[爆卦]Procedural memory是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Procedural memory鄉民發文沒有被收入到精華區:在Procedural memory這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 procedural產品中有71篇Facebook貼文,粉絲數超過8萬的網紅本土研究社 Liber Research Community,也在其Facebook貼文中提到, 林鄭創造出的「土地共享」,除了令發展商主導了實質(substantive)土地規劃佈局,也在程序上 (procedural) 一種專為發展商「度身訂造」的精簡流程。 #肢解城市規劃 #8月專研...

 同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過3萬的網紅LKNim,也在其Youtube影片中提到,繼續玩~唔知幾時先打到boss呢? Badass Hero on Steam : http://store.steampowered.com/app/465200/ -------------------------------------------------- Subscribe : htt...

  • procedural 在 本土研究社 Liber Research Community Facebook 的最讚貼文

    2021-09-12 17:00:24
    有 89 人按讚

    林鄭創造出的「土地共享」,除了令發展商主導了實質(substantive)土地規劃佈局,也在程序上 (procedural) 一種專為發展商「度身訂造」的精簡流程。

    #肢解城市規劃
    #8月專研

  • procedural 在 Campus TV, HKUSU 香港大學學生會校園電視 Facebook 的最讚貼文

    2021-08-07 06:00:35
    有 87 人按讚

    【7.7評議會事件 一個月】港大不承認學生會 國安搜校園 收回綜合大樓 禁止學生踏入校園

    7月7日評議會事件後,先後引來一連串風波,引起各界迴響。

    7月8日:政府部門及親中組織譴責評議會
    政府部門包括保安局和教育局以及親中組織《香港政研會》及《DQ行動組》譴責評議會。

    7月9日:評議會宣佈撤回相關議案並致歉請辭
    評議會成員就7月7日事件召開記者會宣布撤回相關議案及致歉,全體中央幹事及部份評議員亦宣布請辭。

    7月10日:評議會通過撤回哀悼議案
    評議會於第四次緊急會議中通過撤回議案,並接納大批評議員辭職,包括學生會中央幹事、普選評議員一二、文化聯會、學社聯會及體育聯會之會長及代表。

    7月13日:港大宣佈不再承認學生會在校內的角色
    香港大學經電郵發表聲明再次強烈譴責評議會,並宣佈不再承認學生會的校內角色。聲明中亦表示校方會嚴肅調查是次事件,視乎情況對涉事學生作「進一步處理」。

    7月14日:港大要求學生會交出綜合大樓所有權
    香港大學校舍事務委員會主席羅哲基發送電郵要求學生會於7日內,即7月21日前放棄學生會綜合大樓的所有權。學會及學生組織須向校舍事務委員會註冊,並與大學就條款及細則作協議後方可繼續使用大樓內的設施。

    7月16日:警方國安處人員到香港大學搜查
    警方國安處人員持法庭搜查令到香港大學學生會大樓、校園電視工作室及學苑辦公室蒐證,指調查一宗涉嫌違反國安法第二十七條「宣揚恐怖主義、煽動實施恐怖活動」案件。

    7月21日:校方正式收回學生會綜合大樓
    校方收回學生會綜合大樓,更換所有門鎖,鑲嵌在學生會綜合大樓外的「香港大學學生會」字樣亦被拆除,而貼在玻璃門上的字樣「香港大學學生會」則被「香港大學」的字樣取代。學生會合作社及學生會辦公室停止營運至另行通知。

    7月30日:CCSO成立
    校方成立由教務處管轄的Co-Curricular Support Office (CCSO) 處理學生會屬會與學生組織借用資源及場地事宜,並舉行諮詢會議交代其角色與功能,期間以繼父及繼子形容與學生會屬會之關係。

    8月2日:Cedars終止與迎新事務委員會合作
    香港大學學生發展及資源中心(Cedars)終止與學生會評議會迎新事務委員會有關2021年度新生註冊日之合作,指將直接負責參與新生註冊日的屬會之安排及管理。

    8月4日:校委會發表聲明宣佈禁止涉事學生進入校園
    香港大學校務委員會發表聲明禁止所有參與7月7日評議會會議的學生進入校園範圍及使用大學設施和服務直至另行通告。同日,校方高層發送電郵約見涉事學生,而校長張翔亦邀請各舍堂及院會代表共進早餐。

