雖然這篇rationalism mbti鄉民發文沒有被收入到精華區:在rationalism mbti這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 rationalism產品中有11篇Facebook貼文,粉絲數超過4,424的網紅不假掰讀者過日子,也在其Facebook貼文中提到, 「我們永遠不要放棄想像世界最合乎理性的樣子。」(Man darf nie aufhören, sich die Welt vorzustellen, wie sie am vernünftigsten wäre.)只有能夠想像更好的世界,才能給予我們改造這個世界的能力與勇氣。 https://n...
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過76萬的網紅memehongkong,也在其Youtube影片中提到,130.理性主義—以理性的演繹方法來尋求絕對的真理 西方思潮,經歷了千多年中古神學的壓制,哲學終於隨啟蒙運動而重生。呼應培根(F. Bacon)的知識就是力量旗幟,知識論逐漸演變成核心問題,求問知識與真理的關係。面對這個哲學問題,主要有兩大派別爭持不下,分別是理性主義學派和經驗主義學派。理性主義學...
rationalism 在 Ruby Y Instagram 的精選貼文
2021-07-05 15:47:56
🖤 看完理性派生活,突然發現,越長大真的會越理性,理性這種東西真的是被訓練出來的,不過,沒有瘋癲過怎麼會知道理性的平靜。 @amber_chuuuu 頭髮澎澎的AM養髮噴霧 #rationalism #Iwanttobecrazy...
-
rationalism 在 memehongkong Youtube 的最佳解答
2018-11-26 13:30:01130.理性主義—以理性的演繹方法來尋求絕對的真理
西方思潮,經歷了千多年中古神學的壓制,哲學終於隨啟蒙運動而重生。呼應培根(F. Bacon)的知識就是力量旗幟,知識論逐漸演變成核心問題,求問知識與真理的關係。面對這個哲學問題,主要有兩大派別爭持不下,分別是理性主義學派和經驗主義學派。理性主義學派(Rationalism)主要在歐洲大陸冒起,他們強調理性和思考為知識的核心,並且主張心靈有能力獨自發現真理,知識從人內在的心靈和觀念中獲得。理性主義雖然承認人的心靈是由認知、情感及意志所構成,不過認知能力才是最重要的部分,因情感及意志係受認知所控制,亦為認知的結果。因此,理性主義認為要透過抽象思考及演繹推理的認知能力,來獲得真實的知識。能充分運用理性的人,就是理想的人。其中最具影響力的是法國的笛卡兒(René Descartes),他提出:「我思,我在。」(Cogito, ergo sum)。史賓諾莎(B. Spinoza)及萊布尼茲(G. Leibniz)是最重要的理性主義者。
講者:陶國璋(中文大學哲學系客座助理教授)、劉創馥(中文大學哲學系副教授)
即時聊天室:http://goo.gl/ToDqof
謎米香港 www.memehk.com
Facebook:www.facebook.com/memehkdotcom
rationalism 在 不假掰讀者過日子 Facebook 的最佳貼文
「我們永遠不要放棄想像世界最合乎理性的樣子。」(Man darf nie aufhören, sich die Welt vorzustellen, wie sie am vernünftigsten wäre.)只有能夠想像更好的世界,才能給予我們改造這個世界的能力與勇氣。
https://news.readmoo.com/2021/08/18/rationalism/
rationalism 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
เซนต์ โทมัส อไควนัส: ธรรมชาติของกฎหมายคือ เหตุผลของพระเจ้า
เซนต์ โทมัส อไควนัส (ST.Thomas Aquinas) (1226 – 1274) เป็นนักบวชและนักปรัชญา
ชาวอิตาเลียน ผู้สร้างงานนิพนธ์ชิ้นสำคัญ เรื่อง “Suma Theologica” ซึ่งเป็นการเชื่อมวิธีคิดแบบเหตุผลนิยม (Rationalism) กับเจตนานิยม (Voluntarism) เข้าด้วยกันโดยนำเอาปรัชญาของอริสโตเติล มาสังเคราะห์กับปรัชญาทางคริสต์ศาสนา ในขณะที่อริสโตเติล ยืนยันว่ามนุษย์สามารถค้นพบกฎหมายธรรมชาติได้โดยอาศัย “เหตุผล” ในตัวมนุษย์เอง
