[爆卦]Bolshevik是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Bolshevik鄉民發文沒有被收入到精華區:在Bolshevik這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 bolshevik產品中有3篇Facebook貼文,粉絲數超過5萬的網紅無神論者的巴別塔,也在其Facebook貼文中提到, //本Page Patreon經已開通,請訂閱支持本Page運作,謝謝! 連結: https://bit.ly/2TvzIaF // //我對於熱狗當然有自己睇法,不過呢啲Juicy嘢就留番Patreon先講,haha!// 我諗幾乎所有會睇呢篇文嘅人都知咩係熱狗,但就未必個個知道咩叫AB團,所...

 同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過8萬的網紅Mẹ Nấm,也在其Youtube影片中提到,Năm 2017 nhân dịp kỷ niệm 100 năm cuộc cách mạng đẫm máu Bolshevik ở Nga, tổng thống Donald Trump tuyên bố chọn ngày 7 tháng 11 hàng năm là ngày Hoa K...

bolshevik 在 鍾翔宇 Xiangyu ☭ Instagram 的精選貼文

2020-06-17 05:37:46

Finally got my hands on a copy of Black Bolshevik...

  • bolshevik 在 無神論者的巴別塔 Facebook 的最讚貼文

    2020-05-12 03:53:32
    有 187 人按讚

    //本Page Patreon經已開通,請訂閱支持本Page運作,謝謝! 連結: https://bit.ly/2TvzIaF //

    //我對於熱狗當然有自己睇法,不過呢啲Juicy嘢就留番Patreon先講,haha!//

    我諗幾乎所有會睇呢篇文嘅人都知咩係熱狗,但就未必個個知道咩叫AB團,所以先容許我講一個有啲冗長嘅歷史故事。話說響1930年,當時二萬五千里長征仲未發生。毛澤東響江西蘇區作為領導人,仲有好多地方共黨組織睇唔起佢、拒絕服從命令,於是就響「二七會議」上面,突然發動咗「打AB團」呢場清算運動。

    咁究竟咩叫AB團呢?佢全寫係反布爾什維克黨(Anti-Bolshevik),其實係1927年當國民黨仲控制緊江西省時,為咗清除潛伏共產黨所成立嘅組織。問題係AB團只僅僅成立三個月就因為被共產黨反擊而潰散,而日後國民黨亦從來將佢重組過。

    但係毛澤東響「二七會議」上面堅決表示,AB團唔單止仍然存在,仲經已滲透至黨嘅各級各層,所以要立刻進行「打AB團」運動,並且立刻將佢兩大政敵江漢波同李文林從領導位置打落黎。毛澤東並無因此而滿足,佢聲稱「AB團非常陰險狡猾,決不肯招認自己身份,所以要反覆使用嚴刑迫供,直至承認為止,然後立刻槍決」。

    本來江西共黨各個地方組織,經已迅速逮捕咗1000個懷疑AB團成員出黎,但毛澤東認為無可能咁少,要各地方幹部繼續交新嘅名單上黎。地方領導無奈之下愈拉愈多,甚至用到「燒陰戶、割乳頭」方式迫嫌疑者迅速承認自己AB團身份,然後即判死刑。

    結果響「打AB團」果一年入面,一支4萬人嘅軍隊可以有1萬人被指為AB團成員,所有反對毛澤東嘅將領都係AB團間諜;所有反毛澤東嘅會議都係AB團召開嘅會議……呢種清算一直到毛澤東完全掌握江西蘇區指揮權先至正式平息。

    因為「打AB團」死咁多人,但事實上根本無可能有咁多AB團存在,甚至去到1930年仲有無AB團都成疑問;有趣嘅係,當毛澤東奪權成功,AB團就突然間完全消失了。而「打AB團」日後就變成咗內部鬥爭清算嘅模式,只不過改咗名成為「反右」、「三反五反」、「反革命」而已。

    ================

    然後我地跳去現代,講下熱狗。直到呢一刻熱血公民仍然存在,但同佢地巔峰時期相比,經已萎縮得好犀利。萎縮嘅原因除咗同黃毓民決裂,失去咗後者嘅影響力之外,同佢地果種好古怪嘅政治路線亦有關係。

    由於呢篇文個主題唔係剖析熱血公民本身,所以就唔詳細分析,但只可以講佢地而家比較似嘅係一種Cult教團式組織,成員同支持者都非常團結,但同時排他性亦非常強,唔容許其他人對佢組織有半分批評,呢樣嘢我係感受至深,因為通常我只係輕輕咁批評熱狗少少嘢,好快果班熱狗就會好似烏蠅咁摟上黎,而我通常都明白同教徒講道理係多餘嘅,所以多數都係唔會理。

    基本上熱狗係將所有中立人士視之為敵人看待,所以好難壯大成一個主流政黨,就連鄭松泰自己都甘於自稱為「1:69」,唔客氣講句,響共產黨眼中熱狗就係「不足為患」。

    奇怪嘅係,同熱血公民實際嘅影響力相反,你響網絡上、政壇人士嘅批評上,「熱狗」卻係最常見嘅詞彙。熱狗響飯民黃屍眼中,好似係一種神通廣大、無處不在嘅敵人,甚至直情會影響到香港民主嘅發展前途──即係如果你真係相信現實世界真係有咁多熱狗,區議會佢地應該至少選倒100席,今屆立法會至少每區兩席先至合乎番比例。