    8月4日:張達明辭任校委會成員
    港大法律學院首席講師張達明對校委會的決議感到難過,並表明當晚已辭任校委會成員。張指校委會在未讓學生向紀律委員會申辯的情況下作此決定,基本上是「越權」。

    8月5日:畢業生發起聯署
    一眾港大畢業生發起聯署,指基於程序及公平性問題,要求校委會撤銷對學生會評議會學生的處分,並就相關問題與校方溝通。

    聯署中引用多條《香港大學條例》的規程,當中指出紀律委員會為就任何針對學生的投訴作調查及裁決的權力單位,而校委會不得受理任何屬於紀律委員會管轄範圍內的投訴及作裁決,因此就以上條文得出的合理解讀只能是校委會沒有任何權力去對學生作直接處分,否則構成越權(ultra vires)。校委會不召開紀律委員會的做法「明顯褫奪學生的答辦權及獲得法律諮詢的機會,違反普通法原則」。

    另外,聯署中亦指出規程中對於學生上訴的權利有明確程序保障(procedural safeguard),學生利益在上訴獲得裁定前不受影響,因此校委會的處罰「明顯有違規程序中訂明的正當程序(due process)」

    8月5日:校董會成員發公開信
    七名香港大學校董會成員包括趙潔儀、麥東榮、陳家健、陳紹斌、賴振鴻、陳和順及黎雋維向香港大學校委會發公開信,要求校委會撤回以上決定並嚴格按照香港大學條例之相關章程處理是次事年。

    聲明中引用《香港大學條例》規程XXXI第2(1)段,並指出是次被處分的學生沒有觸犯條列中列出的15種大學處理學生違反紀律的行為。條例當中亦列明即使學生被法庭裁定觸犯罪行,有關個案亦應由紀律委員會按程序處理,不必由校委會「越俎代庖」,且警方仍在調查是次事件,至今沒有學生被檢控。

    聲明末指作為校董會成員,認為上述決定在法理上不恰當,在程序上亦有違自然公義原則,批評校委會以「風險管理」為由剝奪學生學習的機會,亦不符合大眾對大學的教育風範之期望,故要求校委會撤回較早前所採取的處分決定,及嚴格按照相關章程處理事件。

