[爆卦]MWh kWh是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇MWh kWh鄉民發文沒有被收入到精華區:在MWh kWh這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 mwh產品中有48篇Facebook貼文,粉絲數超過5,959的網紅屏東環保go,也在其Facebook貼文中提到, 「崁頂垃圾焚化廠查核評鑑」獲全國「優等獎」 表現亮眼創近20年最佳成績 全國垃圾焚化廠查核評鑑成績出爐!崁頂焚化廠在全國24座焚化廠中獲「優等獎」,是繼107 年度獲「自主改善最佳進步特別獎」鼓勵、108 年度跨越門檻榮獲「甲等」獎勵後,109 年度本縣崁頂焚化廠再度突破重圍更上一層樓,打破...

 同時也有17部Youtube影片,追蹤數超過7萬的網紅豆豆媽咪健康生活家,也在其Youtube影片中提到,#除霉 #膠條 #矽利康 天氣濕熱,矽利康膠條容易發霉,除了要定期清潔除霉之外,清潔完的矽利康膠條噴上防水的抑菌鍍膜,水份進不去、黴菌沒有養份,就比較不容易發霉囉! 浴室的玻璃水垢每次清潔都要大費周章,我發現清潔完後的玻璃,噴上防水抑菌鍍膜,水垢真的比較不容易卡在上面,清潔上變得更輕鬆了呢~ 豆...

mwh 在 姜俊叻ᏞᎬᏒ | 日常 穿搭 景點 美食 Instagram 的精選貼文

2021-08-02 05:57:33

臉部乾燥真的是我的致命傷😿 由於我本人是手搖飲成癮者 平常都不怎麼攝取水分⋯ 所以臉部時常處於一個乾燥脫皮的狀態 抹了許多瓶瓶罐罐的保養品 都只能改善當下膚況 ⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀ 聽說有一款保濕面膜馬上拿來試用💆🏻 ⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀ 《AG抗糖海洋補水面膜》 @cocochicosme...

  • mwh 在 屏東環保go Facebook 的精選貼文

    2021-07-20 08:37:38
    有 298 人按讚

    「崁頂垃圾焚化廠查核評鑑」獲全國「優等獎」 表現亮眼創近20年最佳成績

    全國垃圾焚化廠查核評鑑成績出爐!崁頂焚化廠在全國24座焚化廠中獲「優等獎」,是繼107 年度獲「自主改善最佳進步特別獎」鼓勵、108 年度跨越門檻榮獲「甲等」獎勵後,109 年度本縣崁頂焚化廠再度突破重圍更上一層樓,打破魔咒,奪下「優等獎」,創近20年最佳成績,一吐長期以來崁頂焚化廠績效總是敬陪末座的悶氣。
    屏東縣環保局表示,崁頂焚化廠自民國90年12月22日起,委託台灣糖業股份有限公司代操作20年,惟自100 年起焚化廠故障情形持續頻繁發生,又廢棄物焚化處理量日漸降低,廢棄物去化露出危機,為此,縣長潘孟安果斷堅決,指示環保局務必強烈要求台糖公司提出因應改善計畫,台糖公司始破釜沉舟,大幅修繕崁頂焚化廠設備。
    在縣長潘孟安強力要求下,台糖公司自106年5月至107年6月期間啟動崁頂焚化廠效能整備,改善垃圾進料斗架橋、爐床作動不良、廢氣煙道嚴重漏氣、鍋爐管排及蒸發管排嚴重減薄、底渣集灰斗嚴重破損及固化設備故障等缺失;續於環保局顏幸苑局長督軍下,台糖公司再於108年4月起辦理崁頂焚化廠效能提升勞務採購,引進專業技術服務團隊協助精進焚化廠操作管理。至此,崁頂焚化廠硬體、軟體脫胎換骨,加以顏幸苑局長為強化監督成效,不定期率環保局一級主管前往焚化廠,督察焚化廠垃圾落地檢查情形,以管控廢棄物進廠措施及品質,並針對崁頂焚化廠之公安、消防、資安等一併進行督導。此外,亦嚴格審查事業廢棄物之進廠申請案件,並逐一實地勘查,確認產源及數量、種類,以防止外縣市事業廢棄物「偷渡」本縣焚化爐處理,增加焚化廠處理負荷量。疫情期間,亦格外要求廠區做好防疫清消及管控工作,全面阻絕病毒入侵。
    環保局表示,109年崁頂焚化廠各項污染排放無論自行檢測或外部抽測全數符合規定,焚化底渣產生率14.7%為近5年來最低,爐管破管次數5次為近10年來最少,發電量145,800 MWH、售電率達75.9%為近13年最佳,焚化處理量308,825 噸為近15 年最高,甚者,鍋爐運轉率91.1%及焚化輔助用油0.52 L/T 皆創崁頂焚化廠歷年來最佳之紀錄,營運績效年年展現驚奇,令人刮目相看,崁頂焚化廠獲獎乃實至名歸!
    屏東縣長潘孟安表示,崁頂焚化廠委託台糖20年之操作管理即將於今(110)年12月21日到期,屏東縣政府會以最嚴謹的態度,設定高規格的條件,進行崁頂焚化廠後續整建及營運,以增強焚化廠污染防治效率並提升能源回收,有效解決本縣廢棄物處理問題。

