[爆卦]Eclecticism是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Eclecticism鄉民發文沒有被收入到精華區:在Eclecticism這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 eclecticism產品中有10篇Facebook貼文,粉絲數超過741萬的網紅Culture Trip,也在其Facebook貼文中提到, This stylish, design-forward boutique hotel embodies a mix of mid-century modern with Parisian eclecticism. It's set in a delightful historic building...

 同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過1,260的網紅Rebecca Inkka Ten,也在其Youtube影片中提到,And here goes my first video collaboration with Jojobean, @jyjosephine! We've been meaning to work on a lookbook together and I am so glad we finally ...

eclecticism 在 港都文史百景Culture&History of Takao Instagram 的最讚貼文

2021-09-16 10:41:26

📍美濃警察分駐所 (2) 美濃警察分駐所最早設立於明治35年(西元1902年),舊時美濃仍被稱為「瀰濃」,其位在美濃聚落自清代開始的發展中心-「永安路」中段,可說是整個美濃聚落的核心位置。 昭和8年(西元1933年),美濃警察分駐所新建了現今的廳舍,為一棟和洋折衷風格的磚木構造建築,並在格局上採...

eclecticism 在 港都文史百景Culture&History of Takao Instagram 的最佳解答

2021-09-16 10:41:26

📍美濃警察分駐所 (1) 美濃警察分駐所最早設立於明治35年(西元1902年),舊時美濃仍被稱為「瀰濃」,其位在美濃聚落自清代開始的發展中心-「永安路」中段,可說是整個美濃聚落的核心位置。 昭和8年(西元1933年),美濃警察分駐所新建了現今的廳舍,為一棟和洋折衷風格的磚木構造建築,並在格局上採...

  • eclecticism 在 Culture Trip Facebook 的最佳貼文

    2021-09-16 20:05:53
    有 23 人按讚

    This stylish, design-forward boutique hotel embodies a mix of mid-century modern with Parisian eclecticism. It's set in a delightful historic building that was once home to the Westwood Village's first ever hotel from 1939. If you're looking for a local activity you'll find wonderful contemporary art at the Hammer Museum 👩‍🎨

  • eclecticism 在 Facebook 的最佳解答

    2021-04-11 18:43:36
    有 1,269 人按讚

    2021年4月11日清晨,開車行經百年古蹟總統府,等紅燈時見此美景,遂拍照記錄之。(張哲生 攝)

    1895年,在甲午戰爭中戰敗的大清帝國將台灣與澎湖割讓給日本,當時日本把臨時的台灣總督府設在清代的福建台灣承宣布政使司衙門及欽差行台內,一直到第五任台灣總督佐久間左馬太就任之後,才有興建永久性廳舍的計劃。經過審慎規劃後,台灣總督府於1907年懸賞5萬元日幣公開徵圖,並限定日本本土的建築家才有資格參與競圖。

    徵圖初選階段,主辦單位從多位參加競圖的日本建築師當中選出一至七名,分別為:鈴木吉兵衛、長野宇平治、片岡安、森山松之助、松井清足、櫻井小太郎及福井房一,每位均獲得獎金1,000日圓。

    當時的評審團包含辰野金吾、中村達太郎、塚本靖、伊東忠太、妻木賴黃等知名建築技師,原本屬意採用初選首獎得主鈴木吉兵衛的作品,不過後來評審團發現首獎作品中的尖塔、陡屋頂,與具兩層老虎窗的紅磚建築樣式,有抄襲海牙國際法庭之嫌,因此於1909年公布的中選名單則變成了獲得第二名的長野宇平治作品,而其樣式與當年正在建造中的東京車站相當接近。

    不過,在最後定稿階段,將長野宇平治的設計圖修改成如今總統府模樣的真正設計者,其實是在初選獲得第四名的森山松之助,他將設計圖做了局部修改之後,興建工程才正式動工。

    台灣總督府建築於1912年6月1日開工,1915年6月時,建築主體大致完成並舉行上棟典禮,最後在1919年(大正8年)3月竣工,總工程費達281萬日圓。此後,這座在完工時為全台灣最高的建築物,從啟用至今一直是象徵統治台灣者權力中心的地標。