    點解飯民及其支持者所吹捧嘅熱狗威脅,同現實世界熱狗嘅真正影響力可以相差咁遠,簡直好似係兩個平行世界發生嘅事呢?結論只有一個。就係飯民大台刻意將所有對飯民不滿嘅人,全部歸納成熱狗。

    又問,點解要將所有反對飯民嘅人都歸類成熱狗呢?原因有三:

    1. 而家對於飯民嘅批評,好多都係有其道理的,對有道理嘅批評嘅方法就只有兩個:一係老實承認批評進行改正,一係將批評抹黑成敵對勢力進行分化──飯民既然唔願意面對批評,自然毫不猶疑選擇抹黑。

    2. 又由於好多對於飯民嘅批評,都係要求佢進行分權、改革、整肅無能領導,呢啲攻擊同共產黨嘅攻擊係完全唔同,例如你無可能話「批評飯民議員支持水炮車撥款係共產黨嘅奸計,大家千祈唔好信」;你一定要塑造一個內部敵人出黎,呢種抹黑先可以合理化:即係如果你話「批評飯民議員支持水炮車撥款係熱狗分化嘅奸計,大家千祈唔好信」,成件事就有說服力好多。

    3. 呢個內部敵人威脅一定要夠大,否則無人會有危機感,團結一致而放棄思考。曾幾何時,本土派嘅風頭一時無兩,唾棄飯民嘅組織此起彼落;所以社民連、人民力量、本民前同青年新政都有被批評過收共產黨錢。但去到今時今日,呢啲敵對嘅組織解散嘅解散、轉軚嘅轉軚,退出政黨嘅退出政黨。飯民要搵一個戰靶所有批評佢地嘅敵人係比較困難,最終就選擇熱狗,因為熱狗可以話係目前政壇入面僅存一個仍然對對飯民充滿敵意、多加批評嘅具規模組織;

    聽到呢度,我諗大家應該明白我所謂「熱狗就是AB團」係咩意思。毛澤東點解要揀AB團作為一個虛假敵人?因為國民黨係無辦法分化倒共產黨,但AB團可以。AB團係實際存在過嘅組織,可以比倒黨員好大嘅危機感。然而現實世界根本就無咁多AB團,所以去到後期,毛澤東只係將所有佢睇唔過眼嘅敵人打哂做AB團,甚至開創咗「逢親係AB團嘅人都唔會承認自己係AB團」呢個無敵邏輯──基本上同今日飯民用嘅「所有批評飯民嘅人都係熱狗」係一模一樣。

    所以大家唔好奇怪,今時今日好多開口埋口「你分化你熱狗」嘅黃屍飯粉,好多係連熱血公民本身係咩一回事都唔知;甚至乎當你開口屌埋鄭松泰,佢都仍然會堅持你係熱狗。呢種「打AB團」、「被熱狗」嘅抹黑手涉當然亦有三大好處:

    1. 可以麻痺支持者嘅神經、令佢地懶於思考,只將黨內/大台內一切問題歸咎於於一個統一嘅敵人,總之就係AB團/熱狗搞事,至於毛澤東/飯民本身有咩問題就順理成章歸納成「被AB團/熱狗陷害」

    2. 將呢種內部敵人嘅威脅誇大化亦可以營造一種危機感,作為一種打壓異見嘅約束:當大家都知道只要提出異議就會被打成AB團/熱狗,會被作叛徒身份看待,好快大家就會因為驚「被熱狗」而唔敢出聲;更甚者有啲成員更會掉番轉用呢種恐慌去清除異己,將睇唔順眼嘅人屈成熱狗,享受權力快感

    我識得某啲無恥嘅左膠甚至乾脆承認「而家熱狗只係一個形容詞,並唔係你真係熱狗先會被話係熱狗」,總之你比佢睇唔順眼,你就係熱狗,然後就會比黃屍圍剿

    3. 最後,當塑造咗一個強大嘅內部敵人,就可以順理成章剝奪支持者選擇嘅自由──喂而家有熱狗鎅票呀,你仲同我講反對黃碧雲參選?莫乃光梁繼昌李國麟支持水炮車撥款?佢遠得過鄭松泰黃洋達分裂飯民咩?總之邊個唔投飯民大台推薦名單嘅,邊個就係熱狗!

    經過四篇分化系列,結論係比我再一次證實,而家飯民大台所玩弄嘅手段,其實同當年法國大革命嘅白色恐怖、共產黨同毛澤東玩弄嘅政治迫害同語言偽術,基本上係同出一轍,然後我問大家,你真心相信飯民大台攞倒35+之後就會比倒大家真正民主?

    定係日後又會以「熱狗仍然響內部分化緊我地,所以仍然唔可以投大台以外嘅候選人」黎永續自己嘅獨裁權力?

  • bolshevik 在 PhD Backpacker - 旅博士媽咪 Facebook 的最佳貼文

    2016-11-17 18:42:11
    有 7 人按讚


    一位匈牙利的記者朋友Péter曾在2004年來台灣參加國際學術研討會,我那時候大二,是他們的接待和翻譯。最近他跟我連絡上了,與我分享當時他回匈牙利後寫的一篇文章。標題是:一個無法被接受的真相,用一種西方人能懂的背景來解釋台灣與大陸的關係。如果你在國外唸書,有人問你中國和台灣有什麼不一樣,你可以用文章中的例子反駁他。非常傳神的一篇好文!