    8月6日至7日凌晨:校方未有就公開信作進一步回應

  • procedural 在 GamingDose Facebook 的最佳解答

    2021-07-31 17:47:56
    有 303 人按讚

    ========
    Wildermyth: พลังของเรื่องเล่าและตํานาน
    ========
    .
    หนึ่งในภูมิปัญญาของคนโบราณคือการรังสรรค์เรื่องเล่าจำนวนมากในรูปเทพนิยาย ตำนาน และนิทานสอนใจ ใช้สอนคนรุ่นหลังในยุคมุขปาฐะที่มนุษย์เรียนรู้หลักๆ ด้วยวิธีการเล่าปากต่อปาก นานนับพันปีก่อนกำเนิดของแท่นพิมพ์ และสำหรับชาวกรีกโบราณ ผู้หายใจเข้าออกเป็นตำนาน พวกเขาก็หลงใหลในละครโศกนาฏกรรม (tragedy) ที่ถ่ายทอดชีวิตตัวละครไปถึงฉากจบอันแสนเศร้า เพราะเชื่อว่าละครที่ดีนั้นสามารถยกระดับจิตใจคนดู ชำระล้างให้บริสุทธิ์ ผ่านการเข้าถึงความหดหู่เศร้าหมองอย่างลึกซึ้งถึงแก่น
    .
    ชาวกรีกโบราณไม่อยากขานใครว่า “วีรบุรุษ” หรือ “วีรสตรี” ก่อนที่เขาหรือเธอจะตายจากไป เพราะอยากได้ประเมินการใช้ชีวิต “ทั้งชีวิต” ของคนผู้นั้นก่อน ว่าโดยรวมแล้วคู่ควรกับคำสรรเสริญเยินยอมากน้อยเพียงใด ชีวิตของเธอหรือเขาควรเป็น “ตำนาน” หรือไม่
    .
    ผู้เขียนคิดเรื่องนี้ระหว่างเล่น Wildermyth เกมสวมบทบาท (RPG) แนว Roguelike (สุ่มทั้งเหตุการณ์ แผนที่ ตัวละคร และเรื่องราวในเกม) จากสามีภรรยา Nate กับ Anne Austin ที่รวมตัวกันในชื่อ Worldwalker Games
    .
    นี่คือเกม RPG หน้าตาน่ารักน่าชังแต่ระบบการต่อสู้สุดมันส์และมีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร แต่เสน่ห์ที่ทำให้ Wildermyth โดดเด่นกว่า RPG เกมอื่นก็คือ จุดเน้นที่ “เรื่องราว” และ “พัฒนาการ” ของตัวละครในทีมเรา พวกเขาแต่ละคนเริ่มต้นจากการเป็นชาวนาชาวไร่ธรรมดาๆ ที่ถูกสถานการณ์บังคับให้ต้องจับจอบจับเสียมมาสู้รบปรบมือกับสัตว์ประหลาด ซึ่งในเกมนี้ก็ไม่ใช่ ก็อบลิน ออร์ค คนแคระ เอลฟ์ หรือเผ่าพันธุ์ตามขนบแฟนตาซีมาตรฐานในโลกตะวันตกที่เราคุ้นเคย แต่เป็นเผ่าพันธุ์แปลกใหม่น่าตื่นตา มีทั้งหมดห้าเผ่า บางเผ่าดูเหมือนฤาษีคลั่งลัทธิจากโลกใต้ดินอันเร้นลับ บางเผ่าเป็นหุ่นยนต์แนว steampunk อันเต็มไปด้วยปริศนา บางเผ่าดูเหมือนแมลงไปผสมพันธุ์กับมังกร (และมีพลังจิตอีกต่างหาก!) และบางเผ่าก็มีหน้าตาเหมือนสัตว์ประหลาดจากต่างดาว “ศัตรู” ที่เราต้องต่อกรด้วยเหล่านี้ล้วนแต่มีปูมหลังลึกลับน่าค้นหา ซึ่งจะค่อยๆ เผยออกมาระหว่างทาง จนสุดท้ายเราอาจค้นพบว่า พวกเขาไม่ใช่ “ศัตรู” คู่อาฆาตของเราแต่อย่างใดเลยก็ได้
    .
