[爆卦]hla-b 1502基因檢測是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇hla-b 1502基因檢測鄉民發文沒有被收入到精華區:在hla-b 1502基因檢測這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 hla-b產品中有10篇Facebook貼文,粉絲數超過4,786的網紅王筱涵醫師。皮膚科的生活內涵。,也在其Facebook貼文中提到, 【藥物過敏的宿命?】 30歲女性因為愛美服用不知名的減肥藥,開始出現發燒、眼睛灼燒感、口腔黏膜潰瘍、皮膚也開始出現大片紅疹,發現她的減肥藥內含有抗癲癇藥物(phenobarbital),最後診斷為嚴重藥物過敏-毒性表皮壞死(TEN)。 - 80歲爺爺因為肺炎住院,需要用到多種抗生素,最後因疾病需要加...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • hla-b 在 王筱涵醫師。皮膚科的生活內涵。 Facebook 的最佳貼文

    2020-12-10 15:09:37
    有 45 人按讚

    【藥物過敏的宿命?】
    30歲女性因為愛美服用不知名的減肥藥,開始出現發燒、眼睛灼燒感、口腔黏膜潰瘍、皮膚也開始出現大片紅疹,發現她的減肥藥內含有抗癲癇藥物(phenobarbital),最後診斷為嚴重藥物過敏-毒性表皮壞死(TEN)。
    -
    80歲爺爺因為肺炎住院,需要用到多種抗生素,最後因疾病需要加上Baktar藥物,五天後出現水泡、嘴破眼睛紅,兩周後如燙傷全身破皮的嚴重藥物過敏反映,最後不幸過世。
    -
    大部分的人對藥物不會過敏,就算過敏都是 #輕微的症狀,例如:皮膚搔癢、局部紅疹,幾小時幾天內就好,只有極少數會出現嚴重不良反應,甚至危及生命。
    -
    哪些人會發作? 哪些藥要小心?
    過敏跟先天的基因(宿命)很有相關性,別人不會,偏偏這個人就會。
    長庚的研究團隊長期致力於基因檢測和疾病早篩,發現不同藥物過敏有其相對的 #特殊基因型。若事先查出可避免用藥。
    -
    抗癲癇藥Carbamazepine對應到 HLA-B*1502
    降尿酸藥allopurinol 對應到HLA-B*5801
    磺胺抗生素baktar對應到HLA-B*1301
    -
    一旦發生了,#趕快停藥最重要!
    如何降低死亡率?我們萬芳皮膚科團隊和台大研究團隊合作進行繁複的網絡統合分析並刊登在第一名的美國皮膚科期刊,目前看來合併使用 #類固醇 和 #免疫球蛋白 是比較有效的。
    -
    在貴桑桑的基因檢查普及化之前,用藥 #安全監控 及 #用藥警覺性 還是最重要。
    -
    認識自己用的藥物,按照醫囑的劑量和時間服藥,不任意停藥、換藥、加藥或使用來路不明的藥物。
    -
    提高用藥警覺性,若服藥後有皮膚紅疹、口腔喉嚨不適、眼睛不適、發燒、呼吸困難等疑似過敏症狀,應立即回診請醫師評估是否為藥物引起的過敏反應。
    -
    如果已知對某些藥物會過敏,可以將藥品名稱註記於健保IC卡,就醫時主動告知醫療人員過敏史,一同為自己的健康把關!

    #王筱涵醫師
    #萬芳皮膚科
    #藥物過敏

  • hla-b 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文

    2020-12-04 18:59:17
    有 6,757 人按讚

    กรณีศึกษา การตรวจ “ยีน” เพื่อหา “ยา” ที่เหมาะสม
    บำรุงราษฎร์ x ลงทุนแมน
    ยา คือ 1 ในปัจจัย 4 ของมนุษย์ เมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย ทุกคนย่อมต้องการรักษาด้วยยา
    เพื่อให้อาการเจ็บป่วยหายดี หรือบรรเทาให้เร็วที่สุด

    แต่รู้หรือไม่ว่า มนุษย์แต่ละคน จะตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาที่แตกต่างกัน
    โดยสิ่งที่ควบคุมการตอบสนองนี้ก็คือ “ยีน”

    ยีน (Gene) คือ หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น สีตา สีผม ไปจนถึงการตอบสนองต่อยา โดยยีนเป็นสิ่งที่เราได้รับถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ และสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานต่อไปได้

    รู้ไหมว่า ในวันนี้ ด้วยเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ที่ก้าวหน้า
    เราสามารถรู้ข้อมูลสุขภาพได้มากกว่าที่เราคาดคิด
    โดยเฉพาะการตรวจยีนเพื่อหา “ยา” ที่เหมาะสมกับตัวเราเอง..

