ่งเป็นชาวฮูตู
    ส่วน Paul Kagame ชาวทุตซี ได้เป็นรองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีกลาโหม

    ถึงแม้ความวุ่นวายในประเทศจะสงบลง แต่รวันดาก็ยังเผชิญกับความวุ่นวายจากประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะคองโกเป็นเวลาเกือบ 6 ปี เศรษฐกิจที่อ่อนแอ จึงยังต้องพึ่งพาความช่วยเหลือทางการเงินจากต่างประเทศ

    แต่เมื่อความวุ่นวายภายนอกเริ่มสงบ รัฐบาลรวันดาของ Pasteur Bizimungu กลับเต็มไปด้วยการคอร์รัปชัน ทำให้รองประธานาธิบดี Paul Kagame ได้ตัดสินใจฟ้องศาล เพื่อบีบให้ประธานาธิบดีลาออก
    และ Paul Kagame ก็ได้ก้าวขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีของรวันดา ในปี 2000

    และนี่คือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง เพราะสิ่งแรกที่ประธานาธิบดีผู้นี้ทำ
    ก็คือ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้รวันดา ที่พยายามยุติการระบุอัตลักษณ์เชื้อชาติ
    โดยให้ประชาชนระบุตัวตนว่าเป็นชาวรวันดาเท่านั้น ไม่มีชาวฮูตูหรือชาวทุตซีอีกต่อไป..

    หลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญในปี 2003 Paul Kagame ก็ได้ลงสมัครเลือกตั้ง
    และได้เป็นประธานาธิบดีด้วยคะแนนเสียงอย่างท่วมท้นถึง 95%
    เขาจึงเริ่มต้นวางแผนพัฒนาประเทศด้วยการปราบคอร์รัปชันอย่างหนัก และวางนโยบายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจครั้งใหญ่

    รวันดาเป็นประเทศที่ยากจนมาก ๆ ถึงแม้จะมีพื้นที่อุดมสมบูรณ์ แต่ก็มีประชากรหนาแน่น
    มีทรัพยากรแร่ธาตุแต่ก็ไม่ได้มากมาย หนทางเดียวที่รวันดาจะหลุดพ้นจากความยากจนได้
    คือการพัฒนา “เทคโนโลยี”

    นำมาสู่แผน Rwanda 2020 ยุทธศาสตร์ชาติที่จะทำให้รวันดาหลุดพ้นจากประเทศยากจน
    กลายเป็นประเทศรายได้ปานกลางภายในปี 2020 โดยมุ่งเน้นด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและด้านเทคโนโลยีอย่างหนัก

    รวันดาเปิดเสรีทางด้านโทรคมนาคม และลงทุนสร้างโครงข่ายใยแก้วนำแสงที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคแอฟริกากลาง ด้วยความยาวถึง 3,000 กิโลเมตรทั่วประเทศ

    ทำให้รวันดามีความเร็วอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดติด Top 3 ของทวีปแอฟริกา และถูกต่อยอดมาเป็นการให้บริการของภาครัฐผ่าน e-Governance และธุรกรรมการเงินผ่าน e-Banking
    เป็นประเทศแรก ๆ ของภูมิภาค

    บริษัทโทรคมนาคม Terracom ซึ่งให้บริการอินเทอร์เน็ตทั้งในรวันดาและครอบคลุมไปถึงประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่ง “บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ” นี้ สร้างรายได้กว่า 10,000 ล้านบาทให้ประเทศ และคิดเป็นสัดส่วน 23% ของการส่งออกสินค้าและบริการทั้งหมด

    The Rwanda Development Board (RDB) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี 2009 เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ รัฐบาลพยายามปฏิรูปขั้นตอนกระบวนการทำธุรกิจให้ง่ายขึ้น ลดระเบียบยุ่งยากจากภาครัฐ และอำนวยความสะดวกด้านภาษีและสาธารณูปโภคพื้นฐานอย่างเต็มที่

    รวันดาติดอันดับประเทศที่มีความสะดวกในการทำธุรกิจ อันดับ 38 ของโลกในปี 2020 จาก 190 ประเทศ ซึ่งเป็นอันดับ 2 ของทวีปแอฟริกา และดีกว่าประเทศร่ำรวยหลายประเทศ

    นอกจากภาคบริการเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว รวันดายังพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
    โดยมีกิจกรรมท่องเที่ยวที่สำคัญ คือ การเข้าไปชมลิงกอริลลาในป่าดงดิบอย่างใกล้ชิด
    คิดค่าใบอนุญาตชมกอริลลาแพงถึงคนละ 45,000 บาทต่อวัน เพื่อจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว
    ไม่ให้กระทบกับสภาพแวดล้อมมากจนเกินไป และสร้างรายได้ให้กับพรานในชุมชนแทนที่การล่าสัตว์

    แม้แต่สินค้าเกษตรที่ส่งออกหลักอย่างกาแฟ รวันดาเน้นส่งออกแต่กาแฟอะราบิกาคุณภาพสูง
    ผู้ผลิตส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสหกรณ์ที่มีสถานีล้างเมล็ดกาแฟเป็นของตัวเอง มีการควบคุมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้กาแฟรวันดามีราคาสูง และเป็นผู้ผลิตกาแฟรายแรกของทวีปแอฟริกา ที่มีการจัดประกวด “Cup of Excellence” เพื่อเฟ้นหากาแฟคุณภาพ และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกาแฟรวันดา

    การปราบปรามคอร์รัปชันอย่างหนัก และการพัฒนาการบริหารของภาครัฐด้วยเทคโนโลยี
    มีส่วนทำให้รวันดากลายเป็นประเทศที่มีดัชนีความโปร่งใสสูงเป็นอันดับ 3 ของทวีปแอฟริกา
    และเป็นอันดับที่ 49 ของโลก จากทั้งหมด 179 ประเทศ
    เป็นอันดับที่ดีกว่าประเทศร่ำรวยกว่ามากอย่าง อิตาลี มอลตา และซาอุดีอาระเบีย

    เมื่อคอร์รัปชันต่ำ เงินภาษีทุกฟรังก์รวันดาก็ส่งผลไปถึงประชาชนได้มาก
    ทำให้การพัฒนาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว รวันดายังมีโครงการเมกะโปรเจกต์ในกรุงคิกาลี
    คือ “Kigali Innovation Center” ด้วยงบลงทุนกว่า 60,000 ล้านบาท ร่วมกับธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งแอฟริกา โดยเขตนี้จะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีครบครัน เพื่อดึงดูดสถาบันการศึกษา บริษัทไอที และบริษัทไบโอเทคโนโลยีจากต่างประเทศ

    เป้าหมายสูงสุดของรวันดา คือการเป็นศูนย์กลางเทคโนโลยีของทวีปแอฟริกา เป็นศูนย์รวมการให้บริการสารสนเทศ เป็นแหล่งผลิตสินค้าไอที และสินค้าที่ใช้นวัตกรรมขั้นสูง
    ที่จะพาให้ประเทศนี้ก้าวสู่การเป็นประเทศรายได้สูงภายในปี 2050

    แน่นอนว่าปัญหาความยากจนยังคงเป็นปัญหาเรื้อรัง ถึงแม้ GDP ต่อหัว ในปี 2020
    จะเติบโตจากปี 1994 ถึง 6 เท่า แต่ GDP ต่อหัวของรวันดา ก็อยู่ที่เพียง 25,420 บาทต่อปี

    ประชากรส่วนใหญ่กว่า 39% ของประเทศ ยังคงใช้ชีวิตต่ำกว่าเส้นแบ่งระดับความยากจน (Poverty Line) และการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็วถึงร้อยละ 2.6 ต่อปี ก็เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่รวันดาต้องเผชิญหน้า

    แต่การที่ประเทศหนึ่งซึ่งแทบสิ้นเนื้อประดาตัวจากสงครามกลางเมือง
    สามารถพลิกกลับมามีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
    และวางแผนพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยใช้ “เทคโนโลยี” เป็นตัวขับเคลื่อน
    ก็นับว่า รวันดาได้ทิ้งความขมขื่นเอาไว้ข้างหลัง และพร้อมจะก้าวต่อไปเพื่ออนาคตที่ดีกว่า..

    ลงทุนแมนเคยเล่าเรื่องราวของหลายประเทศ ที่เริ่มต้นจากความยากจน ความขัดแย้ง
    หรือแม้กระทั่งกองเถ้าถ่านจากสงคราม แต่ก็สามารถฝ่าฟันปัญหาต่าง ๆ และพัฒนาประเทศได้สำเร็จ
    จนกลายเป็นเรื่องราวความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจที่คนทั้งโลกยกย่อง
    ทั้งเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และจีน