    Szegő Péter: An Unacceptable Reality, 2065
    Imagine if you will the following (though for my part I’m convinced of its impossibility, but let’s try to picture it all the same): It’s 2005 in the United Kingdom and a Bolshevik revolt breaks out. The uprising develops into a civil war that lasts for years. Cuba an...
    Continue Reading

  • bolshevik 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答

    2015-01-15 08:49:32
    有 50 人按讚

    ประวัติศาสตร์กฎหมายกลุ่มกฎหมายสังคมนิยม : ประเทศรุสเซีย(สหภาพโซเวียดก่อนล่มสลาย)

    ตั้งแต่ ค.ศ. 1917 ซึ่งเป็นปีแห่งการปฏิวัติของรุสเซียเป็นต้นมา รุสเซียได้เปลี่ยนระบอบการปกครองประเทศให้เข้าสู่สังคมยุคใหม่ ได้แก่สังคมคอมมิวนิสต์ สังคมดังกล่าวได้ยึดถือหลักภราดรภาพ (fraternity) เป็นสำคัญ โดยถือว่าบุคคลในสังคมมีความผูกพันกันฉันพี่น้อง และปฏิบัติต่อกันด้วยหลักเสมอภาค โดยตั้งอยู่บนผลประโยชน์ของสังคมเป็นใหญ่
    หลักการที่ยึดถือใหม่ทำให้ความรู้สึกในสังคมเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะเกิดความรู้สึกที่ว่า รัฐและกฎหมายไม่ใช่สิ่งจำเป็น เพราะสิ่งที่ถือว่ามีความจำเป็นได้แก่องค์กรและประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์ ไม่ใช่ทางด้านนิติศาสตร์ หรือรัฐศาสตร์ ประเทศรุสเซียตกอยู่ในรัฐสังคมนิยมซึ่งมีลักษณะพิเศษแตกต่างกับรัฐเสรีประชาธิปไตย เพราะรุสเซียยึดถือหลักการรวมทรัพย์สินและผลิตผลของรัฐเข้าด้วยกันตามแผนการเศรษฐกิจ ซึ่งกำหนดขึ้นให้สอดคล้องกับแผนทางการเมืองของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ทำหน้าที่ปกครองประเทศ และเพื่อจะได้นำรัฐสังคมนิยมนี้เข้าสู่รัฐคอมมิวนิสต์ที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งแน่นอนว่าทัศนคติและปฏิบัติการณ์เช่นนี้ย่อมกระทบกระเทือนทางด้านกฎหมายของรุสเซียด้วย เพราะจะต้องมีการยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมในยุคใหม่
    อย่างไรก็ตาม เนื่องการเป็นรัฐคอมมิวนิสต์ยังไม่ประสบความสำเร็จที่แท้จริง เพราะฉะนั้น ความเปลี่ยนแปลงทางด้านกฎหมายแม้ว่าจะมีอยู่บ้าง แต่ก็ยังไม่อยู่ในลักษณะของการเปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง กล่าวคือกฎหมายของรุสเซียยังคงมีความเกี่ยวพันกับกฎหมายโรมันอยู่เป็นส่วนใหญ่ ดังจะเห็นได้จากเค้าโครงและศัพท์สำนวนทางกฎหมายที่นำมาใช้ รวมทั้งหลักกฎหมายต่างๆด้วย จนอาจกล่าวได้ว่าทั่วไปแล้วกฎหมายของรุสเซียไม่มีความแตกต่างกับกฎหมายของฝรั่งเศส หรือเยอรมันมากนัก
    แม้กระทั่งบรรดาเจ้าตำราทางด้านกฎหมายของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งของอังกฤษหรืออเมริกา ต่างก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ากฎหมายรุสเซียตั้งแต่ดั้งเดิมไม่ควรถูกจัดอยู่ในกลุ่มกฎหมายโรมัน
    แต่บรรดานักกฎหมายของกลุ่มประเทศสังคมนิยมได้คัดค้านแนวความคิดนี้เป็นเอกฉันท์ โดยกล่าวว่า กฎหมายเป็นเพียงสิ่งสะท้อนของเค้าโครงทางด้านเศรษฐกิจเท่านั้น ดังนั้นระบอบกฎหมายที่แตกต่างกันอย่างแท้จริง น่าจะได้แก่ระบบกฎหมายของประเทศสังคมนิยมและระบบกฎหมายของประเทศเสรีประชาธิปไตย ซึ่งความแตกต่างที่สำคัญของระบบกฎหมายทั้งสองได้แก่การที่ระบบกฎหมายของประเทศเสรีประชาธิปไตย ยึดถือหลักเศรษฐกิจส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นใหญ่ ส่วนระบอบกฎหมายของประเทศสังคมนิยม ยึดถือหลักการที่ว่าทรัพย์สินและผลิตผลต่างๆ ตามแผนเศรษฐกิจต้องเป็นของส่วนรวม และเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ตามแนวทัศนคติของ Marx และ Engels ซึ่งเป็นเจ้าของลัทธิ
    แต่ถ้าสังเกตดูวิวัฒนาการของกฎหมายรุสเซียในปัจจุบันแล้ว จะเห็นได้ว่า เหตูการณ์ไม่ได้ดำเนินไปตามที่รุสเซียตั้งความหวังไว้ เพราะปาชาชนเกิดความไม่เข้าใจและไม่พึงพอใจในระบบใหม่ ทำให้ต้องมีการผ่อนคลายหลักการเดิมลง
