[爆卦]Allyl是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Allyl鄉民發文沒有被收入到精華區:在Allyl這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 allyl產品中有15篇Facebook貼文,粉絲數超過27萬的網紅อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์,也在其Facebook貼文中提到, ช่วงนี้สูตรยาผีบอก เกี่ยวกับการให้ "ดมสมุนไพร หรือน้ำต้มสมุนไพร โน่นนี่นั่น เพื่อรักษาโรค covid-19" ออกมาอยู่เรื่อยๆ นะครับ ก็ขอเตือนซ้ำๆ เหมือนเดิมน...

 同時也有70部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅Lok Cheung HK,也在其Youtube影片中提到,同場加映 ONE R 設計缺陷... 睇埋三部機各自既詳細測試影片:https://youtube.com/playlist?list=PLkgrLaw8uLaBEC3YPZxr6a7J_MEj8_K2E Storyblocks 一個月費,無限任用相片、圖像、影片、音樂及音效!唔需要再分開搵片一...

allyl 在 營養師杯蓋 Instagram 的精選貼文

2020-10-16 13:33:22

【一直放屁又好臭嗎❓】#營養師杯蓋 快標記那個「愛放屁」「放臭屁」的朋友‼️  是不是常常脹氣,然後一直放屁? 這邊杯蓋整理了幾個放屁的原因希望可以幫上忙  ✍🏻產氣的原因大致上有兩種  ①吞入的空氣:每個人在吃或喝東西的時候,都會吞入少量空氣,而吞入的空氣大多都藉由打嗝的方式離開胃...

allyl 在 營養師杯蓋 Instagram 的精選貼文

2020-08-10 10:06:19

【一直放屁又很臭?】#營養師杯蓋 快標記那個愛放屁還很臭的朋友‼️  每個人都會放屁,透過放屁,能夠讓腸道舒緩,但可能會造成ㄧ些尷尬的情況,這邊簡單的帶大家認識一下為什麼人會放屁,希望能幫助大家舒緩嘗到脹氣或是一直放屁的問題。  ✍🏻產氣的原因大致上有兩種 ①吞入的空氣:每個人在吃或喝東...

  • allyl 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文

    2021-07-14 11:01:59
    有 1,125 人按讚

    ช่วงนี้สูตรยาผีบอก เกี่ยวกับการให้ "ดมสมุนไพร หรือน้ำต้มสมุนไพร โน่นนี่นั่น เพื่อรักษาโรค covid-19" ออกมาอยู่เรื่อยๆ นะครับ

    ก็ขอเตือนซ้ำๆ เหมือนเดิมนะว่า มันช่วยได้แค่ในการทำให้จมูกโล่ง บรรเทาอาการหวัดคัดจมูกเท่านั้นแหละ !

    อยากดมก็ดมไป แต่อย่าไปหวังสรรพคุณถึงขนาดรักษาหรือป้องกันโรค covid ได้นะครับ
    ------
    (บทความเก่าที่เคยเขียนไว้)
    "ดมหอม ดมกระเทียม จะรักษาการติดเชื้อไวรัสได้จริงหรือ"

    มีการแชร์รูปนี้กันค่อนข้างมาก อ้างว่า "ให้คนที่ไปสถานที่ชุมนุมชน หรือใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ หรือคนที่มีอาการหวัดมีไข้ไอเหนื่อย นำหอมแดง กระเทียม ใส่ถุง ทุบสูดดมลึกๆ จนหมดกลิ่น วันละ1-3ครั้ง จะยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ รักษาอาการติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจได้" !?!

    เรื่องนี้มีความกำกวมอยู่ครับ ... สารที่ระเหยออกมาจากหอมแดงหรือกระเทียม เป็นพวกน้ำมันหอมระเหย (essential oil) ซึ่งมีสารประกอบอินทรีย์กลุ่มที่กำมะถัน (sulfer) เป็นองค์ประกอบ เช่น สารกลุ่มอัลลีลโพลีซัลไฟด์ (allyl polysulfides) โดยสารเคมีพวกนี้พบว่ามีฤทธิ์ด้านการเป็นยา อยู่หลายอย่าง จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ (ซึ่งรวมถึงฤทธิ์ในการต่อต้านไวรัสด้วย)

