[爆卦]parasocial synonym是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇parasocial synonym鄉民發文沒有被收入到精華區:在parasocial synonym這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 parasocial產品中有4篇Facebook貼文,粉絲數超過20萬的網紅Plakung,也在其Facebook貼文中提到, บทความนี้ดีครับ ยาวหน่อยแต่ถือเป็นมุมมองใหม่ในไทย เกี่ยวกับสื่อ และ การทำข่าวครับ ***เราควรเรียนรู้อะไรจากสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับเหตุการณ์กราดยิงต่า...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • parasocial 在 Plakung Facebook 的最讚貼文

    2020-02-10 10:49:06
    有 25 人按讚


    บทความนี้ดีครับ ยาวหน่อยแต่ถือเป็นมุมมองใหม่ในไทย
    เกี่ยวกับสื่อ และ การทำข่าวครับ

    ***เราควรเรียนรู้อะไรจากสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับเหตุการณ์กราดยิงต่างๆ: ขอความร่วมมือสื่อทีวี นสพ. ไม่ลงรูปหรือคลิปคนร้ายเหตุการณ์วันนี้ที่โคราช ***

    หากใครตามข่าวสำนักอเมริกา จะเห็นว่าหลายๆปีที่ผ่านมา เขาเลิกลงรูปคนร้ายเหตุการณ์สะเทือนขวัญเหล่านี้กันแล้ว

    นั่นเพราะผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและอาชญากรรม
    ออกมาเตือนกันมากมายถึงพฤติกรรมเลียนแบบ

    ซึ่งจากการวิเคราะห์อันมากมายของนักวิจัยในอเมริกา
    มันเป็นเรื่องจริง ... จะด้วยเหตุบังเอิญหรือไม่ก็ตาม
    ที่เหตุการณ์กราดยิงปล้นร้านทองในไทย
    ที่สื่อได้ให้ความสนใจอย่างมากไม่นานมานี้

    ยิ่งในยุคสื่อดิจิตอลด้วยแล้ว จะมีคนที่มีความคิดไม่ดีอยู่แล้วมองว่า คนร้ายก่อนหน้า ได้รับการพูดถึงมากมาย
    ในสื่อในสังคม เกิดความรู้สึกเชื่อมโยงกับตน (parasocial) ได้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบขึ้น
    หากคนเหล่านั้นเข้าถึงปืนได้

    ต่อไปนี้ แปลเรียบเรียงมาจากบทความวิชาการของอเมริกัน: ในอเมริกานั้น การกราดยิงที่มีการตาย 4 คนขึ้นไป เกิดขึ้นทุกๆ 12.5 วัน โดยเฉลี่ย
    (ตัวเลขถี่เพราะรวมการยิงปล้น แก๊งฆ่ากัน ที่ไม่ค่อยเป็นข่าวด้วย)

    ...นักวิจัยกล่าวว่า พฤติกรรมของคนร้ายในสื่อทีวี นสพ.
    ยิ่งคนในสังคมรู้เยอะ และวิธีการรายงานข่าวที่ไม่ถูกต้อง จะสามารถนำไปสู่พฤติกรรมเลียนแบบ

    นักวิเคราะห์ใช้ศัพท์เช่น “copycat” หรือ “contagion effect” อันหลังนี้ปรากฏการณ์เดียวกับ
    การกินจุเกินเหตุ การฆ่าตัวตายตาม การเลิกบุหรี่
    หรือการปล้นเครื่องบิน(ตามข่าว)

    ... มีหลักฐานในอเมริกาว่า หากเกิดข่าวใหญ่เรื่องยิงกราด ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์ต่อไปมีสูงมากตามมา

    รูปสามและรูปสองนี้แสดงว่า เหตุการณ์ยิงกราดมักเกาะกลุ่มกัน เกิดใกล้กัน พิสูจน์ว่าอิทธิพลการประโคมของสื่อนั้นมีผล

    ..งานวิจัยปี 2015 พบว่าหากมีเหตุกราดยิงแล้วมีทวิตเตอร์คำว่า “กราดยิง” มากกว่า 10 ทวิตต่อล้านทวิต ความน่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์ที่สองภายใน 7 วันเพิ่มขึ้นกว่า 50%

    พฤติกรรมเลียนแบบ (imitation) เกิดขึ้นเพราะคนร้าย
    (ที่จิตใจป่วยไม่เสถียรเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว) รู้สึกว่าคนร้ายก่อนหน้าในข่าวดัง มีความคล้ายตน โดยเฉพาะอายุและเพศ และข่าวลงแนวว่า เขามีความสามารถ
    (ในการปล้นหรือทำร้ายคนอื่น)

    ... ข่าวต่างๆที่ ลงรายละเอียดเหตุการณ์ ลงรูปคนร้าย
    ชีวิตคนร้าย งานวิจัยพบว่าส่งผลต่อพฤติกรรมเลียนแบบโดยตรงต่อเคสต่อๆไป

