[爆卦]Enterocolitis是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Enterocolitis鄉民發文沒有被收入到精華區:在Enterocolitis這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 enterocolitis產品中有6篇Facebook貼文,粉絲數超過4萬的網紅มติพล ตั้งมติธรรม,也在其Facebook貼文中提到, บิดาแห่ง Antivaxxers - นักวิจัยผู้บิดเบือนผลการทดลองวัคซีนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง โรคหัดเคยเป็นโรคหนึ่งที่คร่าชีวิตเด็กทั่วโลกไปกว่าปีละ 2.6 ล้านคน ...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

enterocolitis 在 Puy• Foodie• Health• Lifestyle Instagram 的最佳貼文

2020-05-12 04:53:32

Finally my appetite starts to getting back with this #brunch meal after I’ve been sick for 4-5 days with allergy and enterocolitis with acute diarrhea...

  • enterocolitis 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文

    2021-07-29 18:59:07
    有 121 人按讚

    บิดาแห่ง Antivaxxers - นักวิจัยผู้บิดเบือนผลการทดลองวัคซีนเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง

    โรคหัดเคยเป็นโรคหนึ่งที่คร่าชีวิตเด็กทั่วโลกไปกว่าปีละ 2.6 ล้านคน จนกระทั่งเริ่มมีการผลิตวัคซีน MMR หรือ หัด คางทูม หัดเยอรมัน ขึ้นมาในปี 1971 โดยใช้ไวรัสมีชีวิตจากไวรัสที่ทำให้ก่อโรคทั้งสาม ทำให้อ่อนกำลังลง ปัจจุบัน วัคซีน MMR นี้เป็นวัคซีนหลักที่กว่า 100 ประเทศทั่วโลกฉีดให้เด็กกว่า 100 ล้านคนทุกปี ส่งผลทำให้อัตราการเสียชีวิตลดลงเหลือเพียง 122,000 คน ในปี 2012 ซึ่งส่วนมากเกิดขึ้นในประเทศด้อยพัฒนา

    แต่ในปี 1998 งานวิจัยที่นำโดย Andrew Wakefield ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร The Lancet พร้อมทั้งได้ออกแถลงข่าวผลงานวิจัย ที่ได้ศึกษาเด็ก 12 คนที่มีอาการของ autism และได้ตรวจพบอาการใหม่ในเด็ก 8 จาก 12 คน ที่เรียกว่า “autistic enterocolitis” ที่ทีมนักวิจัยอ้างว่าเกิดขึ้นจากการฉีดวัคซีน และมีความเชื่อมโยงระหว่างโรคในระบบทางเดินอาหารที่พบกับการพัฒนาการที่นำไปสู่โรคออทิซึ่ม ในการแถลงข่าวนี้ Wakefield จึงได้เรียกร้องให้มีการหยุดให้ MMR vaccine โดยสิ้นเชิง จนกว่าผลกระทบจะได้รับการศึกษาอย่างถี่ถ้วน และทดแทนด้วยการฉีดวัคซีนแยกชนิดกันแทน

    ซึ่งผลของงานวิจัยนี้แน่นอนว่าสร้างความสะท้านไปทั่วโลก เนื่องจากวัคซีน MMR เป็นวัคซีนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากไปแล้วในปัจจุบัน และการค้นพบความเชื่อมโยงของผลเสียของวัคซีนต่อพัฒนาการของเด็ก ที่นำไปสู่โรคออทิซึ่มนั่น แน่นอนว่าเป็นเรื่องที่ใหญ่มาก จึงได้รับความสนใจเป็นอย่างมากต่อสื่อทั่วโลก

    แต่… ในเวลาที่ตามมา ความไม่ชอบมาพากลหลายๆ อย่างเกี่ยวกับ “งานวิจัย” นี้ ก็ค่อยๆ โผล่ขึ้นมาให้เห็น นักข่าว Brian Deer ได้ไปขุดพบเอกสารที่บ่งชี้ว่า Wakefield ได้มีการยื่นขอสิทธิบัตรในการทำวัคซีนแยกเข็มเดี่ยว ก่อนที่จะมีการทำงานวิจัยที่เรียกร้องให้มีการยกเลิกเข็มรวมไปแยกเป็นเข็มเดี่ยว รวมไปถึงแผนที่จะหากำไรจากการผลิตเครื่องตรวจออทิซึ่มที่อาจทำเงินได้ถึง $43 ล้านต่อปี มีการเปิดเผยให้เห็นว่าก่อนจะเกิดการทดลองนี้ขึ้น ผู้ปกครองของเด็กทั้ง 12 คนนี้กำลังติดต่อกับทนายความเพื่อที่จะดำเนินคดีต่อผู้ผลิตวัคซีน และได้มอบเงิน 55,000 ปอนด์แก่รพ. เพื่อทำงานวิจัยชิ้นนี้ นอกจากนี้ตัว Wakefield เองยังได้รับเงินกว่า 400,000 ปอนด์จากเหล่าทนายที่กำลังเตรียมคดีฟ้องผู้ผลิตวัคซีน MMR ซึ่งในกรณีนี้ในทางวิชาการนั้นจัดว่าเข้าข่าย “มีผลประโยชน์ทับซ้อน” (Conflict of Interest) ที่ Wakefield ไม่ได้แจ้งไว้แต่ในภายแรก