  • mwh 在 媽媽監督核電廠聯盟 Facebook 的精選貼文

    2021-05-24 15:10:11
    有 25 人按讚

    原先規劃2025年儲能設置目標僅590MW 台電現在坦言「太少」!(05/23/2021 自由時報)

    “..... 台灣規劃二○二五年太陽光電裝置容量為二十GW,離岸、陸域風電為六.九GW,合計二十六.九GW;以委託美國的研究換算,屆時應準備二六九萬瓩的儲能量,而目前僅將以五十九萬瓩因應,相差約四.五倍。台電調度處長吳進忠強調,委託美國研究是在二○一三年做的調查,當時能源轉型方向仍不明朗,歷經兩次大停電後,台電將重新檢討。他坦言,目前規劃五十九萬瓩確實不足,「一定會再增加」。....."

    (記者林菁樺/台北報導)台灣經過兩次大停電後,專家學者指出,因應太陽光電等大量再生能源併網,儲能設備卻遠遠不足。台電曾委託美國電力研究院(EPRI)研究,搭配綠能應需額外準備綠能裝置容量十%的備轉容量,以二○二五年我國規劃數字和美國研究對照,差距達四.五倍。台電表示,此研究當時未納入能源轉型因素,但在大停電後,儲能的確不足,會重新規劃。

    台灣規劃二○二五年太陽光電裝置容量為二十GW,離岸、陸域風電為六.九GW,合計二十六.九GW;以委託美國的研究換算,屆時應準備二六九萬瓩的儲能量,而目前僅將以五十九萬瓩因應,相差約四.五倍。台電調度處長吳進忠強調,委託美國研究是在二○一三年做的調查,當時能源轉型方向仍不明朗,歷經兩次大停電後,台電將重新檢討。他坦言,目前規劃五十九萬瓩確實不足,「一定會再增加」。

    台灣環境規劃協會理事長趙家緯表示,台灣在儲能相關政策較弱,以韓國為例,業者蓋光電的同時,有補助誘因支持,因此會同步推展儲能;以台韓前年數據分析,台灣光電建設約一.四GW,韓國約三.四GW,同年蓋的儲能設備卻相差三十倍。

    儲能成本並不便宜,電池容量一MWh,要價約三千萬元起跳。趙家緯表示,初期成本會高,但不要忽略規模經濟,大量投入後才有抑低機會。他建議,政府可從現有機制強化民間力量,例如每年公布太陽光電躉購費率時,只要搭配儲能,可額外加乘費率,以鼓勵業者投入。

    完整內容請見:
    https://ec.ltn.com.tw/article/paper/1450437

  • mwh 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文

    2021-03-24 16:52:24
    有 187 人按讚

    จะส่งจรวดออกไปนอกโลก ต้องใช้อะไรบ้าง?

