[爆卦]probationary pronunciation是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇probationary pronunciation鄉民發文沒有被收入到精華區:在probationary pronunciation這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 probationary產品中有4篇Facebook貼文,粉絲數超過11萬的網紅Hi家教 在家學外語,也在其Facebook貼文中提到, 撰寫履歷/面試/多益考試 超實用單字片語 🗒résumé (N.) 履歷 I've read your résumé. Very impressive. 我已經看過你的履歷了,非常出色。 🧾resignation (N.) 辭呈 Steven handed in my resignation t...

 同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過41萬的網紅Rinozawa,也在其Youtube影片中提到,2014年2月17日/Y:2歳3ヶ月/R:4歳8ヶ月 It is the announcement of her new song. LOL There is a probationary dancer aside. 定まってないな(笑) ☆お下品な歌Rino http://youtu.be/Z...

  • probationary 在 Hi家教 在家學外語 Facebook 的最讚貼文

    2020-06-04 18:00:02
    有 17 人按讚

    撰寫履歷/面試/多益考試
    超實用單字片語

    🗒résumé (N.) 履歷
    I've read your résumé. Very impressive.
    我已經看過你的履歷了,非常出色。

    🧾resignation (N.) 辭呈
    Steven handed in my resignation this morning.
    Steven 今早已提離職。

    💰starting salary 起薪
    My starting salary as a newly qualified teacher wasn't enough to support a family.
    身為一名新進教師,我的起薪不足以養家糊口。

    🤠hire (N.) 僱用、錄取
    I was hired by the first company I applied to.
    我被第一次面試的公司錄取了。

    🧐probationary period 試用期
    I am satisfied the starting wage in this company, but there is a probationary period.
    我對這間公司的起薪非常滿意,但卻有試用期。
    --------------------------------
    更多單字這裡學
    https://reurl.cc/exmEQx

  • probationary 在 喬寶寶 Qbobo Facebook 的最佳貼文

    2017-09-24 19:45:07
    有 79 人按讚


    Learn more gain more-

    The first Sikhs(Indian) arrived in Hong Kong in 1841 and formed part of the British forces present at the ceremony proclaiming Hong Kong a British colony at Possession Point. There were 2,700 Indian troops were present at the flag raising ceremony according to a book by K.N. Vaid (HK University) and note No.41 of the article by Caroline Pluss, therefore the Indians was once a majority in Hong Kong in 1841. The Police Force was established in 1844 with 35 British and Sikhs policemen. In 1867, 100 more Sikhs was recruited from Punjab on the request of the Governor of Hong Kong to serve in the Police force. A few thousand Sikhs moved to Hong Kong during the years 1867 to 1930 as members of the British Indian Army or came to serve as policemen, civil servants, security personnel and other posts. By 1930 there were over 7,000 Indians, most of them Sikhs, in Hong Kong. In 1960 the estimated number had increased to around 20,000 Indians. In 2000 the estimated number of Indians was 30,000 and about 10,000 of them were Sikhs.Hong Kong’s non-Chinese ethnic minorities form a vibrant and colourful community comprising both new immigrants and those who have lived in the city for generations.

    【警察學院結業會操】
    「 能夠成為一位香港警察是我自小的夢想,希望能夠加深市民對非華裔人士的了解」- 見習督察 Deep

    經過警察學院訓練嘅洗禮,阿Deep同埋其他結業學員服務市民嘅心將會更加堅定!

    "It was my childhood dream to become a police officer in Hong Kong. I hope the citizens can know more about non-ethnic Chinese." - Probationary Inspector Singh Gimandeep

    Having gone through the tough Police training, Gimandeep and his fellow squad mates will serve our community with pride and care!