    แม้ว่าจะไม่ถึงกับห้ามทำงานวิจัยเมื่อมีผลประโยชน์ทับซ้อนเสียทีเดียว แต่การไม่แจ้ง Conflict of Interest นั้นนับเป็น Research Misconduct ที่ค่อนข้างร้ายแรง แน่นอนว่าการมีผลประโยชน์ทับซ้อนนั้นส่งผลเป็นอย่างยิ่งต่อความเป็นกลางของผู้ทำการทดลอง ซึ่งหากผู้รีวิวได้รับรู้ถึง Conflict of Interest ล่วงหน้า และเป็นที่แน่ชัดว่าผู้ทำวิจัยนั้นได้รับผลประโยชน์บางอย่างหากผลงานวิจัยจะออกไปในทางใดทางหนึ่ง เจตนารมณ์และความเป็นกลางของผู้วิจัยย่อมจะต้องถูกนำมาตั้งคำถาม และตัวงานวิจัยจะต้องถูกพิจารณาอย่างถี่ถ้วนยิ่งขึ้น เช่นเดียวกัน ในโลกปัจจุบันผู้ผลิตวัคซีนแต่ละชนิดนั้นเป็นผู้ที่จะต้องทำงานวิจัยเพื่อยืนยันผลด้วยตัวเอง ซึ่งฝ่าย reviewer ก็จะคาดหวังมาตรฐานที่สูงกว่าเพื่อแสดงให้เห็นว่าในทุกขั้นตอนการวิจัยนั้นไม่ได้มีการ “ตุกติก” หรือแก้ผลเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ

    สำหรับวารสาร Lancet นั้น ตัว editor-in-chief เองก็ได้ออกมาบอกในภายหลังว่า งานวิจัยของ Wakefield นั้นมีจุดบกพร่องเป็นอย่างมาก และหากเหล่า peer reviewer ได้แจ้งถึง Conflict of Interest อย่างชัดเจนแต่แรกแล้ว น่าจะไม่มีทางที่งานวิจัยนี้จะได้รับการรับรองแต่แรก

    นอกไปจากนี้ Wakefield ได้ทำการเปิดแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชน ตั้งแต่ก่อนที่งานวิจัยจะได้รับการตีพิมพ์อย่างเป็นทางการ ซึ่งในทางการวิจัยแล้วจัดเป็น “Science by press conference” (การทำงานวิจัยผ่านการแถลงข่าว) ซึ่งขัดต่อหลักการงานวิจัยที่ควรจะเป็น นั่นคือนักวิจัยควรจะมีหน้าที่ได้รับการยอมรับและติติงและยืนยันผลจากนักวิจัยด้วยกันก่อนที่จะนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพราะงานวิจัยนั้นควรจะทำไปเพื่อหาความจริง ไม่ใช่เพื่อชื่อเสียง และเมื่อพิจารณาจาก Conflict of Interest ของ Wakefield ที่กล่าวเอาไว้ล่วงหน้าแล้วนั้นก็ยิ่งทำให้อดตั้งคำถามถึงแรงจูงใจที่แท้จริงของผู้วิจัยไม่ได้

    แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือ งานวิจัยที่ผู้อื่นพยายามทำต่อมาในเบื้องหลังนั้น ไม่ได้ค้นพบผลที่ยืนยันการค้นพบเดิมของ Wakefield แต่อย่างใด ในปี 2005 BBC ได้อ้างอิงถึงงานวิจัยหนึ่งที่ได้ทดลองตรวจเลือดเด็กที่มีอาการออทิซึ่ม 100 คน และ 200 คนที่ไม่มีอาการ และพบว่ากว่า 99% นั้นไม่ได้มีเชื้อโรคหัดเท่าๆ กันทั้งสองกลุ่ม Institute of Medicine (IOM), United States National Academy of Sciences, CDC, UK National Health Service ต่างก็ไม่พบความเชื่อมโยงใดๆ ทั้งสิ้นระหว่างโรคออทิซึ่มและ MMR ในประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีการฉีดวัคซีนสามอย่างนี้แยกจากกัน ก็ไม่ได้พบว่ามีอัตราการเกิดออทิซึ่มแตกต่างจากประเทศอื่นที่ใช้ MMR รวมกันแต่อย่างใด นอกไปจากนี้ รีวิวต่างๆ ในวารสารงานวิจัยทางการแพทย์ก็ไม่เคยพบความเชื่อมโยงระหว่างวัคซีนกับออทิซึ่ม หรือแม้กระทั่งโรคระบบทางเดินอาหาร และก็ไม่เคยมีใครค้นพบ “autistic enterocolitis” ที่ Wakefield อ้างอิงถึงในงานวิจัยแต่อย่างใด

    ผลสุดท้าย UK General Medical Council (แพทยสภาของอังกฤษ) ก็ได้เปิดการไต่สวน และได้ตัดสินว่า Andrew Wakefield ได้ทำความผิดร้ายแรง ฐานไม่สุจริต 4 กระทง ใช้ประโยชน์จากเด็กที่มีพัฒนาการต่ำ 12 กระทง ทำการทดลองที่ไม่จำเป็นและไร้ความรับผิดชอบต่อเด็กในการทดลอง การทดลองไม่ได้ผ่านบอร์ดคณะกรรมการจริยธรรม และไม่ยอมเปิดเผยถึงผลประโยชน์ทับซ้อน และ GMC ได้ระบุว่า Wakefield นั้น “ล้มเหลวโดยสิ้นเชิงต่อความรับผิดชอบในหน้าที่ของแพทย์ผู้ให้คำปรึกษา” จึงได้ถอด Andrew Wakefield ออกจากทะเบียนแพทย์ และยึดใบประกอบโรคศิลป์ในประเทศอังกฤษ

    ส่วนตัววารสาร Lancet เองก็ได้ยื่น full retraction ถอดถอนงานวิจัยนี้ออกไป โดยตัว co author 10 จาก 12 คนในงานวิจัยนี้ก็ได้ออกมายื่นขอ retract เช่นเดียวกัน โดยกล่าวว่าแม้การค้นพบจะตั้งคำถามที่น่าสนใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของวัคซีน แต่ตัวงานวิจัยนั้นไม่สามารถยืนยันถึงความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทั้งสองได้แต่อย่างใด

    แต่แม้ว่างานวิจัยจะถูกถอดถอน ผู้ทำวิจัยจะถูกปลดจากวิชาชีพไปแล้ว แต่ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากงานวิจัยลวงโลกนี้ก็ได้เกิดขึ้นไปแล้ว มีการประเมินว่างานวิจัยที่ตีพิมพ์โดย Lancet นี้ อาจจะเป็น “ข่าวลวงโลกที่ร้ายแรงที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20” เพราะนับแต่นั้นมา ทั้งในอังกฤษและไอร์แลนด์ต่างก็พบว่ามีผู้ปกครองที่ปฏิเสธวัคซีนเพิ่มมากขึ้น จนโรคหัดและคางทูมเริ่มกลับมาระบาดอีกครั้งหนึ่งในหมู่ผู้ที่ปฏิเสธวัคซีน และกระแส Anti-vaccine หรือที่เราเรียกกันว่า “Antivaxxers” ก็เริ่มจุดติดนับแต่นั้นเป็นต้นมา และหนึ่งในข้อกล่าวอ้างของผู้ที่ปฏิเสธวัคซีนที่แพร่หลายมากที่สุดก็คือ “วัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม” ซึ่งก็เริ่มต้นมาจากงานวิจัยลวงโลกของ Andrew Wakefield นี้นั่นเอง จนในทุกวันนี้ ชาวอเมริกันจำนวนมากที่สามารถเข้าถึงวัคซีน mRNA ใหม่ที่ป้องกันโควิด-19 กลับปฏิเสธที่จะรับวัคซีนฟรีจากความกลัววัคซีน ที่ Andrew Wakefield เป็นผู้ก่อ