    เป้าหมายใหญ่ไม่ว่าเราจะเลือกเล่นแคมเปญไหนก็คือ ทีมนักผจญภัยของเราต้องพิทักษ์โลกแฟนตาซี ในเกมนี้ชื่อ Yondering Lands จากภยันตรายที่คืบคลานเข้ามา ระบบเกมสลับระหว่างฉากการวางแผนการเดินทางระหว่างเมืองต่างๆ ในโลก ฉากการต่อสู้แบบ tactical (เป็น turn-based ไม่ใช่เวลาจริงหรือ real-time) และฉากการเล่าเรื่องผ่านการ์ตูนช่องสองมิติ เมื่อเวลาผ่านไป สมาชิกในทีมของเราจะเก่งกล้าสามารถขึ้นเรื่อยๆ ทุกครั้งอัพเลเวล เราจะได้เลือกหนึ่งในสามทักษะใหม่ที่ตรงกับคลาส (class) ของตัวละคร ซึ่งมีสามคลาส ได้แก่ นักรบ (ระยะประชิด) (warrior) นายพราน (แม่นธนู) (hunter) และ นักเวท (mystic) ใช้เวทเป็นอาวุธ
    .
    แคมเปญแต่ละแคมเปญในเกมแบ่งเรื่องออกเป็น “บท” จำนวนสามถึงห้าบท เราจะเดินทางระหว่างแคว้นต่างๆ ในโลกเพื่อเฟ้นหาสมาชิกใหม่มาร่วมทีม สร้างแนวป้องกันศัตรู ลาดตระเวนป้องกันศัตรู บุกโจมตีฐานที่มั่นของศัตรู สร้างทางเดินหรือสะพานไปสำรวจแคว้นใหม่ หรือสร้างสิ่งปลูกสร้างต่างๆ มาผลิตวัตถุดิบสำหรับสร้างหรืออัพเกรดอาวุธและเสื้อเกราะตอนจบแต่ละบท โดยจะได้โอกาสอัพเกรดก่อนประมือกับ “บอสใหญ่” ของแคมเปญด้วย ทุกภารกิจบนแผนที่โลกนี้เราสามารถส่งตัวละครในทีมตั้งแต่ 1-5 คนไปทำ ภารกิจบางอย่างต้องใช้คนมากกว่าหนึ่งคน ด้านบนของแผนที่โลกจะแสดงเค้าน์ท์เตอร์ (counter) นับเวลาถอยหลังสองอัน อันหนึ่งบอกเวลาที่ศัตรูจะบุกมาทำลายเมือง อีกอันนับถอยหลังเวลาที่ศัตรูจะเก่งขึ้นอีก (แต่มันก็เก่งขึ้นอัตโนมัติอยู่แล้วหลังการต่อสู้ทุกครั้ง)
    .
    ระบบการต่อสู้ของ Wildermyth สนุกและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เราจะซูมลงมาดูทีมนักผจญภัยบนตารางคล้ายหมากรุก จะมองเห็นศัตรูก็ต่อเมื่อมันเดินเข้ามาในระยะสายตา แต่ละตาทีมเราจะเดินก่อน จากนั้นศัตรูจะเดิน แต่ละคนมี 2 แอ๊กชั่นให้ใช้ระหว่าง เดิน โจมตี หรือใช้ความสามารถอื่น ความสามารถบางอย่างต้องใช้ทั้ง 2 แอ๊กชั่น บางอย่างเป็น free action แต่ใช้ไม่ได้ทุกตา เป็นต้น นักรบ นายพราน และนักเวทล้วนท่าโจมตี ทักษะ และสไตล์การเล่นแตกต่างกัน แน่นอนว่านักรบควรอยู่ด่านหน้าเป็น “แทงก์” และปกป้องเพื่อนในทีม (ทักษะ “Guardian” หรือผู้คุ้มกัน ที่ให้โจมตีศัตรูอัตโนมัติที่เข้ามาใกล้ในระยะ 1×1 หรือ 2×2 มีประโยชน์มาก) นายพรานใน Wildermyth เป็นส่วนผสมระหว่าง ranger กับ rogue ในขนบ RPG ทั่วไป คือสามารถยิงธนูจากระยะไกลและอำพรางตัวไม่ให้ศัตรูมองเห็น
    .
    นักเวทนับเป็นคลาสที่สนุกที่สุดในเกมนี้ เพราะไม่ได้ร่ายเวทจากคัมภีร์เวทมนตร์เหมือน RPG ทั่วไป แต่นักเวทใน Wildermyth ร่ายเวทจากการ “Interfuse” หรือส่งพลังไป “หลอมรวม” กับเฟอร์นิเจอร์ ก้อนหิน ต้นไม้ กองไฟ หรือสิ่งของอื่นๆ ในฉาก จากนั้นค่อยใช้ท่าโจมตีที่ใช้ลักษณะเด่นของสิ่งที่ไปหลอมด้วย เช่น ถ้าเป็นพุ่มไม้ก็ยิงหนามแหลม ถ้าเป็นไฟก็ยิงลูกไฟ ถ้าเป็นตู้ไม้ก็ยิงเศษไม้ใส่ เป็นต้น และเมื่อนักเวทอัพเลเวล ท่าโจมตีเหล่านี้ก็จะได้อัพเกรดทั้งความแรงและท่าใหม่ๆ ที่สนุกสนานกว่าเดิมอีก