    .. นักจิตวิทยาอาชญากรรมพบว่า คนร้ายยิงกราดมักรู้สึกอารมณ์หลุดเมื่อได้เห็นในสื่อต่างๆ รู้สึกได้มีสังคมเหมือนกับมัน ว่ามีคนที่คิดเช่นเดียวกันกับมัน และรู้สึกเกิดแรงบันดาลใจให้ลงมือ คนพวกนี้มักว้าเหว่ และมองหาความสัมพันธ์แบบ parasocial หรือความเชื่อมโยงกับคนอื่นๆที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน ซึ่งคนพวกนี้จะเกิดความรู้สึก parasocial ได้ง่าย

    หากสื่อลงรายละเอียดชีวิตของคนร้ายคนก่อน เห็นหน้าค่าตาในสื่อ (อันนี้จริง เคยมีคนร้ายไม่นานมานี้ ที่มหาลัยอิลลินอย จบ ป โท วิทย์ ด้วยซ้ำจากมหาลัยนี้ แต่ลักพาตัวและฆ่า นศ สาวจากจีน ตำรวจพบหลักฐานว่ามันคุย และ
    แช๊ตกับพวกที่โรคจิตเหมือนกันในเน็ทก่อนและหลังทำ
    เป็นสังคมกลุ่มออนไลน์ลับ บางคนก็จินตนาการ
    เพ้อวาดหวังว่าจะทำ โลกเรานี้มีคนแย่ๆพวกนี้อยู่ทุกที่)

    หากข่าวลงอย่างโหมกระหน่ำ คนร้ายกราดยิงจะเป็นที่รู้จักเพราะความดัง (แม้จะในทางลบในมุมมองของคนทั่วไป)
    ที่สื่อมอบให้ หากชีวิตของคนร้ายถูกแจงรายละเอียด

    คนที่จิตใจโหดร้ายอยู่เป็นทุนเดิมจะรู้สึก relate รู้สึกเหมือนตนเอง การที่ได้แถลงข่าวกับตำรวจ ทำแผน
    เป็นข่าวดัง และรายงานข่าวถี่ๆ ว่าคนตายไปเท่าไหร่แล้ว คนร้ายเหล่านี้จะรู้สึกเป็นรางวัลของความรุนแรงที่พวกมันได้ทำและอยากทำ

    งานวิจัยแนะนำว่า สื่อสามารถช่วยลดพฤติกรรมการเลียนแบบของคนร้ายได้โดยวิธีที่นำเสนอข่าว ซึ่งกลยุทธิ์ที่สื่อควรใช้นั้นมีประสิทธิภาพในการลดพฤติกรรมฆ่าตัวตายเลียนแบบมาแล้ว

    ซึ่ง 50 ปีที่ผ่านมา องค์การอนามัยโลก ได้ให้หลักการแก่สื่อต่างๆในการรายงานการฆ่าตัวตายของคน ซึ่งได้ผล เช่น ขอให้สื่อไม่ลงข่าวถี่เกินไป ไม่ลงหัวข่าวตัวโตๆ

    (นสพ) ไม่เขียนข่าวดัดแปลงให้ตื่นเต้น ไม่ชี้แจงรายละเอียดยิบว่าฆ่าตัวตายยังไง อย่าลงรูป คลิปมาก
    และยิ่งคนดังดารา ต้องระวังมากเป็นพิเศษ

    .... อ่านแล้ว เราก็ลองคิดกันดูนะว่า เหตุการณ์ยิงปล้นร้านทองนั้น สื่อออกไปทางรูปแบบไหน ส่งผลต่อเหตุการณ์ในไทยต่อๆมาหรือไม่

    จริงๆแล้ว ในอเมริกา กำลังมีไอเดียมากขึ้นๆไม่นานมานี้ ทั้ง FBI ก็เป็นตัวตั้งตัวตีว่า อย่าลงชื่อคนร้ายในสื่อ
    ด้วยซ้ำไป (หรือทำให้น้อยที่สุด เพราะบางฝ่ายก็บอกว่าจำเป็นต้องลงบ้าง)

    อย่าให้มันมีพื้นที่ในสื่อ อย่าขุดคุ้ยเรื่องราวชีวิตพวกมันมาประโคมเผยแพร่ และสื่ออย่าทำให้เป็นเรื่องโอโห อื้อหือ เกินเหตุ เพราะข่าวขายได้ (sensationalism)
    และอย่าลงการแถลงคำพูด คลิปสารภาพผิด ฯลฯ