    ดังนั้นถึงแม้ว่ากฎหมายของรุสเซีย จะถูกจัดเข้าในกฎหมายใหม่ แต่ตามข้อเท็จจริงแล้ว ความแตกต่างระหว่างกฎหมายเก่ากับระบบกำหมายปัจจุบันมีอยู่ไม่มากนัก
    นอกจากรุสเซียจะถูกจัดเข้าอยู่ในกลุ่มกฎหมายสังคมนิยมดังกล่าวมาแล้ว บรรดาประเทศยุโรปตะวันออกอีกหลายประเทศ ได้เข้าร่วมอยู่ในกลุ่มกฎหมายเดียวกันกับรุสเซียอันเนื่องมาจากอิทธิพลทางการเมืองอีกด้วย
    แต่คำว่า “Socialist Law “ หรือกฎหมายสังคมนิยมในที่นี้ จะต้องมีความเข้าใจความหมายที่ถูกต้องด้วย เพราะได้มีการอ้างอิงคำนี้อยู่เสมอ เช่น ประเทศสวีเดน ประเทศเซเนกัล หรือสาธารณรัฐอาหรับ ต่างก็อ้างว่ากฎหมายประเทศของตนเป็นกฎหมายสังคมนิยมทั้งสิ้น ซึ่งตามความจริงแล้ว กฎหมายของประทศเหล่านี้เพียงแต่บัญญัติขึ้นในแนวทางที่ให้ความคุ้มครองต่อผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของเอกชน ดังที่เคยเป็นมาในอดีตเท่านั้น แต่ยังไม่มีทัศนคติเดียวกันกับประเทศรุสเซีย(สหภาพโซเวียตเก่า)หรือประเทศบริวารอื่นๆ
    1.ประวัติศาสตร์กฎหมายรุสเซีย
    ประวัติศาสตร์กฎหมายรุสเซีย ก็คือ ประเทศสหภาพโซเวียต เก่าที่ยังไม่ได้ล่มสลายในปัจจุบัน ซึ่งต้นกำเนิดของของกฎหมายกลุ่มสังคมนิยมที่ยังมีใช้กันอยู่ เช่น ในประเทศจีน ลาว เวียดนาม เป็นต้น ในที่จะขอกล่าวประวัติศาสตร์รุสเซีย ในแต่ละยุค ดังนี้
    1.1 ยุคกฎหมายจารีตประเพณีรุสเซีย
    ยุคกฎหมายจารีตประเพณีรุสเซีย (RourrkiaPravda และ Byzantin Law ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชนเผ่าหนึ่งซึ่งมีเชื้อสายสแกนดิเนเวีย มี Riourik เป็นหัวหน้าได้อพยพเข้ามาในรุสเซีย และได้เข้ายึดครองเมือง Kiev ไว้โดยสถาปนาเป็นรัฐในปี ค.ศ. 862 จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1236 จึงได้ถูกพวกมองโกล (Mongols) ทำลายลง
    ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้เริ่มมีการจัดตั้งจารีตประเพรีของเมือง Kiev ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร มีผลใช้บังคับเฉพาะในท้องถิ่นนั้น จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 14 จึงได้มีการจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ มีลักษณะใช้ได้กับการปกครองระบอบ feudalism โดยเรียกชื่อว่ากฎหมายรุสเซีย หรือ Rousskia Pravda ในระยะเดียวกันนั้นเอง ภายหลังที่ชาว Kiev ได้ยอมรับนับถือศาสนาคริสต์เตียนในสมัยของ Saint Vladimir แล้ว กฎหมายที่เรียกว่า Byzanatinlaw ได้เข้ามามีอิทธิพลอย่างมากใน Kiev ทั้งทางด้านกฎหมายเอกชน และกฎหมายศาสนา (canon law ) เช่นเดียวกับประเทศยุโรปอื่น ๆ ได้รับอิทธิพลของกำหมายโรมันโดยตรง Church ต่าง ๆ ที่ Kiev ต่างนำเอา Byzantin law ไปใช้ภายในขอบเขตที่เป็นอาณาจักรบริเวณอยู่ภายใต้อำนาจของ Church
    ในการนำเอา Byzantin law มาใช้นี้ ได้มีการนำเอาวิธีการอนุญาโตตุลาการโดยพวกพระมาใช้ และได้มีการจัดจารึกจารึกจารีตประเพณีขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรด้วย
    1.2 รุสเซียภายใต้การยึดครองของชาวมองโกล
    ยุคที่สองของประวัติศาสตร์กฎหมายรุสเซียได้แก่การถูกชาวมองโกลเข้าครอบครองในปี ค.ศ. 1236 จนกระทั่งได้มีการทำสงครามกู้เอกราชในปี ค.ศ. 1480 ภายใต้รัชสมัยของ Ivan III จากการที่รุสเซียได้อิสรภาพนี้เอง ได้มีการเปลี่ยนแปลงบางประการ ได้แก่การก่อตั้ง Moscow ขึ้นแทน Kiev การยอมรับนับถือศาสนาคริสเตียนนิกาย Ortodoxe ซึ่งแตกต่างกับความศรัทธาในศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านซึ่งนับถือนิกายโรมันคาทอลิก
    ในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายโดยตรงนั้น การเข้าครอบครองรุสเซียของชาวมองโกลไม่ได้ทำความกระทบกระเทือนทางด้านกฎหมายให้แก่รุสเซียเลย เพราะชาวมองโกลเองก็ได้พยายามให้จารีตประเพณีของตน (Yassak) มีอิทธิพลต่อกฎหมายรุสเซีย ในขณะเดียวกันชาวรุสเซียเองก็ได้พยายามที่จะทำให้ Byzantin มีอิทธิพลมากขึ้น เพื่อเป็นการคุ้มกันการแผ่ขยายอิทธิพลของกฎหมายของชาวมองโกล