    .
    ทุกครั้งที่เราจบการต่อสู้ ศัตรูที่เราประมือด้วยก็จะเก่งขึ้นอีก อาจจะมีพลังชีวิตมากขึ้น มีเกราะมากขึ้น หรือมีสัตว์ประหลาดชนิดใหม่ในเผ่ามาร่วมรบ เราไม่มีทางกดไม่ให้มันเก่งขึ้น ต่างจากการลดเคาท์น์เตอร์เรื่องความเก่งของศัตรูบนแผนที่โลก ทุกครั้งที่เวลาเคาน์ท์เตอร์นับถอยหลังเหลือศูนย์ เกมจะแสดงผลบนจอว่าศัตรูเผ่าไหนจะเก่งขึ้นอย่างไร เรามีทางเลือกที่จะใช้ “แต้มความเป็นตำนาน” (Legacy Points) ที่ได้จากการสำรวจดินแดนใหม่ๆ และผ่านเส้นเรื่องบางจุด กดไม่ให้ศัตรูเก่งขึ้นได้ถ้าเรามีแต้มมากพอ
    .
    กลไกนี้หมายความว่า บรรดานักผจญภัยของเราจะเก่งขึ้นเรื่อยๆ ก็จริง แต่ศัตรูก็จะเก่งขึ้นเรื่อยๆ เป็นเงาตามตัวด้วย ยังไม่นับเหตุการณ์ตามท้องเรื่องที่จะเกิดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปเป็นระยะๆ บางครั้งตัวละครเราจะถูกดึงให้ไปทำภารกิจ (quest) ส่วนตัวอะไรสักอย่าง ก่อนจะกลับมาร่วมเดินทางกับทีม
    .
    พูดถึงเหตุการณ์ตามท้องเรื่องแล้วก็ต้องพูดถึงระบบ “พัฒนาการ” ของตัวละคร และวิธีเล่าเรื่องของ Wildermyth อันเป็นจุดที่โดดเด่นที่สุดของเกมนี้ สมาชิกนักผจญภัยของเราทุกคนไม่เพียงแต่มีปูมหลังและลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน (ใจร้อน / ช่างคิด / เพ้อฝัน / โรแมนติก / ชอบผจญภัย / กวี และนิสัยอื่นๆ หลายสิบชนิด) แต่เกมนี้จะติดตามเรื่องราวของตัวละครตั้งแต่มาร่วมทีมในวัยละอ่อน (20 ต้นๆ) จนถึงวันตาย เราจะได้เห็นฮีโร่คนโปรดเติบโต ผมดำขลับเปลี่ยนเป็นสีดอกเลา จากนั้นพอถึงวัย 70-80 ก็จะใกล้ตาย (เกมจะบอกเราในฉากติดอาวุธหรืออุปกรณ์ว่า ตัวละครตัวไหนที่จะไม่อยู่กับเราในบทต่อไปแล้ว) และเมื่อฮีโร่ตายหรือเราพิชิตแคมเปญได้แล้ว นั่นก็ยังไม่ใช่ “จุดจบ” ของนักผจญภัย – เราสามารถเลือกสมาชิกคนโปรดที่อยากเจออีกในแคมเปญอนาคต ในฐานะ “ฮีโร่ในตำนาน” และได้เลือกความสามารถพิเศษบางอย่างที่เขาหรือเธอสะสมมาตลอดแคมเปญ ให้เป็น “มรดก” สำหรับเขาหรือเธอในภพถัดไป เมื่อต้องเริ่มต้นใหม่ที่เลเวล 1 เหมือนกับสมาชิกคนอื่นๆ
    .
    ระบบ Legacy แปลว่า ฮีโร่คนโปรดของเราอาจกลายเป็นตำนานอันยิ่งใหญ่หลังจากที่เราเลือกเซฟเขาหรือเธอไปเล่นหลายแคมเปญติดต่อกัน เกมจะบันทึกการผจญภัยและเหตุการณ์สำคัญๆ ที่นักผจญภัยแต่ละคนประสบพบเจอใน “ประวัติ” ของเขาหรือเธอ