    #香港警察 #結業會操 #招募 #服務 #實踐抱負 #寶石計劃 #非華裔人士

  • probationary 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文

    2015-09-21 09:03:17
    有 18 人按讚

    ระบบศาลของประเทศเกาหลีใต้

    ศาลฎีกา
    ศาลฎีกาเป็นศาลสูงสุดของประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงโซล ประกอบด้วยประธานศาลฎีกาและผู้พิพากษา จำนวน 13 คน ในการพิจารณาคดีของศาลฎีกา อาจจะมีการร่วมพิจารณาคดีกันทั้งคณะ หรือแยกออกเป็นคณะเล็กที่ประกอบด้วยผู้พิพากษาคณะละ 4 คนศาลฎีกาทำหน้าที่ในการพิจารณาคดี ที่มีผู้ไม่เห็นด้วยกับคำตัดสินของศาลสูง (high court) ศาลอุทธรณ์ และศาลชั้นต้น รวมทั้งตัดสิน เพื่อรับรองผลการเลือกตั้งทั่วไป และการเลือกตั้งประธานาธิบดี อีกทั้ง มีอำนาจในการตรวจสอบ ขั้นสุดท้ายทางด้านกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา กฎระเบียบ หรือข้อกำหนดในการบริหารราชการต่างๆ
    ศาลฎีกาสามารถออกกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับระเบียบการภายในของศาลฎีกา ได้แก่แนวการบริหารของศาล และกระบวนการพิจารณาคดีความ ในการยื่นคดีต่อศาลฎีกาให้พิจารณาคดีนั้น จะต้องมีหลักฐานแน่ชัด ตรงตามแนวปฏิบัติ กล่าวคือ สำหรับคดีแพ่งต้องมีข้อกำหนดทางกฎหมาย โดยรัฐธรรมนูญอนุญาตให้ศาล ชั้นต้นสามารถตัดสินความในระดับหนึ่งก่อน ส่วนคดีอาญานั้น การที่จะยื่นคดีต่อศาลฎีกาได้ก็ต่อเมื่อเป็นคดี ที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ หรือต่อกฎหมาย เช่น เรื่องการทำแท้ง (abolition) หรือการกลับคำพิพากษาตัดสินลงโทษ ที่มีการรวบรวมหลักฐานผิดพลาดอย่างเห็นได้ชัด หรือเป็นกรณีที่ถูกลงโทษจำคุกที่ไม่สมเหตุสมผล เพื่อที่จะช่วยให้ผู้พิพากษาทำงานในคดีความที่มีออกมากมายมหาศาลนั้น ผู้พิพากษานักวิจัย (research judges) ที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้พิพากษาสูงจะศึกษาคดีและวินิจฉัยเบื้องต้นก่อน โดยผู้พิพากษาวิจัยกลุ่มละ 2 คน ทำงานในแต่ละคดี ปัจจุบัน ผู้พิพากษานักวิจัยดังกล่าวมีจำนวนทั้งสิ้น 20 – 30 คน
    ศาลอุทธรณ์
    ศาลอุทธรณ์ประกอบด้วยประธานผู้พิพากษา และผู้พิพากษาร่วมอีก 3 คน ทำ หน้าที่ในการ พิจารณาคดี ที่ได้รับการ อุทธรณ์ภายหลังที่ได้รับการตัดสินจากศาลชั้นต้นและศาลครอบครัว ทั้งที่เป็นคดีแพ่งและคดีอาญา คดีการปกครอง หรือคดีอื่นใดที่ได้ระบุไว้ในกฎหมาย ศาลอุทธรณ์ในเกาหลีใต้มี 5 แห่ง ตั้งอยู่ที่กรุงโซล เตกู กวางจู ปูซานและเตจอน ในการพิจารณาคดีนั้น ศาลอุทธรณ์จะรื้อฟื้นการพิจารณาคดีใหม่อีกครั้ง ซึ่งคำตัดสินอาจจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับการตัดสินของศาลชั้นต้นก็ได้
    อนึ่ง ศาลอุทธรณ์เท่านั้นที่สามารถตัดสินคดีความที่บุคคลหรือองค์กร ทำการฟ้องร้องในผลการตัดสิน หรือคำสั่งของหน่วยงานราชการ หรือฟ้องร้องในเรื่องการถูกถอดถอนให้ออกจากตำแหน่งได้
    ศาลชั้นต้น
    ศาลชั้นต้นทำหน้าที่ในการพิจารณาตัดสินคดีทั่วไปแทบทุกคดี ปัจจุบัน ศาลชั้นต้นตั้งอยู่ที่กรุงโซล และในเมืองหลักอีก 12 เมือง ศาลชั้นต้นในกรุงโซลแบ่งออกเป็น 2 ศาล คือ ศาลแพ่งแห่งกรุงโซล และศาลอาญาแห่งกรุงโซลตามปกติ ในการพิจารณาคดีของศาลชั้นต้นนั้น จะมีผู้พิพากษา 1 คน ทำหน้าที่ดังกล่าว ยกเว้นเป็นคดีร้ายแรง เช่น คดีแพ่งที่มีมูลค่าทรัพย์สินตั้งแต่ 50 ล้านวอน (37,000 เหรียญสหรัฐ) ขึ้นไป หรือคดีอาญาที่จะต้อง ตัดสินให้ผู้ต้องหาต้องโทษประหารถึงชีวิตที่จะมีคณะผู้พิพาษาพิจารณาคดีร่วมหลายคน
    ศาลชั้นต้นมีสาขาศาล หรือเรียกว่า ศาลชั้นต้นสาขาย่อย ที่ให้ผู้พิพากษาพิจารณาคดี 1 คน ซึ่งมีอยู่จำนวน 42 แห่ง และมีศาลเทศบาลอีก 105 แห่ง (นับจนถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 1998) เป้าหมายของศาลชั้นต้นสาขาย่อยก็คือ ดำเนินการพิจารณาคดีเช่นเดียวกับงานของศาลชั้นต้นทั่วไป ส่วนศาลเทศบาลทำหน้าที่บริการ ทางด้านกฎหมายแก่ประชาชน