    ส่วนเจ้าตัวก่อเรื่องเองนั้น… แน่นอนว่าเขาก็ยังคงปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา โดยยังยืนยันผลเดิมว่าวัคซีนทำให้เกิดโรคออทิซึ่ม และเขาเองนั้นไม่ได้มีผลประโยชน์ทับซ้อนใดๆ ทั้งสิ้น แต่เขาต้องเป็นจำเลยของสังคม เขามีปากเสียงกับ Brian Deer นักข่าวผู้เปิดโปงและแฉเขาอยู่บ่อยๆ ซึ่ง Deer ก็ได้ออกมาตอบโต้ว่า “ถ้าคิดว่าไม่จริงก็ฟ้องมาสิ มาพิสูจน์กันเลย แล้วถ้าผมโกหกคุณก็จะกลายเป็นคนที่รวยที่สุดในอเมริกา” ซึ่งที่ผ่านมา Wakefield ก็ได้ถอนการฟ้องร้องคดีหมิ่นประมาทไปทุกกรณี และ Brian Deer ก็ได้รับรางวัลเป็น UK's specialist journalist of the year ใน the British Press Awards จากกรณีเปิดโปง Wakefield นี้

    ปัจจุบัน Andrew Wakefield ได้ย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นจากเหล่าสาวก Antivaxxer อยู่จนถึงทุกวันนี้ เป็นหนึ่งในแกนนำที่คอยเรียกร้องต่อต้านกม. ที่จะบังคับให้คนฉีดวัคซีนอยู่เสมอ รวมไปถึงเป็นผู้กำกับภาพยนต์สารคดีลวงโลกเรื่อง Vaxxed: From Cover-Up to Catastrophe และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ที่ได้รับจากความโด่งดังอันเกิดจากงานวิจัยลวงโลกเช่นนี้อยู่ต่อไป

    หมายเหตุ: ปัจจุบันไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ใดๆ ทั้งสิ้น ที่สามารถเชื่อมโยงการเกิดโรคออทิซึ่ม กับการฉีดวัคซีน

    อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
    [1] https://en.wikipedia.org/wiki/MMR_vaccine
    [2] https://en.wikipedia.org/wiki/Lancet_MMR_autism_fraud
    [3] https://en.wikipedia.org/wiki/Andrew_Wakefield

  • enterocolitis 在 Singapore Blogger - Missy琪琪 Facebook 的最讚貼文

    2020-12-15 16:33:21
    有 1 人按讚

    👶 Giveaway 👶 World’s 1st Probiotics Formula
    with Lactoferrin & DHA

    That will be @famibiotics

    We always say, give your child a good head start in life. This is not limited to education or even finances, it includes their health too.

    With good colonisation of Bifidobacteria (good bacteria) early in life, the child can avoid many adverse health-related conditions such as asthma, necrotizing enterocolitis (NEC), eczema, inflammatory bowel disease during neonatal stage or later in life.

    FAMBIOTICS includes premium ingredients (Human Residential Bacteria, Lactoferrin & DHA), which supports the child's gut immunity, skin health and brain development.

    And FAMIMOM provides comprehensive needs during pregnancy and baby's growing stage.

    Together with @famibiotics , we are giving 2 lucky 2 Mummies with toddlers aged 1 – 3 years old a set of FAMITOTS.

    To win
    1. Like this post, follow @famibiotics and me
    2. Tag your friends who have toddlers aged 1 - 3 years old.
    3. Share to IG stories for bonus chances.

  • enterocolitis 在 Dr 文科生 Facebook 的精選貼文

    2020-06-11 08:41:58
    有 4,213 人按讚

    【To save or not to save?】

    今天想分享三個早產小Baby的故事

    三個小Baby都是23周大的小Baby,媽媽提早穿羊水並作動,子宮收縮,為不能避免的早產。

    【Baby A】

    小Baby A的媽媽是一位二十歲的年輕單身女士,平時熱愛煙酒和毒品,意外懷孕後找不到小Baby 的爸爸,沒有做過任何產前檢查。在23周3天時媽媽A的羊水突然穿了並作動,緊急送院後,媽媽A要求醫生盡所有辦法去拯救小Baby A。

    打了一針的強肺針,小Baby便出生了,但由於還沒到24周,小Baby的器官未能成熟,被送到新生兒深切治療部治療。小Baby一直接駁著呼吸機協助呼吸,總共44天才能拔喉,但仍然需依賴氧氣治療。同時亦患上了Necrotizing enterocolitis(壞死性小腸結腸炎)需腹部開刀把壞死的腸子切除;delayed onset敗血症需抗生素和強心針急救;Grade 3 bilateral的早產兒視網膜病變(Retinopathy of prematurity),即使做了激光治療,視力仍然virtually blind。

    小Baby堅強地活了5個月,最後因嚴重敗血症和多重器官衰竭死亡,5個月來沒有離開過醫院,而由於媽媽產後因依賴毒品和酒精而沒有照顧小Baby,小Baby出生後一直由社會福利處照顧。

    【Baby B】

    小Baby B的媽媽是一位三十多歲的女士,不煙不酒,這一胎雖不是計劃的懷孕,但既然懷了小Baby B倒想好好當媽媽。但在23周4天時便穿羊水和作動,緊急送去醫院後,醫生跟媽媽說小少過24周的Baby成功活下去的機會非常低,而且就算活下去大概也會有種種的後遺症?器官和大腦的發展可能受影響、小Baby B也未必會有好的生活質素。醫生問媽媽希望打強肺針和生產後送去新生兒深切治療部搶救小Baby嗎?