    1.3 การจัดทำประมวลกฎหมายในปี ค.ศ. 1649
    ยุคที่สามของประวัติศาสตร์กฎหมายรุสเซีย ได้แก่ยุคที่รุสเซียพ้นจากการยึดครองของชาวมองโกล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ Peter the Great ในปี ค.ศ. 1689 รุสเซียในยุคนี้อยู่ภายใต้การปกครองของ Tsars ซึ่งทำให้ประเทศพ้นจากสภาพไร้กฎหมาย และสามารถรักษาความเป็นเอกราชกับต่อต้านการรุกรานจากตะวันตกไว้ได้ ในยุคนี้แม้กระทั่ง Church เองก็ย่อมรับรู้และอยู่ใต้อำนาจของ Tsars
    การที่ Tsars มีอำนาจเด็ดขาด แม้ว่าจะมีผลดีทำให้บ้านเมืองสงบเรียบร้อยในระยะแรก ๆ แต่ก็ทำให้เกิดระบบการใช้อำนาจเกินขอบเขตของบรรดาสวามิน และข้าราชฝ่ายปกครองท้องถิ่นได้ แม้ว่าโดยหลักการแล้วจะยึดถือจารีตประเพณีเป็นหลักก็ตาม นอกจากนั้นการแบ่งอำนาจของตำรวจ ศาลและฝ่ายปกครองก็เป็นไปอย่างสับสนและยากที่จะแบ่งออกจากกันได้อย่างชัดเจน
    จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ Tsars องค์ที่สองแห่งราชวงศ์ Romanov คือ Alexis Mikhailovitch ได้จัดรวบรวมกฎหมายขึ้นทั้งกฎหมายอาณาจักรและกฎหมายศาสนา จนกระทั่งได้มีการจัดทำ Code ของ Alexis Mikhailovitch ขึ้นในปี ค.ศ. 1649 มีอยู่ 25 บท 963 มาตรา
    1.4 Svod Zakonov ในปี ค.ศ. 1832
    การจัดทำกฎหมายในรุสเซียโดยเลียนแบบอย่างกฎหมายสมัยใหม่ โดยเฉพาะประมวลกฎหมายฝรั่งเศส ได้เริ่มขึ้นอย่างแท้จริงในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสมัยของ Alexander I แต่ต่อมาภายหลังได้เกิดมีความรู้สึกเป็นศรัตรูต่อฝรั่งเศสการจัดทำแบบประมวลกฎหมายของฝรั่งเศสได้ยุติลง ต่อมาในสมัย Nicolas I จึงได้มีการรวบรวมกฎหมายขึ้นใหม่ในปี ค.ศ. 1832 ชื่อ Svod Zaconov มีทั้งหมดด้วยกัน 14 ตอน รวม 60,000 มาตรา
    ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 สมัยของ Alexander II ได้มีการปฏิรูปองค์กรศาลยุติธรรมในปี ค.ศ. 1864 และได้จัดทำประมวลกฎหมายอาญาในปี ค.ศ. 1855 แต่น่าสังเกตว่าไม่มีการจัดทำประมวลกฎหมายแพ่งสำเร็จ เพียงแต่มีโครงการจัดทำเท่านั้น
    1.5 กฎหมายรุสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1917 ถึงการล่มสลายของรุสเซีย
    ตั้งแต่ ค.ศ. 1917 เป็นต้นมาประวัติศาสตร์กฎหมายรุสเซีย ผู้เขียนขอแบ่งออกเป็น 2 ภาค คือ ภาคแรก ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1917-1936 กับภาคสอง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1936 ถึงการล่มสลายของรุสเซีย ดังนี้
    1.5.1 กฎหมายรุสเซีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1917-1936
    ในช่วงระยะเวลานี้จะแบ่งออกได้ 3 ยุค คือ ยุคการปฏิวัติของคอมมิวนิสต์ ค.ศ. 1917-1921 ยุคเศรษฐกิจการเมืองแผนใหม่ ค.ศ. 1921-1928 และยุคการรวมผลิตผลทางเกษตรและแผน 5 ปี ค.ศ. 1928-1936
    1.5.1.1 ยุคการปฏิวัติของคอมมิวนิสต์ ค.ศ. 1917-1921
    ยุคนี้เริ่มต้นตั้งแต่การปฏิวัติ ในปี ค.ศ. 1917 จนกระทั่งสงครายุติลงและพรรคคอมมิวนิสต์ (Bolshevik) ได้รับชัยชนะและปกครองรุสเซียในปี ค.ศ. 1921 ระหว่างระยะเวลาดังกล่าวนี้เป็นระยะที่พรรคคอมมิวนิสต์ กำลังวุ่นอยู่กับสงครามและการช่วงชิงอำนาจประครองประเทศขั้นเด็ดขาดดังภาระหน้าที่ที่สำคัญประการแรก คือ การสถาปนาอำนาจและความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ โดยไม่คำนึงถึงกฎหมายและการนำกฎหมายมาใช้มากนัก จนถึงขนาดที่คนสำคัญ คือ เลนิน และทรอตสกี้ ได้แสดงทรรศนะว่า “ในระยะแรกนั้นกฎหมายต่างๆมีความสำคัญต่อการโฆษณาชวนเชื่อมากกว่าที่จะให้เป็นกฎหมายที่ฝ่ายปกครองต้องปฏิบัติ”