    ดังนั้น จะเห็นได้ว่า ศาลชั้นต้นสาขาย่อยและศาลเทศบาลทำหน้าที่ใน การตัดสินคดีความเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การทะเลาะวิวาท การหย่าร้าง หรือคดีที่มีการยอมความกันได้
    ศาลครอบครัว
    ศาลครอบครัวทำหน้าที่พิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงาน คดีเยาวชน หรือคดีในครอบครัวศาลครอบครัว จะไม่เปิดให้คนทั่วไปเข้ารับฟังเพราะต้องการสงวนคดีความที่เป็นเรื่องส่วนตัวปัจจุบัน ศาลครอบครัวตั้งอยู่ ในกรุงโซลแห่งเดียว ส่วนท้องที่อื่นจะให้ศาลชั้นต้นทำหน้าที่แทน
    ศาลปกครอง (administrative court)
    ศาลปกครองเปิดทำการครั้งแรกที่กรุงโซล ในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1998 เพื่อพิจารณาคดีเรื่องราวเกี่ยว กับการปกครองเท่านั้น ศาลชั้นต้นที่ตั้งอยู่นอกกรุงโซลจะทำหน้าที่พิจารณาคดีเรื่องการปกครอง
    ศาลสิทธิบัตร (Patent court)
    ศาลสิทธิบัตรเริ่มเปิดครั้งแรกในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1998 ที่เมือง เตจอน ทำหน้าที่ในการพิจารณา ข้อพิพาทด้าน สิทธิบัตร ที่ได้รับการส่งขึ้นมาจากงานสิทธิบัตร หรือเป็นตัวกลางในการพิจารณาเรื่อง นี้ก่อนที่จะส่งต่อให้ศาลฎีกาเพื่อตัดสินขั้นสุดท้าย อย่างไรก็ตาม ศาลชั้นต้นทั่วไปก็สามารถ พิจารณาคดีข้อพิพาทด้านสิทธิบัตรได้เช่นกัน
    ศาลทหาร (Courts – martial)
    ศาลทหารทำหน้าที่พิจารณาตีความของทหารและข้าราชการพลเรือนที่ทำงานในกองทัพที่กระทำผิด เช่น คดีความผิดฐานกบฏ การหนีทหาร การไม่เชื่อฟังคำสั่ง หรือการกระทำผิดทางอาญา ส่วนพลเรือนที่ต้องขึ้นศาล ทหารต่อเมื่อกระทำผิดในเรื่องการจารกรรมทางทหาร การเข้าไปแทรกแซงกิจการของทหาร หรือคดีที่ได้ระบุไว้ใน กฎหมายอย่างชัดแจ้ง