    ... กลยุทธิ์นึงที่สื่อควรใช้คือ พูดถึงการกระทำของคนร้ายในแง่ลบเสมอ และเน้นย้ำถึงความน่าอับอายและขึ้ขลาดของการกระทำของมัน และอีกอย่างคือ อย่าลงข่าวถึงเหตุผล/ตรรกะอันละเอียดยิบว่าทำไมคนร้ายลงมือทำ เพราะคนร้ายคนต่อๆไป มันจะรู้สึก relate กับตัวเอง

    กลยุทธิ์อื่นๆเช่น อย่าลงข่าวนี้นานไป และอย่ามีการประโคมสื่อแบบไลฟ์หลังเหตุการณ์นัก
    (แต่ฉันมองว่าสื่อคงมองเห็นเงินสำคัญกว่า กลยุทธิ์ที่เราจะไม่ให้พื้นที่สื่อแก่คนร้าย) ควรเขียนข่าวสั้นๆ กระชับ
    และอย่าไปทำอนิเมชั่น สร้างเหตุการณ์ให้ดูซ้ำแล้วซ้ำอีก จะนำไปสู่พฤติกรรมเลียนแบบทั้งสิ้น

    อเมริกาได้รับบทเรียนที่ผ่านมามากพอ นักวิจัยพบว่า
    ในอดีต สื่อลงรูปคนร้ายบ่อยกว่า 16 เท่าของรูปผู้เสียชีวิต ซึ่งไม่ได้ดีเลย แต่แนวโน้มนั้นกำลังเปลี่ยนไปเหลือแค่
    2 เท่า (จริงๆแล้วควรน้อยกว่านี้อีก)

    Side note: เอาจริงๆ คนที่สติไม่ดี โหดร้ายต่อเพื่อนร่วมโลกมันมีอยู่ทุกประเทศ แต่ที่อเมริกาเกิดเหตุการณ์กราดยิงบ่อย นั่นเพราะว่าการเข้าถึงปืนที่ง่าย ด้วยนโยบายของประเทศและรัฐที่ผ่านๆมา แต่ในประเทศอื่นๆ แถวเอเซียเรา คนร้ายที่ใช้มีดไล่ทำร้ายคนอื่นก็มีให้เห็นพอสมควร
    พวกนี้อาจไม่ค่อยเป็นข่าวดังเพราะการสูญเสียที่น้อยกว่า สื่อไม่ให้ค่านัก

    แอดมินขอแสดงความเสียใจอย่างที่สุดต่อครอบครัวผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ ขอประนามพฤติกรรมอันขี้ขลาดอ่อนแอของคนร้ายทุกคนไม่ว่าครั้งไหน และขอให้สื่อไทยมีจรรยาบรรณ และเอาประสบการณ์ของสื่อในสหรัฐฯ ที่เรียนรู้
    (เมื่อสาย) เป็นแบบอย่าง เพื่อสังคมเราที่ดีขึ้นค่ะ

    ...จริงๆ ถ้าเป็นไปได้ หากมีข่าวลงน้อยลง ไม่ให้ค่าราคากับเรื่องราวชีวิตของคนร้าย แต่โฟกัสไปที่เรื่องราวของผู้เสียชีวิต สื่อในอเมริกาจะเปลี่ยนเป็นแบบนี้มากขึ้น
    จะดีกว่าค่ะ

    ท้ายนี้ เอาคำพูดของ ผอ. FBI มาให้ดู หลังจากการกราดยิงที่ออแลนโด้ ฟลอริด้า

    “You will notice that I am not using the killer’s name and I will try not to do that. Part of what motivates sick people to do this kind of thing is some twisted notion of fame or glory, and I don’t want to be part of that for the sake of the victims and their families, and so that other twisted minds don’t think that this is a path to fame and recognition”

    โดย ไพลิน

    อ้างอิง
    https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5296697/
    https://journals.plos.org/plosone/article…
    https://www.latimes.com/…/mass-shooters-seek-notoriety-in-m…
    https://psmag.com/…/does-naming-the-shooter-in-the-media-le…

  • parasocial 在 CUP 媒體 Facebook 的最讚貼文

    2020-02-04 12:25:01
    有 170 人按讚


    【失去 Kobe 像失去摰友】
    文:Tan Ha Lam

    不論是否 NBA 傳奇球星 Kobe Bryant 的球迷、是否曾對他切齒痛恨,甚至有否打籃球,無可否認,他的離去,總令人感覺缺少了甚麼,也總會想起關於他的記憶。網民連日於社交媒體悼念,有人輕輕惋惜,但更多人淚流不止,猶如失去至親。社會心理學家就解釋為何對很多人來說,失去 Kobe 會悲痛得像失去朋友或親人。

    事故消息一出後,整個美國都在哀悼,個多星期以來,到湖人隊主場館悼念 Kobe 的人仍是絡繹不絕。他的死震驚各界,影響力更是無遠弗屆:音樂盛事格林美頒獎禮和美式足球的「超級碗」均向 Kobe 致敬、總統杜林普及前總統奧巴馬表示慰問,更有從未親身見過 Kobe 的人告訴記者,他感覺像失去家人。