    อย่างไรก็ตามใน ปี ค.ศ. 1918 ได้มีการบัญญัติรัฐธรรมนูญของรุสเซียขึ้นและแบ่งแยกรัฐกับ Church ออกจากกัน ดังนั้นอิทธิพลของกฎหมายศาสนาในด้านการสมรสและการหย่าจึงหมดสิ้นไป การรับมรดกก็มีขึ้นไม่ได้ การโอนที่ดิน เหมืองแร่ กิจการอุตสาหกรรมซึ่งมีความสำคัญและการธนาคารเข้าเป็นของรัฐ การค้าขายของเอกชนก็ถูกห้ามทำให้เงินตราและลักษณะสัญญาขาดความหมายและความสำคัญลง
    ศาลและวิธีพิจารณาของศาลในสมัยก่อนการปฏิวัติถูกยกเลิกและมีการจัดตั้งศาลใหม่ขึ้นแทน โดยให้พิจารณาพิพากษาให้สอดคล้องกับอุดมการณ์แห่งการปฏิวัติ เพื่อให้ความยุติธรรมแก่สังคมในแบบคอมมิวนิสต์ คือ เพื่อประโยชน์ของรัฐบาลของบรรดาผู้ใช้แรงงานและชาวนาชาวไร เมื่อสถานการณ์ภายในประเทศเป็นไปในลักษณะเช่นนี้ จึงทำให้ความสำคัญกฎหมายหมดไปและยังกลายเป็นกลุ่มชนชั้นที่ถูกระแวงสงสัยโดยรัฐบาลและพรรคคอมมิวนิสต์
    1.5.1.2 ยุคเศรษฐกิจและการเมืองแผนใหม่
    ยุคเศรษฐกิจและการเมืองแผนใหม่ ระหว่างค.ศ. 1921-1928 (ยุคNew Economic –Politic = N.E.P.) หลังจากที่สงครามกลางเมืองยุติลง ได้มีการฟื้นฟูและบูรณะประเทศแบบขนานใหญ่ โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ กระตุ้นให้ชาวนาชาวไร่ทำงานมากขึ้น และแสวงหาเงินทุนจากต่างประเทศ เพื่อสร้างเศรษฐกิจซึ่งอยู่ในสภาพที่ทรุดโทรมให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้นและแสวงเงินทุนจากต่างประเทศ เพื่อสร้างฐานะทางเศรษฐกิจซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรมให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้น
    จากสาเหตุดังกล่าวนี้ ทำให้พรรคคอมมิวนิสต์ต้องสละแนวความคิดเดิมที่จะนำประเทศก้าวสู่การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ที่แท้จริงในทันที และหวนกลับมาใช้วิธีดำเนินการเป็นขั้น ๆ ไป คือเริ่มต้นจากการเข้าสู่ระบบสังคมนิยมก่อน
    อนึ่ง การที่รุสเซียมีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ โดยเฉพาะทางด้านเงินทุนดังกล่าวแล้ว จึงจำต้องแสดงให้ต่างประเทศมีความเชื่อถือว่าจะได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย เพื่อการนี้รุสเซียจึงต้องประกาศใช้กฎหมายแพ่ง ในปี ค.ศ. 1922 (ใช้บังคับวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1923) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ประมวลกฎหมายครอบครัว และประมวลกฎหมายที่ดินขึ้น ในขณะเดียวกัน ได้มีการปรับปรุงทางด้านกระบวนการยุติธรรมเสียใหม่ โดยยึดหลักความเสมอภาคในสังคมเป็นสำคัญ
    โดยสรุปแล้ว ในยุค N.E.P.นี้ รุสเซียได้ถอยกลับมาจากจุดเดิมที่ก้าวเร็วเกินไป ทำให้เกิดอันตรายทางเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวง และหันกลับมาใช้วิธีการที่อ่อนลงตามแนวทางสังคมนิยม เพื่อสถาปนาเศรษฐกิจของประเทศให้อยู่ในสภาพที่พ้นจากอันตรายเสียก่อน
    1.5.1.3 ยุคการรวมผลิตผลทางการเกษตรและแผนการ 5 ปี
    ยุคการรวมผลิตผลทางการเกษตรและแผนการ 5 ปี (ค.ศ. 1928-1936) กล่าวได้ว่ายุค N.E.P. ได้นำความสำเร็จทางเศรษฐกิจมาสู่รุสเซีย แต่ในขณะเดียวกันพรรคคอมมิวนิสต์ก็ยังไม่ได้เลิกล้มความตั้งใจที่จะนำประเทศให้เป็นคอมมิวนิสต์โดยสมบูรณ์
    ดังนั้นในปี ค.ศ. 1928-1932 รุสเซียจึงได้นำแผนการห้าปี (แผนแรก) มาใช้ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นก็คือ การยกเลิก แผนเศรษฐกิจและการเมืองแผนใหม่ (N.E.P. ) โดยอัตโนมัติและนำเอาแผนการใหม่มาใช้ สาระสำคัญของแผนการ 5 ปี ได้แก่การรวมผลิตผลทางอุตสาหกรรมและการค้าเข้าเป็นของส่วนรวม โดยการยกเลิกสัมปทาน ซึ่งอนุญาตให้เอกชนดำเนินการแสวงหาประโยชน์ในอุตสาหกรรมบางประเภทเสีย