    二戰期間,這棟建築物成為美軍轟炸台灣的主要目標物之一,雖然日本軍方將總督府百般偽裝及防範,最後還是在1945年戰爭末期(1945年5月31日)的台北大空襲,遭到美軍轟炸命中,並導致南側半邊嚴重毀損。

    二戰結束後,中華民國政府接收台灣,1946年時為慶祝中華民國總統蔣中正的60大壽,便將此建築更名為介壽館,而館前的道路則命名為介壽路(今凱達格蘭大道),並開始著手整修,直至1948年底才恢復舊貌。

    台灣省政府於1947年成立後,此建築在台北市的都市計畫圖被標示為「省府大廈」,但省政府的實際辦公廳舍為日治時期的台北市役所(即今行政院大廈)。

    隨著中華民國政府於1949年遷往台北市,當年12月9日行政院會議決議:總統府及行政院設址於介壽館辦公。

    1950年,介壽館正式成為中華民國總統府。

    1996年3月21日,陳水扁擔任市長的台北市政府將總統府前的介壽路更名為凱達格蘭大道,路旁的廣場則同時更名為凱達格蘭廣場,以示對台灣原住民歷史及文化的尊重。

    2006年3月25日,總統府大門上的「介壽館」門額被更換為「總統府」。

    這座建築物雖然曾經過整修,但其外觀仍維持著後文藝復興式的莊嚴和簡潔。建物最高處有五層樓,主體平面呈現臥「日」字型,正面寬約140公尺,側面寬約85公尺,中央塔高60公尺,總佔地為2100坪;建物的中央塔、角塔、衛塔等大片立面的1:2:3:2:1之節奏和粗面砌築基座與柱式主出入口,混合成震撼的視覺效果。整棟建築佈滿了廊柱、山牆、拱廊及圓拱窗,堪稱日治時期台灣的代表性建築。

    淡江大學建築系教授陸金雄建築師對這座建築物的設計風格,下了極為清楚的註腳:「從歷史背景及建築物的立面進行分析,可以辨別出當初設計者匯集了眾多建築元素;矯飾主義的誇張、巴洛克的動感、欺眼畫的手法、哥德復興的垂直崇高精神、古典主義的和諧,但設計者仍以統一的元素──無法歸類於古典柱式的雙柱並列形態──統合整體立面的構成,也可以看出設計者意圖以不同的語彙,表達個人的詮釋──以有限形體的構成,嘗試超越形體的束縛,傳達垂直崇高精神的無限,是典型的折衷主義(Eclecticism)樣式。」

  • eclecticism 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文

    2020-11-23 08:42:42
    有 18 人按讚

    “โพสต์โมเดริ์นนิสซึม”

    โดยนัฐวุฒิ สิงห์กุล

    ความหมายของแนวความคิดหลังทันสมัยหรือหลังสมัยใหม่

    ความคิดแบบหลังสมัยใหม่หรือPostmodernism เป็นการเปิดมุมมองที่หลากหลายด้านและหลายมิติ ซึ่งมองความแผ่ซ่านของอำนาจ ความรู้ ภาษาและวาทกรรมที่มีอิทธิพลเหนือชีวิตของผู้คนในยุคปัจจุบัน โดยความคิดแบบหลังสมัยใหม่ถูกมองออกเป็น 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรกมองว่า ยุคโมเดิร์นผ่านพ้นไปแล้วหรือกำลังจะผ่านไปและยุคโพสต์โมเดิร์นกำลังจะเข้ามาแทนที่ ลักษณะทีสอง มองว่า ยุคโมเดิร์นยังคงอยู่แต่โพสต์โมเดิร์นออกมาท้าทายความความคิดความเชื่อแบบโมเดิร์น โดยให้ความสำคัญกับประสบการณ์ เน้นถึงความสำคัญของชีวิตประจำวันซึ่งสอดคล้องกับปรากฏการณ์ทางสังคม โดยแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์นได้ท้าทายประเด็นทางวิชาการในเรื่องต่างๆดังนี้