    媽媽B最後要求醫生盡所有辦法去拯救小Baby B。打完一針強肺針後小Baby B出生,醫生幫忙插喉協助呼吸,再落藥Surfactant讓小Baby的肺部趕快成熟。不過,24小時後小Baby血壓過低需依靠強心針。在36小時後,小Baby出現大規模的Grade 3腦內出血(Intraventricular hemorrhages)和肺部出血(Pulmonary Hemorrhage),活了40小時後搶救無效便離開了這個世界。

    【Baby C】

    Baby C的媽媽是一位三十多歲的女士,在23周4天時因為子宮頸incompetence而早產,媽媽跟醫生說要盡所有辦法去拯救小Baby。

    打了強肺針後,小Baby便出生,需插喉協助呼吸,插喉12天後換正壓呼吸機,足足用了12個星期,不單有Bronchopulmonary dysplasia,更有Late onset敗血症需抗生素和插喉協助呼吸;Grade 2 腦內出血(Intraventricular Hemorrhage)26天後resolve ;在醫院總共住了122天,成功靠Low flow Oxygen出院。

    3年後小Baby發展正常,只有輕微的肌肉Spasticity問題,正常行為認知和智力發展,雖經常受到感染需住院治療,但除此之外尚算健康成長,過著有品質的生活。

    【三個23周半的Baby,三個不一樣的結局】

    從前少於24周出生的嬰兒基本上是不可能活下去的,但隨著醫學的發展,新生兒深切治療偶然能夠把小Baby從死亡關帶回來。不過,這只是個別的情況,大部分情況下嬰兒要不像Baby A和B一樣,經歷大量的入侵性治療到最後還是闖不過鬼門關,要不便是即使活下去卻有著種種的後遺症和差劣的生活素質。

    我們常常都會說「活著就有希望」,聽著Baby C的故事,大家總會希望自己成為Baby C,看著才手掌大的早產嬰兒,任誰也不能輕易說放棄。然而,到底誰應該作這個「To try or not to try」的決定? 醫生?還是媽媽?

    醫學院教我們,醫生的職責不單止是媽媽,腹中Baby的welfare我們也要考慮。如果媽媽希望做的醫療程序是對小Baby有害或無益的時候,醫生並沒有道德責任去應付。小Baby的welfare跟媽媽的意願,到底應如何Balance?

    同時,新生兒深切治療的成本非常高昂,一天的成本大概為15000港紙,普通病房為4000港紙,如果像Baby C一樣住院總共122天的話,大概差不多要100萬港紙。這100萬港紙的醫療資源如果用在其他疾病身上可以拯救更多的生命,在社會資源分配的公義上,集中大量資源在一個小生命上又是否公義呢?

    然而,如果我們要為生命的價值draw a line的話,那條線到底要放哪裡?是不是昂貴的治療就不做?那麼癌症病人的最新療法都是以萬作單位的時候,是不是我們也應該放棄他們,讓社會資源用在更有效率的治療身上?

    當生命在我們身邊的時候,所謂的公義的社會資源分配並不存在。如果我跟你說你兒子的血癌治療費用可以拯救5個其他疾病的小孩,叫你停藥,你會覺得我發神經。但如果今天角色掉換了,你是那五個小孩的媽媽,又會有何想法?

    三個23周半的Baby,三個不一樣的結局。選擇沒有絕對的對與錯,子非魚,你不可能知道小Baby想你幫他活下去還是讓他好好離開這個世界,but we got to live with our choices

    Medical ethics是很有趣的topic,愈思考得多愈會發現原來life is not as pretty as it seems

    To try or not to try? Where do we draw the line?

    Ref: 網絡圖片

    ***到底應否搶救24周前的初生嬰兒是非常複雜的臨床決定,需由媽媽和醫生溝通商討再作決定,如有疑問請諮詢醫生。

  • enterocolitis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:19:08

  • enterocolitis 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:10:45

  • enterocolitis 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:09:56