    เรื่องนี้น่าสนใจอย่างไร? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง

    ก่อนอื่น มาทำความเข้าใจกลไกของยาในร่างกายกันสักนิด

    ทุกครั้งที่เรากินยา 1 เม็ด ยาจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และกระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ก่อนที่จะถูกส่งมาที่ตับ

    อย่างที่เราเคยได้ยินกันมาว่า หากกินยามากๆ ตับจะทำงานหนัก
    นั่นเป็นเพราะว่า หน้าที่ของตับ ก็คือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกาย
    และขจัดสารเคมีที่เป็นพิษออกจากร่างกาย

    ซึ่ง ยา ก็เป็นสารเคมีชนิดหนึ่ง..

    ยาบางชนิด มีโครงสร้างทางเคมีที่ยังไม่ออกฤทธิ์ จนกว่าจะถูกลำเลียงมาที่ตับ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูปโครงสร้างที่ออกฤทธิ์ และให้ผลทางการรักษาได้

    ในขณะที่ยาบางชนิด หลังจากให้ผลทางการรักษาแล้ว ก็จะถูกส่งมาที่ตับ เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในโครงสร้างที่หมดฤทธิ์ และสามารถขับออกจากร่างกายได้

    กระบวนการนี้เรียกว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพของยา หรือ Drug Metabolism
    ซึ่งสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพของยา ก็คือ เอนไซม์ที่อยู่ในตับ

    โดยสิ่งที่ควบคุมลักษณะของเอนไซม์ในตับ ก็คือ ยีน
    แต่ยีนที่ควบคุมนั้น ก็จะมีหลายชนิด และส่งผลจำเพาะกับยาแตกต่างกันไป
    เช่น ยีน CYP2C9 จำเพาะกับยา Warfarin ซึ่งเป็นยาต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้สำหรับป้องกันการอุดตันของหลอดเลือด โดยเฉพาะหลอดเลือดสมอง

    หากทุกคนมียีน CYP2C9 เหมือนๆ กัน ก็จะไม่มีปัญหาอะไร
    แต่จะมีปัญหาเกิดขึ้น เมื่อแต่ละคนมียีนที่ไม่เหมือนกัน
    บางคนมียีน CYP2C9 บางคนไม่มียีนนี้

    สำหรับคนที่มียีน CYP2C9 จะตอบสนองได้ดีต่อการใช้ยา Warfarin จนอาจต้องลดขนาดยาลง เพราะหากได้รับมากเกินไป จะทำให้เกิดอาการเลือดไหลไม่หยุด

    แต่สำหรับคนที่มียีน CYP2C9 น้อย หรือไม่มี อาจจะตอบสนองต่อยา Warfarin ได้ไม่ดีเท่าที่ควร จึงจำเป็นต้องเพิ่มขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาอื่น เพื่อให้ผลการรักษามีประสิทธิภาพ

    นอกจากในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของยา ยีนยังมีผลในเรื่องของ “การแพ้ยา” อีกด้วย..

    การแพ้ยา เป็นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายที่มีต่อยา เมื่อร่างกายมองว่ายาคือสิ่งแปลกปลอมที่ต้องกำจัดออก แต่หากมีการตอบสนองที่มากเกินไปอาจส่งผลเสียตามมา
    เช่น มีผื่นขึ้น ริมฝีปากบวม ผิวหนังหลุดลอก หรือเกิดความผิดปกติของอวัยวะภายในร่างกาย
    จนอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต

    การกลายพันธุ์ของยีนบางชนิด เช่น ยีน HLA-B ซึ่งทำหน้าที่สร้างโปรตีนบนภูมิคุ้มกัน หากเกิดการกลายพันธุ์กลายเป็นยีน HLA-B*1502 จะทำให้ได้โปรตีนที่มีความผิดปกติ ซึ่งสามารถจับกับยาทำให้เกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันมากกว่าปกติ โดยเฉพาะ ยากันชัก Carbamazepine

    ผู้ที่มียีน HLA-B*1502 ทำให้เสี่ยงต่อการแพ้ชนิดรุนแรงจากยา Carbamazepine
    มากกว่าปกติถึง 55 เท่า

    มนุษย์มียีนที่แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล โดยมีปัจจัยหลักคือ เชื้อชาติ
    หากเราสามารถตรวจยีน ก่อนรับการรักษาด้วยการใช้ยา ก็จะทำให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถเลือกใช้ยาที่เหมาะกับตัวเรา และจ่ายยาให้เราในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดผลการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ลดผลข้างเคียงจากการใช้ยา และลดอาการแพ้ยาลงได้

    ในอดีต การตรวจเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ด้วยต้องอาศัยเทคโนโลยีและเครื่องมือที่ทันสมัย