    แต่ก็ไม่ได้มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่า การนำเอาหัวหอม หอมแดง กระเทียม มาสูดดมเข้าไปตรงๆ แบบนั้น จะไปยับยั้งไปฆ่าเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจ ได้อย่างที่อ้างกัน ที่เป็นที่ยอมรับกันมากกว่าคือมันช่วยให้หายใจโล่ง บรรเทาอาการหวัดคัดจมูกน้ำมูกไหลได้

    ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้ตรวจสอบเรื่อง "สมุนไพรไทยใกล้ตัว รักษาโควิด–19" กับศูนย์ข้อมูลยาสมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พบว่าพืชผักสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ พริกไทย กระเทียม หอมแดง มีกลุ่มน้ำมันหอมระเหย เป็นส่วนประกอบ ซึ่งช่วยให้บรรเทาอาการหวัด คัดจมูก ทำให้หายใจสะดวกขึ้น (https://www.facebook.com/AntiFakeNewsCenter/posts/207399230694258/)

    แต่จากการที่สมุนไพรเหล่านี้ ก็มีสารสำคัญที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ และยับยั้งเชื้อไวรัสที่ก่อโรคระบบทางเดินหายใจได้ จึงแนะนำให้รับประทาน เพื่อเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ในช่วงที่มีโรคระบาด ตัวอย่างเช่น หอมใหญ่ หอมแดง มีสารเคอร์ติซิน (quercetin) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยบรรเทาอาการหวัดคัดจมูก ส่วนกระเทียม มีสารอัลลิซิน (allicin) ช่วยต้านการอักเสบและอนุมูลอิสระ (http://covid19.anamai.moph.go.th/th/infographic/view/MDY1cDBzNnM0NHIyb3Ezc3E2NnEyNDk0cDRyOTQzcjQ1MTYxMw==)

    อย่างไรก็ตาม ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้เตือนว่าการแนะนำว่าสมุนไพรไทยต่างๆ ต้าน "ไวรัสโควิด-19" ได้นั้น พบว่ามีข้อมูลที่บิดเบือน เพราะแม้ว่าจะมีผลการวิจัยว่า สารสำคัญในพืชสมุนไพรบางชนิดสามารถจับกับไวรัสโรคโควิดได้ จากการจำลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาในระดับหลอดทดลอง สัตว์ทดลอง และการวิจัยในคนเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสโควิด-19 (จาก https://www.js100.com/en/site/news/view/86090)

    สรุปคือ หอมแดง กระเทียม และสมุนไพรไทยหลายชนิด สามารถนำมาสูดดมเอาน้ำมันหอมระเหยเข้าไป เพื่อให้หายใจโล่งขึ้น บรรเทาอาการเป็นหวัดคัดจมูกได้ แต่อย่าคาดหวังในการใช้รักษาการติดเชื้อไวรัส (โดยเฉพาะเชื้อโรคโควิด-19) อย่างที่แชร์กันครับ

  • allyl 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文

    2021-07-14 11:01:46
    有 613 人按讚

    ช่วงนี้สูตรยาผีบอก เกี่ยวกับการให้ "ดมสมุนไพร หรือน้ำต้มสมุนไพร โน่นนี่นั่น เพื่อรักษาโรค covid-19" ออกมาอยู่เรื่อยๆ นะครับ

    ก็ขอเตือนซ้ำๆ เหมือนเดิมนะว่า มันช่วยได้แค่ในการทำให้จมูกโล่ง บรรเทาอาการหวัดคัดจมูกเท่านั้นแหละ !

    อยากดมก็ดมไป แต่อย่าไปหวังสรรพคุณถึงขนาดรักษาหรือป้องกันโรค covid ได้นะครับ
    ------
    (บทความเก่าที่เคยเขียนไว้)
    "ดมหอม ดมกระเทียม จะรักษาการติดเชื้อไวรัสได้จริงหรือ"

    มีการแชร์รูปนี้กันค่อนข้างมาก อ้างว่า "ให้คนที่ไปสถานที่ชุมนุมชน หรือใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ หรือคนที่มีอาการหวัดมีไข้ไอเหนื่อย นำหอมแดง กระเทียม ใส่ถุง ทุบสูดดมลึกๆ จนหมดกลิ่น วันละ1-3ครั้ง จะยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ รักษาอาการติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจได้" !?!