    บางทีในอีก 30 ปีข้างหน้า อาจมีชื่อ “รวันดา” อยู่ในนั้นด้วย ก็เป็นได้..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.MKTP.KD.ZG?locations=RW-CN-VN
    -https://www.un.org/africarenewal/magazine/april-2011/information-technology-super-charging-rwandas-economy
    -https://atlas.cid.harvard.edu/explore?country=187&product=undefined&year=2018&productClass=HS&target=Product&partner=undefined&startYear=undefined
    -https://www.doingbusiness.org/en/rankings
    -https://www.trtworld.com/magazine/what-makes-rwanda-one-of-africa-s-fastest-growing-economies-23410
    -https://www.visitrwanda.com/interests/gorilla-tracking/
    -https://www.newtimes.co.rw/news/africa-kigali-innovation-city
    -https://www.newtimes.co.rw/section/read/22031
    -https://www.fdiintelligence.com/article/77769
    -https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD?locations=RW
    -https://www.indexmundi.com/g/r.aspx?v=69

  • rwandan 在 Tifosi Facebook 的最讚貼文

    2021-04-28 20:46:47
    有 5,466 人按讚

    CHIẾN TRANH TẠI VIỆT NAM KHỘNG PHẢI LÀ MỘT CUỘC NỘI CHIẾN VÀ GỬI ĐẾN NHỮNG NGƯỜI XÉT LẠI LỊCH SỬ.

    Tháng 7/2018, diễn viên hài Dưa Leo đăng bài viết nói cuộc chiến tranh tại Việt Nam là nội chiến. Và mới đây, bài viết này được “đào mộ” lại và đăng tải trên nhiều nhóm nghiên cứu lịch sử với những lý luận rất là “lật sử”, rằng Mỹ và đồng minh chỉ tham chiến ở Việt Nam với tư cách “trợ giúp” phía đối lập VNCH, cuộc chiến bấy giờ là cuộc “nội chiến” tương tàn giữa Bắc Việt và Nam Việt, giữa hai phe tư bản - cộng sản, chỉ là Bắc Kỳ thắng Nam Kỳ, chứ không có chuyện “thống nhất ở đây”.

    “Bắc Việt thì chiến đấu cho Nga, Trung, còn Nam Việt thì chiến đấu cho tự do của họ, Mỹ chỉ giúp những người dân Việt Nam thôi”.

    Cũng là những câu chuyện về “lật sử” mới được chia sẻ lại trong những ngày gần đây. Một bạn du học sinh New Zealand và Mỹ, từng làm tại BBC tiếng Việt, nói rằng, tại New Zealand, người ta dạy cuộc chiến tại Việt Nam là “nội chiến” chứ không phải là “cuộc chiến thống nhất”. Bạn ấy nói thêm, lịch sử phải nhìn từ hai phía, phải đứng ở phía thế giới bên ngoài nhìn về phía nước mình, lịch sử ở bên nước ngoài được viết một cách khách quan hơn, trung thực hơn, đúng đắn hơn.

    Bạn du học sinh này đặt câu hỏi: Tại sao thực dân Pháp và đế quốc Mỹ tàn ác như thế thì tại sao chúng ta lại phải học tiếng Pháp và tiếng Anh (?).

    “Hãy nhìn rõ đất nước của mình qua lăng kính của người khác, để nhìn nhận lịch sử một cách đúng đắn và trọn vẹn…”.

    Gần như mọi định nghĩa về nội chiến trên thế giới đều phủ nhận sự tham chiến trực tiếp của các lực lượng nước ngoài, nếu có, chỉ là sự tham gia hạn chế nhằm mục đích nhân đạo, bảo vệ dân thường, gìn giữ hòa bình.

    Lịch sử thế giới ghi nhận China Civil War - hay còn gọi là nội chiến Quốc - Cộng, Nigeria Civil War - nội chiến Nigeria giữa phe chính phủ và phe ly khai, Rwandan Civil War - nội chiến giữa phe chính phủ và Mặt trận yêu nước Rwanda... chứ làm gì có Vietnam Civil War? Nếu xét ở khía cạnh lịch sử thế giới, người ta gọi cuộc chiến tại Việt Nam là Vietnam War, hay Second Indochina War - cuộc chiến Đông Dương lần thứ hai.

    Mình chỉ đặt một vài câu hỏi thế này thôi, gần 1 triệu lượt binh lính nước ngoài có mặt trong suốt cuộc chiến để làm gì? Quốc gia nào đã ném bom vào miền Bắc Việt Nam trong suốt thời kỳ chiến tranh? Quốc gia nào đã khơi ra sự kiện Vịnh Bắc Bộ - một sự kiện mà chính chính quyền Mỹ cũng tuyên bố là đã được “tạo dựng” nhằm chống lại miền Bắc Việt Nam.