    ตั้งแต่ ค.ศ. 1930 เป็นต้นมา บรรดากสิกรได้ถูกเชิญชวนในลักษณะบังคับให้รวมกลุ่มกันจัดตั้งสหกรณ์การเกษตรขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมแรงงานและผลิตผลที่ได้จากการใช้แรงงาน การจัดตั้งสหกรณ์ดังกล่าวเป็นสำเร็จในปี ค.ศ. 1937 ซึ่งในยุคนั้นมีสหกรณ์ทั้งสิ้น 243,000 แห่ง มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ดินที่สามารถทำประโยชน์ได้ถึง 93 เปอร์เซ็นต์ ประกอบด้วยกสิกรที่เป็นสมาชิกรวม 18,500,000 ครัวเรือน
    ผลการศึกษาแผน 5 ปี ทำให้ทรัพย์สินและเครื่องมือเครื่องใช้ทุกชนิดที่ใช้ในการผลิตตกเป็นของส่วนรวม กล่าวคือ ถ้าไม่ตกเป็นของรัฐก็ตกเป็นของสหกรณ์ คงยกเว้นให้กสิกรทำการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์บางประเภทเพื่อประโยชน์ของตนเองได้บ้าง แต่กิจการดังกล่าวนี้ก็ถูกจำกัดอย่างเข้มงวดกวดขันตามกฎหมายกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนบุคคลจะมีได้แต่เฉพาะเพื่อประโยชน์ของตนเองเท่านั้น แต่นำไปใช้ในการแสวงหาประโยชน์เป็นรายได้จากผู้อื่นไม่ได้ ทางด้านการค้าปรากฏว่าตั้งปี ค.ศ. 1935 การค้าในเมือง รัฐเข้าดำเนินการเอง ส่วนชนบทผู้ดำเนินการได้แก่ สหกรณ์ ทำให้เอกชนไม่สามารถทำการค้าขายได้ การฝ่าฝืนจะมีโทษทางอาญา
    อย่างไรก็ตามแม้ยุค N.E.P.ผ่านพ้นไปแล้วก็ตามบรรดาประมวลกฎหมายต่างๆที่ประกาศใช้ในยุคนั้นก็ยังใช้บังคับในยุคต่อมายิ่งกว่านั้นได้มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1936 ด้วยและในรัฐธรรมนูญดังกล่าวนี้ มาตรา 14 ได้กำหนดให้ประมวลกฎหมายแพ่ง ซึ่งได้ทำขึ้นใน ค.ศ. 1922 และมีการแก้ไขในระยะต่อมา สามารถนำไปใช้บังคับได้ในดินแดนของรัฐต่าง ๆ ที่รวมกันเป็นประเทศประเทศรุสเซียด้วย (หลังจากนั้นได้มีการแก้ไขประมวลกฎหมายว่าด้วยรัฐธรรมนูญศาลยุติธรรม ประมวลกฎหมายอาญา และกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1958 และประมวลกฎหมายแพ่ง และกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1961)
    กฎมายรุสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1936 ภาระหน้าที่สำคัญของรัฐและกฎหมายของรัฐ ภายหลัง ค.ศ. 1936 ที่มีอยู่ 3 ประการคือ ประการแรก ในด้านเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ ได้แก่หน้าที่ในการเพิ่มพูนอำนาจของรัฐให้มากขึ้น พร้อมกับเสริมสร้างความสามัคคีและการอยู่ร่วมกันโดยสันติในบรรดารัฐต่าง ๆ กับปราบปรามผู้ที่ทำตัวเป็นศัตรูกับระบอบการปกครองประเทศ
    หน้าที่ประการที่สอง ได้แก่การเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ได้แก่การบัญญัติกฎหมายในลักษณะพัฒนาการผลิตโดยยึดหลักสังคมนิยม
    ส่วนหน้าที่ประการที่สาม ได้แก่บัญญัติกฎหมายในทางให้การศึกษาแก่ประชาชนเพื่อให้ยอมรับหลักการตามระบอบใหม่ และสละละทิ้งความยึดมั่นเก่าๆ ที่ฝังหัวยุนานนับเป็นศตวรรษออกไป
    การดำเนินการดังกล่าวดังนี้เป็นไปได้โดยล่าช้า ดังจะเห็นได้ว่าในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1968 พรรคคอมมิวนิสต์รุสเซียมีสมาชิกอยู่เพียง 13,180,225 คน หรือเท่ากับ 5.52 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนพลเมืองทั้งหมด
    อย่างไรก็ตาม ในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายนั้น ปรากฏว่ากฎหมายที่บัญญัติขึ้นในระยะหลังนี้เป็นกฎหมายที่มีเหตุผล และให้ความสำคัญแก่สังคมมากขึ้น จึงเป็นกฎหมายที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในประเทศ
    ในส่วนที่เกี่ยวกับต่างประเทศ กฎหมายบางฉบับจะนำมาศึกษาหรือได้รับความสนใจบ้างในประเทศ เช่นกฎหมายพาณิชย์ และกฎหมายแรงงาน เป็นต้น
    2.ประวัติศาสตร์กฎหมายของประเทศสังคมนิยมอื่น ๆ