    คุณสมบัติและการแต่งตั้งผู้พิพากษา
    ประธานศาลฎีกา และผู้พิพากษาศาลฎีกาจะต้องมีอายุ 40 ปีขึ้นไป และมีประสบการณ์ในหน้าที่ผู้พิพากษา อัยการ หรือนักกฎหมายมาแล้วไม่น้อยกว่า 15 ปี ส่วนผู้พิพากษาในศาลอื่นๆ จะต้องสอบผ่านเนติบัณฑิต (Judicial Civil Service Examination) และได้รับการอบรมที่ สถาบันวิจัยตุลาการ (Judicial Research and Training Institute) เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี รวมทั้งต้องเข้ารับตำแหน่งทำหน้าที่เป็นผู้พิพากษาทดลอง (probationary judge) เป็นเวลา 2 ปีอีกด้วย หรือจะต้องได้รับการรับรองว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอัยการ หรือเป็นนักกฎหมายที่เชี่ยวชาญ (qualified prosecutor / lawyer)
    ประธานศาลฎีกาได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีตามความเห็นชอบของรัฐสภา ส่วนผู้พิพากษาศาล ฎีกาท่านอื่นๆ ได้รับการแต่งตั้งจากประธานาธิบดี โดยการเสนอของผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ผู้พิพากษาศาลที่ต่ำลง มาได้รับการแต่งตั้งจากผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
    วาระการดำรงตำแหน่งเท่ากับ 6 ปี แล้วจะไม่ได้รับการแต่งตั้งซ้ำอีก อนึ่ง ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจะต้องออกจาก ตำแหน่งเมื่ออายุได้ 70 ปี ส่วนวาระการดำรงตำแหน่งของคณะเท่ากับ 6 ปีเท่ากัน และอาจได้รับตำแหน่ง ต่อไปอีกภายใต้ระเบียบ ของกฎหมายที่กำหนด แต่จะต้องออกจากตำแหน่งเมื่ออายุครบ 65 ปี ส่วนอายุเกษียน ข้าราชการของผู้พิพากษาอื่นๆ เท่ากับ 63 ปี
    การค้ำประกันสถานภาพ เพื่อให้สามารถตัดสินคดีความได้อย่างเป็นอิสระ ผู้พิพากษาได้รับการคุ้มครอง การทำงานจากรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาจะไม่ถูกถอดถอนออกจากตำแหน่ง เว้นแต่จะถูกไต่สวนถอดถอน (impeachment) หรือกระทำผิดทางอาญา ในขณะเดียวกัน ผู้พิพากษาจะไม่ถูกให้สำรองราชการ หรือลดเงินเดือน เว้นแต่จะได้รับการตัดสินจากอนุญาโตตุลาการ
    การบริหารงานของฝ่ายตุลาการ
    ศาลฎีกามีอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานด้านตุลาการอย่างกว้างขวาง ประธานศาลฎีกาจะรับผิดชอบ ต่องานบริหารของศาลทุกประเภท และจะเขียนคำร้องไปยังรัฐสภาเพื่อ ให้ออกเป็นกฎหมาย หากเห็นว่ามีความจำเป็น งานบริหารของฝ่ายตุลาการอาจจำแนกได้ดังนี้
    1.คณะผู้พิพากษาศาลฎีกา ประกอบด้วยผู้พิพากษา 14 คน และมีประธานศาลฎีกาเป็นหัวหน้า ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาหารือเพื่อแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลในระดับต่ำลงมา สร้างกฎระเบียบของศาลฎีกา พิจารณาการแปรงบประมาณ หรือข้อกำหนดอื่นใด รวมทั้งเรื่องราวที่สำคัญๆ
    กระทรวงการบริหารงานตุลาการ (Ministry of Court Administration) กระทรวงยุติธรรมจะ ทำหน้าที่ในการดำเนินงานทางด้านธุรการในศาลตามมติของคณะผู้พิพากษาศาลฎีกา ประธานศาลฎีกาจะเป็น ผู้แต่งตั้งรัฐมนตรีของกระทรวงนี้ โดยเลือกจากผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่งทำหน้าที่ กระทรวงนี้แบ่งงานออก เป็นสำนักวางแผน สำนักการวิจัยนโยบายตุลาการ สำนักบริหารบุคคล และ 4 กรม (Litigation, Property and Family Registry, Court Construction, General Affairs) รวมทั้งฝ่ายประชาสัมพันธ์
    2.สถาบันวิจัยทางตุลาการ และฝึกอบรม (Judicial Research and Training Institution) เป็นสถาบันเดียวที่ให้การศึกษา (the bench) และเนติบัณฑิต (the bar) ในเกาหลี โดยให้ความ รู้ทางทฤษฎีและการฝึกหัดแก่ผู้ฝึกหัด ที่ผ่านข้อสอบเนติบัณฑิต (Judicial Civil Service Examination) แล้ว สถาบันแห่งนี้มีหลักสูตร 2 ปี ในการฝึกอบรมผู้ที่จะก้าวขึ้นเป็นนักกฎหมายอาชีพ ในขณะเดียวกัน สถาบันแห่งนี้เป็นแหล่งให้ผู้พิพากษาใช้เป็นสถานที่เพิ่มพูนความรู้และทำการว่าจ้างทางด้านกฎหมายอีกด้วย

你可能也想看看

搜尋相關網站