    ******************
    Basics of spaceflight (2/6)
    บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของซีรีส์บทความ “Basics of spaceflight” เพื่อจะอธิบายหลักการพื้นฐานในการส่งยานอวกาศไปเยือนวัตถุอื่น โดย บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของบทความที่มีอยู่ด้วยกัน 6 ตอน ได้แก่
    1. เราเดินทางในอวกาศได้อย่างไร[1]
    2. จะส่งจรวดออกไปนอกโลก ต้องใช้อะไรบ้าง?
    3. ปราการด่านแรกของการไปอวกาศ: การออกไปจากชั้นบรรยากาศของโลก
    4. วงโคจรคืออะไร
    5. Hohmann transfer orbit
    6. เครื่องยนต์จรวด และ Ion engine

    ******************

    จะส่งจรวดออกไปนอกโลก ต้องใช้อะไรบ้าง?

    จากตอนที่แล้ว เราได้เกริ่นกันไปแล้วว่า การทำงานของจรวดนั้นไม่ต่างอะไรกันกับยานพาหนะอื่น: นั่นก็คือจรวดเคลื่อนที่ไปด้านหน้า (ขึ้นข้างบน) โดยการผลักมวลบางส่วนไปด้านหลัง (ลงข้างล่าง) แต่สิ่งที่ทำให้จรวดแตกต่างกับเครื่องบินเป็นอย่างมาก ก็คือจรวดนั้นจะต้องแบกมวลที่จะผลักไปด้านหลังทิ้งไปด้วย ในขณะที่เครื่องบินนั้นต้องการแบกเชื้อเพลิงเพียงเพื่อให้มีพลังงานเพียงพอในการผลักอากาศไปตลอดการเดินทาง แต่จรวดจะต้องทิ้งมวลส่วนหนึ่งออกมาตลอดเวลาเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนที่

    สำหรับจรวดโดยทั่วๆ ไปนั้น จะใช้ปฏิกิริยาทางเคมีในการขับดัน โดยปฎิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้น จะทำให้เกิดความร้อน และความดันสูง ขับดันให้แก๊สเป็นจำนวนมากพุ่งออกไปทางปลายท่อไอพ่นด้วยความเร็วสูง การปล่อยมวลไปด้านหลังด้วยความเร็วสูงนี้เอง เป็นตัวการหลักที่ขับดันจรวดให้พุ่งขึ้นไปด้านบน ด้วยความที่จรวดจะต้องแบกมวลที่จะขับดันจรวดไปด้วย จึงทำให้จรวดจำเป็นจะต้องมีมวลที่มากไปโดยปริยาย

    ซ้ำร้าย สิ่งที่ทำให้จรวดยิ่งท้าทายขึ้นไปอีกก็คือ จรวดนั้นจะต้องเดินทางเป็นระยะทางที่สูงมาก สถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) นั้นโคจรอยู่ด้วยความสูงถึง 400 กม. ซึ่งถึงแม้การเดินทางเป็นระยะทาง 400 กม. บนพื้นราบนั้นจะเป็นเรื่องที่ไม่ได้ลำบากมาก แต่การจะต้องเดินทาง 400 กม. ต้านแรงโน้มถ่วงตลอดเวลานั้นเป็นไปได้ยากกว่ามาก และอย่าลืมว่าตลอดเวลานี้จรวดจะต้องส่งมวลลงมาด้วยแรงเพียงพอที่จะแบกน้ำหนักบรรทุก และน้ำหนักของเชื้อเพลิงที่จะผลักดันจรวดตลอดการเดินทางที่เหลือไปด้วยตลอด

    นอกไปจากนี้ จรวดไม่เพียงแต่จะต้องแบกน้ำหนักอันมหาศาลขึ้นไป “สูง” เพียงเท่านั้น แต่ส่วนที่ท้าทายที่สุดก็คือจรวดจะต้องทำความเร็วเพิ่มขึ้น เพื่อให้มีความเร็วเพียงพอที่จะอยู่ในความเร็วโคจร ที่จะทำให้น้ำหนักบรรทุกไม่ตกกลับลงมายังพื้นโลกอีกเมื่อไปถึงความสูงที่ต้องการ ซึ่งสำหรับสถานีอวกาศนานาชาติที่ความสูง 400 กม. จากพื้นโลกนั้น ความเร็วโคจรนี้อยู่ที่ความเร็ว 7.6 กม.ต่อวินาที หรือเทียบเท่า 27,600 กม. ต่อชั่วโมง ซึ่งเป็นความเร็วที่เร็วเกินกว่าพาหนะใดๆ บนพื้นโลกจะสามารถทำได้