อไควนัส ก็ได้พยายามเชื่อมโยงเรื่อง “เหตุผล” (Reason) ดังกล่าวเข้ากับ “เจตจำนง” (Will) ของพระเจ้า โดยถือว่า การนำเอาเหตุผลของมนุษย์มาเชื่อโยงกับหลักธรรมของพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งเขาเชื่อว่าเหตุผลที่สูงกว่า เป็นเหตุผลที่สมบูรณ์ถูกต้องมากกว่าในการใช้เป็นเครื่องมือค้นหากฎหมายธรรมชาตินั้นปรากฏอยู่ใน “เหตุผลของพระเจ้า” (Divine Reason) หรือ “เจตจำนงของพระเจ้า” ซึ่งถือว่ามีความบริสุทธิ์ถูกต้องมากกว่า “เหตุผลของมนุษย์” ซึ่งอาจมีความผิดพลาดได้และจากจุดนี้เองที่ทำให้เขาสรุปว่า “หลักธรรมโองการหรือเจตจำนงพระเจ้าคือที่มากฎหมายธรรมชาติ” (Christian Natural Law)
อไควนัส ได้กล่าวถึง กฎหมายประเภทต่างๆโดยรับเอาการแบ่งประเภทของกฎหมายของ ออสติน มาอธิบายและให้ความหมายในการแบ่งแยกประเภทของกฎหมายโดยเชื่อมระหว่าง “เหตุผล” เข้ากับ “เจตจำนงของพระเจ้า” ออกเป็น 4 ประเภท ตามลำดับชั้นทางกฎหมาย คือ กฎหมายนิรันดร กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ และ กฎหมายของมนุษย์ ดังนี้
กฎหมายนิรันดร (Lex aeterna / EternalLaw) จัดว่าเป็นกฎหมายสูงสุด ซึ่งเป็นเหตุผลหรือปัญญาอันอันศักดิ์สิทธิ์ที่คอยบงการความเคลื่อนไหวหรือการกระทำทั้งปวงในจักรวาล และมีเพียงพระเจ้าเท่านั้นที่ล่วงรู้ถึงกฎหมายนี้มนุษย์ทั่วไปอาจหยั่งรู้ได้โดยตลอด
กฎหมายธรรมชาติ (Lex naturalis / Natural Law) กฎหมายธรรมชาติถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายนิรันดรที่สามารถเข้าถึงได้โดยอาศัย “เหตุผล” อันเป็นคุณสมบัติธรรมชาติที่พระเจ้าประทานให้ ซึ่งมีหลักธรรมอันเป็นมูลฐานที่สุดก็คือ “การทำความดีและละเว้นความชั่ว” ที่มีอยู่ภายในตัวของเราเอง
กฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ (Lex divina / Divine Law) หมายถึง กฎเกณฑ์หรือหลักธรรมต่าง ๆ ที่ถูกจารึกไว้ในคัมภีร์ไบเบิล (Bible)
กฎหมายของมนุษย์ (Lex humana / Human Law) หมายถึง กฎหมายที่มนุษย์บัญญัติขึ้นมาใช้ในสังคม ซึ่งอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายที่สูงกว่าก่อนหน้า อไควนัส เห็นว่าหากกฎหมายของมนุษย์เรื่องใดที่ไม่เป็นธรรมและขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ ย่อมไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย แต่เป็นความวิปริตของกฎหมายซึ่งอยู่หางไกลจากลักษณะของกฎหมายที่มีจุดมุ่งหมายให้พลเมืองเป็นคนดี
อไควนัส เห็นว่ากฎหมายที่ไม่เป็นธรรมอาจเกิดขึ้นได้หลายกรณี อาทิเช่น
1. กฎหมายมิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ส่วนรวม แต่หากเป็นการตอบสนองต่อกิเลสตัณหาของผู้ออกกฎหมาย
2. กฎหมายบัญญัติขึ้นเกินกว่าอำนาจของผู้ออก
3. เป็นกฎหมายที่กำหนดภาระแก่คน อย่างไม่เสมอภาค
ข้อ 1 – 2 ซึ่ง อไควนัส ถือเป็นโมฆะโดยเด็ดขาดและประชาชนไม่จำต้องคารพเชื่อฟังข้อ 3 หากยึดเอาคุณธรรมเรื่องความรอบคอบเป็นหลักแล้วประชาชนอาจจำต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมเช่นนี้
เพื่อความเป็นธรรมในการหลีกเลี่ยงความสับสนวุ่นวายในสังคม