    1.การเคลื่อนตัวของการมองและการศึกษาในประเด็นทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบโพสต์โมเดิร์น จากสังคมที่มีศูนย์กลางอยู่ที่การผลิตมาสู่สังคมบริโภคนิยมที่ตลาดก้าวมาเป็นจุดศูนย์กลางทางวัฒนธรรมแทนที่สิทธิอำนาจทางการเมือง
    การบริโภคสัญญะแบบโพสต์โมเดิร์น ไม่ใช่เพียงการบริโภคเพื่อประโยชน์ใช้สอย(Use value)แต่เป็นการบริโภคเพื่อสื่อความหมายถึงบางอย่าง(Sign value) เช่น สถานะของเรา ตัวตนของเรา รสนิยมของเรา ภาพพจน์ของเรา เป็นต้น ดังเช่น ความคิดของ Jean Baudrillard มองว่าก่อนตัวสินค้าจะถูกบริโภคจะต้องถูกเปลี่ยนเป็นสัญญะก่อน โดยมีรหัส (Code)ต่างๆในการแปลงสินค้าให้เป็นสัญญะ(Sign) เช่น การมีลำดับชั้น การทำให้สินค้าเป็นเกรด A B C เพื่อทำให้สินค้าทำหน้าที่เป็นสื่อทางวัฒนธรรมและได้แสดงให้เห็นสถานภาพเกียรติยศของผู้ใช้ สิ่งเหล่านี้คือการสร้างตรรกะของความแตกต่าง( Logic of Difference) มากกว่าตรรกะเชิงอรรถประโยชน์( Logic of utility )

    2.การท้าทายปฏิเสธเรื่องเล่าแบบ Master/Grand narrative หรือคำอธิบายที่ทรงอำนาจ เป็นหัวใจของความรู้ แต่โพสต์โมเดิร์นไม่ยอมให้เรื่องเล่าใดกลายเป็นแม่แบบหรือเป็นหลักครอบงำ การครอบงำอุดมการณ์ไม่ใช่เกิดจากรัฐเท่านั้น รวมถึงแวดวงวิชาการ วิชาชีพ หรือแม้แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนด้วยกันเองด้วย

    3.ศิลปะแบบโพสต์โมเดิร์น ปฏิเสธศิลปะแบบโมเดิร์นที่มองว่า ศิลปินคือผู้ที่สร้างความแปลกใหม่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และลักษณะเฉพาะตัว ศิลปะคืองานสูงส่ง แต่จริงๆแล้วศิลปะแขนงต่างๆไม่สามารถแยกออกจากการค้าได้

    4.วรรณกรรมแบบโพสต์โมเดิร์นยุคโมเดิร์นให้อำนาจกับผู้อ่าน นักเขียน แต่โพสต์ฯมองว่า ตัวบทและงานเขียนมีชีวิตในตัวมันเองเป็นอิสระไม่ขึ้นอยู่กับเจตนารมณ์ของนักเขียนอีกต่อไป ตัวบทจึงเป็นสิ่งที่เปิดกว้างสำหรับการตีความและมีหลายความหมาย

    5.ประวัติศาสตร์แบบโพสต์โมเดิร์น โมเดิร์นเน้นการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างเป็นวัตถุวิสัย โพสต์ฯต้องเปลี่ยนมาสู่การให้ความสนใจกับพื้นที่และเวลามากขึ้น สนใจประวัติศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ที่เป็นตัวสะท้อนหรือบอกเล่าเรื่องราวของมนุษย์

    โดยสรุปในทางวิชาการ คำว่า Post-Modern สามารถใช้ประกอบกับสิ่งต่างๆหรือถูกใช้ในลักษณะต่างๆกัน สามารถเป็นทั้งคำคุณศัพท์ ประกอบคำนาม คำขยายคำนามที่แตกต่างกัน ก็จะมีนัยที่แตกต่างกัน ใช้ทั้งในวงวิชาการ สังคม เศรษฐศาสตร์และ ศิลปะ เป็นต้น
    วิชาการในแนวโพสต์โมเดิร์น คือวิชาการที่มีปฏิบัติสัมพันธ์ในเชิงวิพากษ์ (Critical Interaction) กับวิชาการแนวสมัยใหม่ ซึ่งปฏิสัมพันธ์มีความสำคัญมาก วิชาการแบบPost-Modern ไม่ได้เกิดขึ้นลอยๆในตัวของมันเองแต่มันเกิดจากการวิพากษ์กับวิชาการอื่นๆโดยแนวคิดแบบโพสต์โมเดิร์นจะยืนอยู่โดยปราศจากโมเดิร์นไม่ได้ ถ้าหลุดจากปฏิสัมพันธ์กับตัวนี้ ก็จะหมดความหมายหรือความสำคัญลงไป