    印第安納大學(Indiana University)心理及大腦科學教授 Edward R. Hirt 撰文,以心理學角度解釋人們與 Kobe 素不相識,卻受其驟然離世困擾、甚至感覺如家人逝世的原因。

    一、熟悉的陌生人

    心理學家 Shira Gabriel 及 Melanie Green 曾撰寫有關「擬社會(Parasocial)聯繫」的文章,闡述我們往往會與陌生人產生單向關係,雖不認識,卻感覺與之緊密相連。例如訪談節目主持人 Oprah Winfrey 及 Ellen DeGeneres 積極與觀眾建立密切的關係,令一直追看其節目的忠實擁躉產生強烈的依戀感。

    此情況近年亦於社交媒體上出現,只要「關注」名人,就可以了解其人際關係、情感、觀點及人生起跌。Kobe 在 Twitter 上擁有超過 1,500 萬關注者,Instagram 更有超過 2,000 萬人關注,而他亦經常於各大平台發佈近況,離世前曾在 Twitter 上分享對 LeBron James 職業生涯得分超越他的喜悅。

    二、悲劇成分

    Kobe Bryant 的意外離世引起了大眾強烈的情緒。他死於濃霧下的直升機意外,可觸發不同的「假設」情況,亦即「反事實思維(Counterfactual thoughts)」。心理學家 Daniel Kahneman 及 Amos Tversky 的研究表明,人們很容易會提出逆轉結果的假設,像是「如果天氣晴朗,Kobe 還可以活著」,使人更容易深化對負面事件的憤怒或悲傷情緒,覺得意外本來不應該發生。

    另外,Kobe 的 13 歲二女兒 Gianna 同在事故中死亡。今季 NBA 比賽中,2 人曝光率極高,Kobe 經常上載與女兒練球的片段,她亦一直被視為 Kobe 的接班人。女籃界失去明日之星、Kobe 的妻子及 3 個女兒頓失兩位至親,令人感覺更為不捨。

    三、對死亡的反思

    根據「恐懼管理理論(Terror management theory)」,意外會提醒人們對死亡的恐懼,從而推動生者做一些更正面的事,例如聯絡疏於問候的親友以尋求安慰。在 Kobe 離世的消息傳出後,前湖人隊友 Shaquille O’Neal 打電話給幾個已疏遠的朋友道歉。他的離去似乎是一個警示:生命短暫,不必拘泥於小事。

    看著 Kobe 在電視上打了 20 年籃球,他彷彿成為很多人的老朋友、偶像、精神領袖,甚至永遠的對手。或者像 LeBron James 在球場致詞時說:「Kobe Bryant(退役時)說『Mamba out(離去)』,對我們來說就是永不忘記,他會活在我們心中。(So in the words of Kobe Bryant, Mamba out. But in the words of us, not forgotten. Live on brother.)」在精神層面上,Kobe 會永遠活著。

    圖片來源:路透社

    詳細全文:
    http://bit.ly/2u756np

    延伸專題:
    【「過去我總是被討厭」—— 傳奇球星 Kobe Bryant】
    http://bit.ly/36AJ9u4
    【敢言大帝 LeBron James 的雙重標準】
    http://bit.ly/35BnaUp
    【紅眼:黑曼巴蛇黑歷史】
    https://goo.gl/t7beoF

    ==========================
    www.cup.com.hk 留下你的電郵地址,即可免費訂閱星期一至五 CUP 媒體 的日誌。

    🎦 YouTube 👉 https://goo.gl/4ZetJ5
    📸 Instagram 👉 www.instagram.com/cupmedia/
    💬 Telegram 👉 https://t.me/cupmedia
    📣 WhatsApp 👉 http://bit.ly/2XdWXqz

  • parasocial 在 COME BACK to ME x 城市養蜂是Bee要的 Facebook 的精選貼文

    2017-06-30 20:32:33
    有 55 人按讚


    多肉大叔的肉肉市集的斷木裡面住著一巢木蜂,他跟木蜂快樂的生活著。 《完》

    沒啦!這個照片是有故事的啦!

    一直在講木蜂也是獨居蜂,但為什麼我們會說住著一巢咧?因為啊木蜂是獨居蜂裡面生活型態相當特殊的種類,她們會有一點點類似社會性蜂的行為。部分種類木蜂媽媽們會住在同一個巢中,甚至會有人管門口。這種行為很像社區生活的概念,廣義來說我們可以稱之為parasocial。是說,有些人討厭木蜂的原因就是她的💩很多,請看右邊大叔拍給我們看的那張就是木蜂的大便🤣

  • parasocial 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • parasocial 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • parasocial 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站