การแบ่งแยกกฎหมายออกเป็น 4 ประเภทนี้ จึงนับว่าเป็นการประนีประนอม ระหว่างความคิดของกรีกกับความคิดของคริสเตียน และได้แก้ปัญหาลำดับชั้นของกฎหมาย ซึ่งมีมาแต่โบราณว่าความยุติธรรมตามธรรมชาติ กับ ความยุติธรรมที่มนุษย์สมมุติขึ้น (กฎหมายที่บัญญัติขึ้น) ควรจะมีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดย อไควนัส ได้เน้นว่า “กฎหมายมนุษย์จะต้องสอดคล้องกับกฎหมายธรรมชาติ ถ้ากฎหมายมนุษย์ขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายมนุษย์ไม่มีค่าเป็นกฎหมาย” เป็นการเน้น “หลักกฎหมายลำดับสูงกว่า” (Higher law) กล่าวคือ กฎหมายธรรมชาติและกฎหมายศักดิ์สิทธิ์เป็นกฎหมายที่สูงกว่ากฎหมายบ้านเมืองของมนุษย์ถ้ากฎหมายบ้านเมืองเองขัดต่อกฎหมายธรรมชาติ หรือขัดต่อกฎหมายอันศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายนั้นย่อมไร้ผลและราษฎรย่อมมีสิทธิไม่เชื่อฟังผู้ปกครองได้ (The Right of Disobedience) ทั้งนี้เพราะราษฎรย่อมมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายธรรมชาติและกฎหมายศักดิ์สิทธิ์เหนือสิ่งอื่นใด
ความคิดของ อไควนัส จึงมีฐานะเสมือนข้อต่อทางความคิดกฎหมายธรรมชาติที่เน้นความสำคัญของ เหตุผล ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรีก คือ ตั้งแต่ เพลโต อริสโตเติล สโตอิคและสมัยโรมันถ่ายทอดต่อมาในสมัยกลางอย่างไม่ขาดสาย และส่งทอดต่อไปจนถึงสมัยใหม่ในภายหลังอย่างไม่ขาดตอน
rationalism 在 北歐心科學 NordicHearts Facebook 的最佳解答
新無神論四騎士之一的Sam Harris,講起意識、信仰和傳統:
「活著,活出生命比單單理解事實重要。無誤,不是人生追求的終極目標。」
“We need to live our lives with more than just understanding facts,” he says. “Not being wrong is not the ultimate state of being for people in this life.”
「我們存在並體會世界的每刻,並啟發於意識密秘與深刻的特性。當你細心留意,就開始發現會很多和宗教先驅聲稱的有所共鳴。」
//“That we’re here and experiencing the world at each moment in the light of our consciousness is a deeply mysterious and profound fact, which, the more you pay attention to it, the more your experience begins to echo some of the claims of religious patriarchs and matriarchs down the ages.”
...Despite all this, when I ask him what this spirituality answers to in his character, he says something I find quite unexpected.
“We need to live our lives with more than just understanding facts,” he says. “Not being wrong is not the ultimate state of being for people in this life.”
Perhaps that’s right, or ought to be, but it’s hard to think of someone who seems more determined not to be wrong than Harris. It’s not that he’s bombastic or overbearing, but in his understated delivery, he is remarkably persistent in making his case.
全文:https://www.theguardian.com/books/2019/feb/16/sam-harris-interview-new-atheism-four-horsemen-faith-science-religion-rationalism