    Điều đáng buồn, là dường như thế hệ trẻ ngày nay, dần quên đi một cuộc chiến thống nhất đã qua, một cuộc chiến mà nhân dân Việt Nam phải chiến đấu chống lại Mỹ, VNCH và đồng minh, nhằm thống nhất lãnh thổ, mang lại sự toàn vẹn cho Tổ Quốc. Có một số du học sinh, mang tiếng là được đi ra nước ngoài, tưởng như là học được điều hay ho lẽ phải, thì họ lại mang về những quan điểm chống lại dân tộc, dưới danh nghĩa “đa chiều”.

    "Lịch sử Đức đã chứng minh sự nguy hiểm của chủ nghĩa xét lại bằng việc thay thế những suy nghĩ hợp lý bằng những chuyện thần thoại" - Ngoại trưởng Heiko Mass. Chúng ta đang ở trong một giai đoạn mà lịch sử được viết từ những câu chuyện hư cấu trong phim ảnh, trò chơi điện tử hoặc ngôn ngữ báo chí, và rõ ràng, mặc dù những chuyện đó không có thật, nhưng người ta lại tin rằng những gì diễn ra ở đó lại là sự thực.

    Kẻ thủ phạm sẽ được miêu tả như những anh hùng, những nạn nhân sẽ được miêu tả như là thủ phạm. Như những người dân ở Mỹ Lai bị tra tấn, hành hạ, giết hại bởi những người lính Mỹ, nhưng ở Mỹ, người ta nói rằng những người dân vô tội đó là những người lính cộng sản sẵn sàng nã súng vào lính Mỹ - những súng nào, vũ khí nào thì họ không có bằng chứng. Nếu không có những người Mỹ chân chính, những sự thực về Mỹ Lai sẽ bị chôn giấu vĩnh viễn và người Việt vẫn lại ôm mối đau thương mà chẳng bao giờ được phân giải.

    Lịch sử tại Hàn Quốc vẫn dạy rằng những người lính Hàn Quốc tham chiến tại Việt nam là những anh hùng vì công lý, vì tự do, mang lại hòa bình cho người dân Việt Nam. Và rồi hệ quả là gì, rất nhiều người Hàn Quốc tin vào câu chuyện “thần thoại” 13 lính đặc công Hàn Quốc chống lại 2400 lính đặc công Việt Nam. Những người Hàn Quốc đã từng làm những bộ phim bôi bác hình ảnh bộ đội ta, họ nói chúng ta là ác quỷ và thẳng tay tàn sát người dân, rồi người dân phải chọn cách là theo lính Hàn Quốc.

    Họ đã khắc họa thế hệ cha ông của chúng ta như những kẻ phản diện, bắn vào đồng bào - một việc là ngay cả tư liệu lịch sử từ phương Tây cũng không chứng minh được. Vậy mà nhiều người lại tin tưởng và thờ phụng vào những điều ấy.

    Đó là đa chiều à? Đó là văn minh à? Đó là lịch sử à?

    Đôi khi, mình hay bắt gặp những bình luận kiểu như: Liệu có nhất thiết phải chiến tranh hay không? Tại sao không như Hàn Quốc và Triều Tiên, phía Bắc theo cộng sản còn phía Nam theo tư bản? Tại sao phải nội chiến làm gì, rồi người thì phải bỏ nước mà đi, người ở lại thì nghèo khó bao nhiêu năm.

    Xin lỗi, lãnh thổ và sự toàn vẹn của Tổ Quốc không phải do một đám người thiển cận phán xét, thích chia là chia, thích gộp là gộp. Hàng ngàn năm lịch sử, bao nhiêu thế hệ vì đấu tranh đã nằm xuống, chống lại hết thù mạnh này đến đến địch khác, và giờ thì có những con người trẻ tự nhận là “tân tiến” sẵn sàng “phỉ nhổ” vào những thành tựu ấy.

    Thế hệ đi trước đã hi sinh rất nhiều để thống nhất nước nhà, thì thế hệ sau, đừng làm chuyện ruồi bu nữa.

    ---
    #tifosi

    Thông tin nhắc đến trong bài được đính ở phần bình luận.

    (*) Bài viết xin phép không đề cập đến tính chính danh của chính quyền VNDCCH dưới góc nhìn chính thống trong nước, những thông tin này sẽ được đề cập đến trong các bài viết tiếp theo.

  • rwandan 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:19:08

  • rwandan 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • rwandan 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站