    เรื่องนี้มีความกำกวมอยู่ครับ ... สารที่ระเหยออกมาจากหอมแดงหรือกระเทียม เป็นพวกน้ำมันหอมระเหย (essential oil) ซึ่งมีสารประกอบอินทรีย์กลุ่มที่กำมะถัน (sulfer) เป็นองค์ประกอบ เช่น สารกลุ่มอัลลีลโพลีซัลไฟด์ (allyl polysulfides) โดยสารเคมีพวกนี้พบว่ามีฤทธิ์ด้านการเป็นยา อยู่หลายอย่าง จากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ (ซึ่งรวมถึงฤทธิ์ในการต่อต้านไวรัสด้วย)

    แต่ก็ไม่ได้มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่า การนำเอาหัวหอม หอมแดง กระเทียม มาสูดดมเข้าไปตรงๆ แบบนั้น จะไปยับยั้งไปฆ่าเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจ ได้อย่างที่อ้างกัน ที่เป็นที่ยอมรับกันมากกว่าคือมันช่วยให้หายใจโล่ง บรรเทาอาการหวัดคัดจมูกน้ำมูกไหลได้

    ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้ตรวจสอบเรื่อง "สมุนไพรไทยใกล้ตัว รักษาโควิด–19" กับศูนย์ข้อมูลยาสมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พบว่าพืชผักสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ พริกไทย กระเทียม หอมแดง มีกลุ่มน้ำมันหอมระเหย เป็นส่วนประกอบ ซึ่งช่วยให้บรรเทาอาการหวัด คัดจมูก ทำให้หายใจสะดวกขึ้น (https://www.facebook.com/AntiFakeNewsCenter/posts/207399230694258/)

    แต่จากการที่สมุนไพรเหล่านี้ ก็มีสารสำคัญที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านการอักเสบ และยับยั้งเชื้อไวรัสที่ก่อโรคระบบทางเดินหายใจได้ จึงแนะนำให้รับประทาน เพื่อเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง ในช่วงที่มีโรคระบาด ตัวอย่างเช่น หอมใหญ่ หอมแดง มีสารเคอร์ติซิน (quercetin) ซึ่งมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ช่วยบรรเทาอาการหวัดคัดจมูก ส่วนกระเทียม มีสารอัลลิซิน (allicin) ช่วยต้านการอักเสบและอนุมูลอิสระ (http://covid19.anamai.moph.go.th/th/infographic/view/MDY1cDBzNnM0NHIyb3Ezc3E2NnEyNDk0cDRyOTQzcjQ1MTYxMw==)

    อย่างไรก็ตาม ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ได้เตือนว่าการแนะนำว่าสมุนไพรไทยต่างๆ ต้าน "ไวรัสโควิด-19" ได้นั้น พบว่ามีข้อมูลที่บิดเบือน เพราะแม้ว่าจะมีผลการวิจัยว่า สารสำคัญในพืชสมุนไพรบางชนิดสามารถจับกับไวรัสโรคโควิดได้ จากการจำลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่ยังไม่มีรายงานการศึกษาในระดับหลอดทดลอง สัตว์ทดลอง และการวิจัยในคนเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสโควิด-19 (จาก https://www.js100.com/en/site/news/view/86090)

    สรุปคือ หอมแดง กระเทียม และสมุนไพรไทยหลายชนิด สามารถนำมาสูดดมเอาน้ำมันหอมระเหยเข้าไป เพื่อให้หายใจโล่งขึ้น บรรเทาอาการเป็นหวัดคัดจมูกได้ แต่อย่าคาดหวังในการใช้รักษาการติดเชื้อไวรัส (โดยเฉพาะเชื้อโรคโควิด-19) อย่างที่แชร์กันครับ

  • allyl 在 研妍堂 芳療香氛 Facebook 的最讚貼文

    2021-05-26 13:29:59
    有 46 人按讚

    ◼︎ 香氛原料-關於麝香

    學習之路永遠不會停止~~

    麝香這一詞幾乎與香水劃上等號,它可能是某人身上的氣味,也可能是某個動物的代表,不論什麼品牌,不僅是香水,香皂,洗髮精,化妝品,甚至清潔劑裡都可能有麝香的存在,麝香只是各種類似原料的概括名稱,仔細分類下來可還是有很大的學問。