    .
    ที่น่าทึ่งไปกว่านั้น นักผจญภัยในทีมเราจะไม่ได้ง่วนอยู่กับการทำภารกิจต่อสู้สัตว์ประหลาดอย่างเดียว แต่มี “ชีวิต” ที่หลากหลายและเปี่ยมเสน่ห์ ก่อนการต่อสู้ทุกครั้งและระหว่างการเดินทางท่องโลก เรามีโอกาสเจอ “เรื่องราว” ที่เข้ามากระทบกับตัวละครอยู่เสมอ ทุกเรื่องเล่าผ่านการ์ตูนช่องที่ให้เราตัดสินใจผลลัพธ์ และเรื่องนั้นก็อาจเป็นเรื่องราวเรียบง่ายในชีวิตประจำวัน เช่น ตัวละครสองตัวเกี้ยวพาราสีจนพบรัก หรือชิงดีชิงเด่นกันจนเป็นคู่อริ (มีผลในฉากต่อสู้ด้วย) ตัวละครอีกตัวนึกครึ้มใจอยากแต่งกลอนชื่นชมธรรมชาติ บางครั้งคู่รักอาจให้กำเนิดลูกสาวหรือลูกชายที่เติบโตมาเป็นนักผจญภัยเหมือนพ่อแม่ (เราเลือกได้ว่าจะให้ตัวละครใหม่เป็นคลาสอะไร) หรือไม่อีกที ตัวละครอีกตัวอาจเจอหินลึกลับที่พอแตะแล้วซึมซับเข้าไปในร่างกาย เปลี่ยนแขนหรือขาให้กลายเป็นก้อนหินทรงพลัง (การแปลงร่างในเกมนี้มีหลากหลายรูปแบบ และทั้งหมดล้วนแต่สนุกมากเวลาเจอ)
    .
    เรื่องราวทุกเรื่องในเกมถ่ายทอดเป็นการ์ตูนช่องสองมิติสวยงาม หลายเรื่องใช้ภาษาเรียบง่ายแต่น่าหลงใหลไม่ต่างจากการได้อ่านเรื่องสั้นชั้นดีเลยทีเดียว อีกจุดที่สนุกมากคือการเล่าเรื่องระหว่างบท เมื่อจบบทหนึ่งแล้ว เกมจะขึ้นข้อความให้เราเห็นว่า การกระทำของเรามีผลให้โลก Yondering Lands ได้พบกับสันติสุขไปกี่ปี (ก่อนที่ความโกลาหลครั้งใหม่จะเริ่มต้นในบทถัดไป) จากนั้นก็ขึ้นการ์ตูนช่องบรรยายว่า ในช่วงเวลาแห่งสันตินั้น สมาชิกในทีมเราแต่ละคนใช้เวลาไปทำอะไรบ้าง บางคนอาจเปิดผับขายเหล้า บางคนกลับบ้านไปหาครอบครัว บางคนตั้งรกรากมีลูก บางคนอาจสอนเวทให้กับนักเวทรุ่นต่อไป ทั้งหมดนี้ประกอบกันทำให้เราใส่ใจกับทีม เสียใจเมื่อใครสักคนต้องตาย ไม่ว่าจะตายในสนามรบ ตายตามท้องเรื่อง หรือตายตามอายุขัยก็ตาม
    .
    Wildermyth มีโหมด multiplayer ให้เราผจญภัยร่วมกับเพื่อนๆ และมีแคมเปญแบบสุ่มนอกเหนือจากแคมเปญหลักที่เล่าเรื่องใหญ่ห้าแคมเปญ แคมเปญสุ่มจะไม่มีเส้นเรื่องใหญ่ใดๆ มีเพียงเหตุการณ์สั้นๆ ที่คาดเดาไม่ได้ล่วงหน้า (procedural campaign) ทำให้มันเป็นเกม RPG ส่วนน้อยที่เล่นแล้วเล่นอีกได้ไม่รู้เบื่อ ยังไม่นับ mods อีกมากมายที่แฟนเกมบรรจงสร้างมาต่อเติมเนื้อหาให้สดใหม่อยู่เสมอ
    .
    คงไม่มีคำสรรเสริญ Wildermyth ใดๆ ที่จะชัดไปกว่าการกล่าวว่า นี่เป็นเกมหนึ่งในจำนวนไม่กี่เกมที่ผู้เขียนคิดว่าจะไม่มีวันลบไปจากฮาร์ดดิสก์แน่ ๆ
    .
    - สฤณี อาชวานันทกุล
    .
    #UnderdogsCorner #GamingDose #wildermyth #Fringer

你可能也想看看

搜尋相關網站