    แต่ในปัจจุบัน เราสามารถตรวจสอบยีนได้ ด้วยการตรวจ PGx panel - myDNA Medication test ซึ่งเป็นการตรวจวิเคราะห์ทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่ตรวจความผิดแปลกทางพันธุกรรมในแต่ละบุคคล

    ผลของการตรวจนี้ ทำให้แพทย์สามารถทำนายการตอบสนองต่อยา เลือกใช้ยาและขนาดยาที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการรักษาและลดอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาได้

    เช่น หากตรวจพบว่า เรามียีน CYP2C9 ซึ่งจำเพาะกับยา Warfarin
    แพทย์จำเป็นต้องลดขนาดยา Warfarin ลง เพื่อลดผลข้างเคียง โดยเฉพาะอาการเลือดไหลไม่หยุด เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพต่อไปได้

    แล้วในประเทศไทย เราสามารถทำการตรวจวิเคราะห์แบบนี้ได้ที่ไหนบ้าง?

    หนึ่งในศูนย์การแพทย์ที่สามารถทำแบบนี้ได้ คือ
    “ศูนย์พันธุศาตร์เชิงป้องกัน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์” ที่มีทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่มากด้วยประสบการณ์ รวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ครบครัน ทันสมัยและได้มาตรฐานสากล

    การตรวจพันธุกรรมยา เป็นการตรวจระดับพันธุกรรมซึ่งช่วยทำนายการตอบสนองของร่างกายต่อยา ผลการตรวจช่วยให้แพทย์สามารถเลือกยาที่มีประสิทธิภาพให้แก่ผู้ป่วยได้อย่างแม่นยำ ลดเวลาการลองผิดลองถูก และลดโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยาลง

    การตรวจพันธุกรรมยา เป็นการตรวจ 9 ยีน ที่ครอบคลุมยากว่า 140 ชนิด เช่น ยาลดระดับไขมันในเลือด, ยาละลายลิ่มเลือด, ยารักษาโรคหัวใจ, ยาแก้ปวด, ยาจิตเวช, ยารักษาโรคกระเพาะ ฯลฯ

    ซึ่งนอกจากการตรวจเพื่อหาการตอบสนองต่อยาแล้ว ศูนย์พันธุศาตร์เชิงป้องกัน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ยังให้บริการการตรวจเพื่อหาโรคติดต่อทางพันธุกรรม ไม่ว่าจะเป็น มะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือดจากพันธุกรรม รวมไปถึงตรวจโรคทางพันธุกรรมที่อาจถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้อีกด้วย

    สิ่งเหล่านี้เป็นเทคโนโลยีที่น่าสนใจมาก
    ซึ่งในอนาคตอันใกล้ เรื่องนี้อาจเข้ามาเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญของวงการแพทย์

    เพราะยีนของเราเปลี่ยนแปลงไม่ได้ แต่เราเลือกที่จะลงทุนเพื่อตรวจหาได้
    ว่าอะไรเหมาะสมกับยีนของเรามากที่สุด..

    สำหรับคนที่สนใจ สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม หรือซื้อแพ็กเกจได้ที่ https://bit.ly/3nz7dWT

    References
    -https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/216/เภสัชพันธุศาสตร์
    -Pharmacogenetics: Basic Concept for Pharmacists, ดร.อ.ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล

  • hla-b 在 臨床筆記 Facebook 的精選貼文

    2020-10-07 19:45:10
    有 112 人按讚


    #teaching #gout
    無症狀性高尿酸血症

    降尿酸藥物治療的適應症是痛風每年至少發作 2 次、痛風石、慢性關節炎、高尿液尿酸腎結石、慢性腎臟病(CKD)。治療目標是尿酸 6 mg/dL(由小劑量開始逐步增加劑量)。

    首選藥物是 allopurinol(尤其是有 CVD 的病人,使用前要先確定 HLA-B*5801* 是陰性的),其次是 febuxostat、benzbromarone 。Ccr < 20 mL/min(請注意不是 eGFR)、有腎結石、尿酸腎病變的病人避免使用排泄尿酸藥物 benzbromarone。降尿酸治療的同時要併用 colchicine 或 NSAID(CKD 盡量避免使用)至少 3-6 個月避免誘發痛風。急性痛風時如果尚未使用降尿酸藥物就不要開始用,如果正在使用降尿酸藥物就不要停用。

    隨機分配對照臨床試驗(RCT)發現 allopurinol 和 febuxostat 都不能改善 CKD 病人的腎功能。以後不要再用降尿酸藥物來治療 CKD 病人的無症狀性高尿酸血症了。

    「自由的滋味」
    https://medium.com/…/%E8%87%AA%E7%94%B1%E7%9A%84%E6%BB%8B%E…

    羽毛和鐵球
    https://medium.com/…/%E7%BE%BD%E6%AF%9B%E5%92%8C%E9%90%B5%E…

  • hla-b 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • hla-b 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:10:45

  • hla-b 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站