    สังคมหลังสมัยใหม่คือสังคมที่เกิดจากความแปรปรวนของสภาวะคุณค่า ความหมาย ที่ถูกสถาปนาในสังคมสมัยใหม่ เช่น เรื่องเสรีภาพ จิตสำนึก ความสงบสุข ซึ่งคุณค่าเหล่านี้เคยได้รับการหล่อเลี้ยงจากสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรมแบบโมเดิร์น เมื่อพัฒนามาถึงระบบหนึ่ง (Late-Capitalism) ทุนนิยมขั้นล่าสุด ขั้นปลาย สังคมโมเดิร์นก็จะกลืนกินสิ่งเหล่านี้ โดยใช้เป็นแค่เพียงคำพูดใหม่ๆกลวงๆที่ไม่มีคุณค่า ความหมาย เกิดความเฟ้อ เรื่องเสรีภาพ ประโยชน์สุข ค่านิยม ที่มองความสดสวยงดงาม ความฟุ้งเฟ้อที่มากมายจะระเบิดออกมาโดยไม่ใช่การระเบิดจากภายนอก แต่เป็นสิ่งที่นักวิชาการโดยเฉพาะสิ่งที่ Jeans Baudrillard เรียกว่า การระเบิดเข้าสู่ภายใน (Implosion)

    ในสภาวะปัจจุบันคำว่าโพสต์โมเดิร์นถูกใช้ในความหมายเกี่ยวกับสังคมแบบโพสต์โมเดิร์น (Post modern society) กับวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น( Post modern Scholarship) ที่มีความหมายแตกต่างกันหลายนัยยะ
    สังคมแบบโพสต์โมเดิร์น วิพากษ์และตั้งคำถามต่อสังคมแบบโมเดิร์น ที่เมื่อพูดถึงสังคมสมัยใหม่ เรามักจะพูดถึงนัยของสภาวะสังคมนั้นในทางลบ เช่น การทำสงครามล้างเผ่าพันธุ์ การใช้และทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษ ที่นำไปสู่ความทุกข์ทรมานของมนุษย์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และมีนัยทางเหยียดหยาม มันเป็นสภาวการณ์แบบPost-Modern ที่แปรปรวนและสับสนในความเป็นมนุษย์และตัวตนของมนุษย์ที่พร่าเลือนและเป็นตัวตนที่ถูกประกอบสร้างอย่างบิดเบี้ยว ผิดส่วน หลากหลาย เป็นลักษณะแบบหัวมังกุดท้าย

    มังกร(ECLECTICISM) ที่ผสมปนเปกันไปจนแทบจะหารากเหง้าหรือจุดกำเนิดไม่พบ ดังเช่นวิถีชีวิตของผู้คนไทยในปัจจุบัน อาจจะบริโภคแมคโดนัลด์ ดูรายการเอ็มทีวี ดูละครจักรๆวงศ์ๆ ดูซีรี่เกาหลี ทำให้ตัวตนของความเป็นไทยถูกทำให้พร่าเลือนด้วยวัฒนธรรมแบบเกาหลี อเมริกัน เป็นต้น ดังนั้นความจริงของมนุษย์หรือความเป็นมนุษย์จึงเป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้างอยู่ตลอดเวลา

    ในขณะเดียวกันวิชาการแนวโพสต์โมเดิร์น มีความลุ่มลึกซับซ้อน หลากหลายมิติ มีชั้นเชิงในการมองวิถีชีวิตของผู้คนและปรากฏการณ์ของสังคม รวมทั้งไม่ยึดติดกับวิชาการแนวโมเดิร์นหรือสมัยใหม่

    วิชาการแนวหลังสมัยใหม่มันมาตรวจจับวิชาการแนวโมเดิร์น ซึ่งไม่มีเครื่องมือที่เพียงพอกับกับการเท่าทันกับปรากฏการณ์ของสิ่งเหล่านี้ เครื่องมือแบบโมเดิร์นอธิบายการบริโภคนิยมแบบยุคปัจจุบัน แบบโพสต์โมเดิร์นไม่ได้เพราะเครื่องมือของโมเดิร์น ก็เป็นเรื่องที่เน้นอรรถประโยชน์สูงสุด จึงไม่สามารถอธิบายกระบวนการกลายพันธุ์จากสภาวะสมัยใหม่ไปสู่ภาวะหลังสมัยใหม่ได้ วิธีการแนวโพสต์โมเดิร์นสามารถเอาไปใช้ในการศึกษาสังคมโมเดิร์นเองก็ได้ก่อนโมเดิร์น(Pre-Modern) ก็ได้ หรือศึกษาสังคมแบบอื่นๆ ที่ว่าก็ทำให้เกิดประเด็นที่แหลมคมหลากหลายมิติ