    ➡️ 天然麝香
    最早的天然麝香來自麝香鹿,它的性腺分泌氣味來吸引雌鹿與設置領域,在歐洲歷史的記載,麝香具有催情、神性的代表,早期為了要獲取天然麝香,往往需要透過獵殺的方式十分殘忍,一公斤的麝香大約需要30~50隻麝香鹿,近年有些人開始圈養這類動物,以現代技術不傷害動物生命前提取得麝香,但現在成本還是相當高的,況且,小編之前在學校聞過天然麝香的味道,相信我,真的比廁所的尿味加10倍,它是需要稀釋成0.1%甚至更低才會讓人感到氣味美好。

    植物系中也有類似麝香的氣味,其中黃葵籽(Ambrette seed)的氣味是小編最喜歡的,但是想使用它的大前提就是口袋要夠深,小編曾買過10ml近7張小朋友,現在跟著桂花原精一起鎖在櫃子裡當寶貝。

    ➡️ 人工合成麝香
    瀕臨絕種野生動植物種國際貿易公約(Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora, CITES 也稱華盛頓公約)在1979年將麝香鹿列入受保護物種,因此現在市面上看到的麝香幾乎都是人工合成麝香,這也是說,如果今天你在一瓶號稱「天然」香水的成分中看到麝香二個字,您覺得它真的是全成分天然嗎?不妨思考看看。

    ——————————
    人工合成麝香分類
    ——————————
    |硝基麝香(Aromatic nitro musks):由於部分具有致敏性,因此絕大部分已經不再使用,目前還能見到的是麝香酮(Musk Ketone)、黃葵麝香(Musk Ambrette)、二甲苯麝香(Musk xylol)

    |多環麝香(polycyclic musk compounds):就是在化學結構中具有多個環型結構的麝香,我們最熟悉就是IFF公司的佳樂麝香(Galaxolide),便宜又好用,非常多的香水都可以找到它的影子,另一支吐納麝香(Tonalide)雖然單價較高,但是它的氣味比較濃郁也受到調香師的喜愛,不過這二支100% 原料都很難搞,一個濃稠到很難分裝,一個是塊狀難以溶解,果然好味道也需要付出代價。

    |大環麝香(macrocyclic musk compounds);它的化合物結構是單環結構有10~15個碳原子,氣味最接近麝香酮,對環境的影響最小,但價格也比其他麝香高,麝香T(Ethylene brassylate)、黄葵内酯(Ambrettolide)、環十五烷內酯(Exaltolide)都是目前調香師常用的麝香原料,但有趣的是有些人聞不到它們的味道,建議可以稀釋成1%後再聞看看或許就會找到它們。芬美意(Firmenich)生產的 麝香烯酮(Muscenone)非常接近硝基麝香的氣味,現在已經大量取代麝香酮的使用。

    |脂環麝香(Alicyclic musks):麝香家族的新成員,分子結構以烷基酯為主,有趣的是這類麝香具有一點果香,因此很常應用於果香調中,小編有一支格蓬酯(Allyl Amyl Glycolate),一開始也聞不到它的味道,直到稀釋後才聞到那種刺鼻尖銳的水果香,最初實在很難把它與麝香分類在一起,所以它分類在的果香中,但它真的是麝香家族;開司米酮(Cashmeran)有人分類在多環麝香,但也有人反對,因為它的結構比較複雜,但又不符合國際香料協會(IFRA)多環麝香的分類標準,它有麝香的氣味特質,但又綜合了果香、木質、樹脂等氣味。

    不同的麝香氣味都不是一樣的,常常有學生問我為什麼不是「白麝香」的味道?不得不承認Body shop的產品實在賣的太好了,讓大家對麝香氣味產生既定印象,就算來上體驗課也會問為什麼調不出白麝香的感覺?這個真的是很大的錯誤,「白麝香」是一支產品,它裡面大概有4~5種麝香的組成,而且佔比非常的高,我們的體驗課程只用到其中之一的佳樂麝香,當然沒辦法滿足。

    原料的認識一直是調香學習課程中最大的困難,這幾支麝香如果沒有同時放在面前一一比較真的很難記憶與區別,疫情期間或許也是一個自我訓練的機會,也希望每個人都能健康平安。

    ———————————
    #專業調香師養成班
    #高階班
    #單體原料
    #企業氣味設計
    #客製化氣味設計

你可能也想看看

搜尋相關網站