    ความต้องการทั้งหมดนี้ บ่งบอกว่าจรวดจะต้องอาศัยน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นอย่างมาก เพื่อจะไปถึงความสูงและความเร็วที่ต้องการ

    ซึ่งนั่นนำไปสู่อีกความท้าทายหนึ่งของการนำจรวดไปนอกโลก นั่นก็คือ ทุกๆ น้ำหนักบรรทุกที่เราต้องการบรรทุกขึ้นไปนั้น จะต้องมีน้ำหนักของเชื้อเพลิงที่เอาไว้เพื่อขับดัน แต่เราก็ต้องการเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นมาอีก เพื่อขับดันเชื้อเพลิงที่แบกขึ้นไป

    สมมติว่าเราจะสร้างจรวดที่จะบรรทุกมนุษย์หนึ่งคน น้ำหนัก 65 กก. ออกจากแรงโน้มถ่วงของโลกไปในอวกาศ พลังงานที่ต้องใช้นั้นเทียบเท่าประมาณ 4 พันล้านจูล ซึ่งโดยลำพังไม่ใช่พลังงานที่เยอะมาก เทียบเท่าประมาณ 1 MWh หรือพลังงานไฟฟ้าที่บ้านเรือนหนึ่งหลังใช้ในหนึ่งเดือน หากเราต้องการใช้พลังงานนี้โดยการเผาน้ำมันเชื้อเพลิงธรรมดา พลังงาน 4 พันล้านจูลนี้จะเทียบเท่ากับน้ำมันเบนซินเพียงประมาณ 90 กก. เท่านั้นเอง นั่นหมายความว่า หากเรามีน้ำมัน 90 กก. เราก็มีพลังงานเพียงพอที่จะแบกน้ำหนักบรรทุก 65 กก. ออกจากชั้นบรรยากาศของโลก

    แต่เดี๋ยวก่อน หากเราต้องใช้เชื้อเพลิง 90 กก. เพื่อจะขับดันน้ำหนักบรรทุกออกจากโลก เราก็จำเป็นที่จะต้องขับดันเชื้อเพลิงนี้ขึ้นไปด้วยพร้อมๆ กัน นั่นหมายความว่าเราจะต้องมีน้ำหนักบรรทุกเพิ่มขึ้นไปอีก 90 กก. ซึ่งมากกว่าน้ำหนักบรรทุกดั้งเดิมของเราที่ 65 กก.

    เราสามารถคำนวณพลังงานที่ต้องใช้ในการแบกน้ำหนักบรรทุก 90 กก. ขึ้นไปได้โดยสมการเดียวกัน ซึ่งเทียบเท่าประมาณ 6 พันล้านจูล เท่ากับเราจะต้องแบกเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นไปอีกประมาณ 135 กก. ซึ่งน้ำหนักอีก 135 กก. นี้ก็แน่นอนว่าจะต้องการพลังงานในการแบกขึ้นไปอีก ซึ่งเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นมานี้ก็ยังจะต้องใช้เชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น ที่จะแบกขึ้นไปอีกต่อไปเรื่อยๆ แต่เชื้อเพลิงที่เราแบกขึ้นไปนั้นใช้หมดไประหว่างทาง ทำให้น้ำหนักที่จะต้องแบกบรรทุกขึ้นไปนั้นไม่ได้โตขึ้นไปจนไม่มีที่สิ้นสุด

    สำหรับกรณีทั่วๆ ไปที่ใช้เชื้อเพลิงจรวด สำหรับยานอวกาศน้ำหนักบรรทุก 1 ตัน เราจะต้องแบกเชื้อเพลิงจรวดขึ้นไปด้วยถึง 20-50 ตัน นั่นหมายความว่าน้ำหนักมากกว่า 95% ของจรวดหนึ่งๆ นั้นจะประกอบไปด้วยเชื้อเพลิงจรวดที่พร้อมจะเผาไหม้ด้วยพลังงานขนาดมหาศาล

    ภาพ: จรวด Falcon 9 ของ SpaceX ทะยานขึ้นจาก Kennedy Space Center ที่แหลมคานาเวอรัล รัฐฟลอริด้า ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2018. (ภาพโดย: SpaceX)

    อ่านเพิ่มเติม:
    [1] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/a.255101608033386/1551440618399472/