    ดังนั้นอาจสรุปได้ว่าโพสต์โมเดิร์นมี 2 ความหมาย คือ ความหมายทางสังคม กับความหมายทางวิชาการ อีกแนวหนึ่งที่แยกออกมาคือ โพสต์โมเดิร์นในงานศิลปะและสถาปัตยกรรม ที่เรียกว่าศิลปะแนวหลังสมัยใหม่ ซึ่งเป็นศิลปะในขนบที่สนใจและจงใจจะหักล้างคติความเชื่อทางศิลปะแบบโมเดิร์น ที่จะลบล้างคติแบบที่พยายามแบ่งแนวและสกุลของงานศิลปะชัดเจน เป็นแนว Romantic ,Realistic ,High-Modern, classic ,abstract ประติมากรรมสามมติ เป็นต้น

    ศิลปะโพสต์โมเดิร์น พยายามลบล้างพรมแดน ชนิดของศิลปะ ประเภทของศิลปะ มีการนำมาใช้ปะปนกัน ลบล้างพรมแดนของวัสดุ ลบล้างพรมแดนของศิลปะชั้นสูง ศิลปะแบบชาวบ้าน ศิลปะปัญญาชน (High-Art ,Low-Art)และความเป็นศิลปิน ไม่ใช่ศิลปิน ศิลปะ ไม่ใช่ศิลปะ

    โดยความเป็นศิลปิน ในความหมายแบบโมเดิร์น ถูกจำกัดและขุมขังนิยาม ความหมายภายใต้ว่าคือผู้มีญาณ มีวิสัยทัศน์ ของการเล็งเห็น และการถ่ายทอดที่สูงส่งกว่าคนอื่นๆ ในขณะที่กระแสแนวความคิดแบบโพสต์โมเดิร์น มองว่า ศิลปินแบบนั้นไม่มี อย่างมากก็เป็นเพียงช่างฝีมืออย่างหนึ่ง ไม่ใช่อัจฉริยะ (Genious) ศิลปะชั้นสูงกับศิลปะชาวบ้านก็เลยละลายปะปนกันไปหมดไม่มีใครเหนือกว่า หรือมีอำนาจชี้ขาดคนอื่นๆรวมทั้งการทลาย ลบเลือนพรมแดนหรือเส้นแบ่งระหว่างความเป็นศิลปะ(Art)กับสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะ(Non-Art) ตีวอย่างเช่น การเอาผืนผ้าว่างเปล่ามาแสดง เอาแก้วน้ำมาวางบนบอร์ด เอาอาหารกระป๋องสำเร็จรูปมาจัดเรียงเป็นชั้น นั่นคือ วิธีการทำสิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะเอาขยะ เอาวัสดุในกระบวนการผลิตซ้ำของระบบทุนนิยมให้เป็นงานศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดจากกระบวนการทางความรู้และอำนาจ ที่เรียกว่า วาทกรรมที่ว่าด้วยศิลปะ ตัวอย่างเช่น ถ้าข้างหน้าติดป้ายว่าเป็นแกลอรี่ ( Gallery ) ข้างในก็ต้องเป็นเป็นงานศิลปะ (Arbitraness) ตามอำเภอใจ ดังนั้นสิ่งที่รายรอบชิ้นงานคือวาทกรรม ที่ทำให้สิ่งที่ไม่ใช่ศิลปะกลายเป็นศิลปะ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในวงการที่เป็นศิลปะหลังสมัยใหม่ สิ่งที่ทำทั้งหลายทั้งปวงเป็นสิ่งที่เรียกว่า ECLECTICISM คือ การเอาสิ่งต่างๆมาปะปนกันผสมปนเปกันเพื่อจงใจท้าทายคติคิดแบบโมเดิร์น

你可能也想看看

搜尋相關網站