    ประเทศในภาคพื้นยุโรปบางประเทศได้รวมกลุ่มทางการเมืองกับประเทศรุสเซีย เพราะนำระบอบการปกครองประเทศแบบสังคมนิยมหรืคอมมิวนิสต์ไปใช้ จึงรวมกันขึ้นเป็นค่ายตะวันออกหรือค่ายคอมมิวนิสต์
    จากความนิยมในระบอบการปกครองประเทศเช่นเดียวกันนี้เอง ทำให้มีการถ่ายทอดและรับเอาอิทธิพลทางกฎหมายไปจากรุสเซียด้วย แต่ว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศเหล่านี้ไม่รุนแรงและเป็นอันตรายเช่นเดียวกับรุสเซียในยุคต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ทั้งนี้เพราะลักษณะของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งจารีตประเพณีของประเทศเหล่านั้นแตกต่างกันกับประเทศรุสเซีย
    และผลที่ตามมาคือ แม้ว่าบรรดาประเทศประชาธิปไตยประชาชนในยุโรปตะวันออกจะถือตามแบบอย่างกฎหมายของรุสเซีย แต่ก็มีความแตกต่างกันออกไปตามวิถีทางการเมืองของประเทศเหล่านั้น ซึ่งความแตกต่างได้ปรากฏมากขึ้นในระยะหลัง เช่นความพยายามของประเทศโกสโววะเกียที่พยายามที่จะนำประเทศไปสู่ “สังคมนิยมแบบใหม่” หรือประเทศยูโกสลาเวีย ประเทศแอลเบเนีย และประเทศจีน เป็นต้น
    1.หลักการที่เหมือนกันกับประเทศรุสเซีย
    หลักการสำคัญที่นำมาบัญญัติเป็นกฎหมาย เพื่อสนับสนุนหลักการทางเศรษฐกิจและการเมือง ของประเทศสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์ ได้แก่การให้ผลิตผลต่าง ๆ เป็นของส่วนรวม
    วิธีการที่นิยมกันมากและอาจเกิดขึ้นอย่างง่ายดายในประเทศเหล่านี้ ได้แก่การโอนกิจการอุตสาหกรรมเป็นของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการอุตสาหกรรมซึ่งลงทุนโดยชาวต่างประเทศ และได้รับคำมั่นหรือหลักประกันจากรัฐบาลชุดก่อนการเปลี่ยนแปลง
    กิจการค้าของเอกชนก็ถูกห้ามเช่นเดียวกันกับกฎหมายรุสเซีย เพียงแต่มีวิธีการที่อะลุ้มอล่วยกว่า เช่นยอมให้เอกชนเปิดร้านค้าได้ในในบัลแกเรีย และในฮังการี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีของร้านขายอุปโภค
    ในประเทศโปแลนด์ รัฐให้สัญญากับเอกชนให้ประกอบกิจการอุตสาหกรรมได้ เพื่อประโยชน์ทางการค้าบางประเภท
    อย่างไรก็ตาม เรื่องที่นำความลำบากและยุ่งยากมากมาสู่ประเทศเหล่านี้ได้แก่การโอนที่ดินเป็นของรัฐ และการนำผลิตผลทางเกษตรเข้าเป็นผลิตผลของส่วนรวม เช่นเดียวกับที่รุสเซียได้เคยประสบมาแล้ว ดังเช่นประเทศโปแลนด์และประเทศยูโกสลาเวีย แม้จนกระทั่งปัจจุบันนี้ก็ยังไม่อาจดำเนินการทางวิธีดังกล่าวแล้วให้ได้ผลสมบูรณ์เต็มที่
    2.การจัดทำประมวลกฎหมาย ประมวลกฎหมายที่ประกาศใช้ในประเทศเหล่านี้ในยุคหลังได้แก่การประกาศใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาทางด้านการปกครอง ในประเทศเชโกสโลวะเกีย ในปี ค.ศ. 1955 ในประเทศฮังการี ในปี ค.ศ. 1956 ในประเทศยูโกสลาเวีย ในปี ค.ศ. 1957 และในประเทศโปแลนด์ ในปี ค.ศ. 1960

  • bolshevik 在 Mẹ Nấm Youtube 的最佳貼文

    2019-11-08 23:36:10

    Năm 2017 nhân dịp kỷ niệm 100 năm cuộc cách mạng đẫm máu Bolshevik ở Nga, tổng thống Donald Trump tuyên bố chọn ngày 7 tháng 11 hàng năm là ngày Hoa Kỳ tưởng niệm các nạn nhân cộng sản trên toàn thế giới.

    Hôm nay, ngày 7/11/2019 với tư cách là nhân chứng sống của tội ác cộng sản Việt Nam, blogger Mẹ Nấm Nguyễn Ngọc Như Quỳnh đã được mời vào Tòa Bạch Ốc, cùng với 4 chứng nhân khác từ các quốc gia Ba Lan, Cuba, Venezuela, và Bắc Hàn, để trình bày trực tiếp với TT Trump về những kinh nghiệm hãi hùng mà họ đã từng trải qua dưới sự thống trị dã man của xã hội chủ nghĩa.

你可能也想看看

搜尋相關網站