[爆卦]autoCrat 拒絕 連 線是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇autoCrat 拒絕 連 線鄉民發文沒有被收入到精華區:在autoCrat 拒絕 連 線這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 autocrat產品中有8篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, กรณีศึกษา Ben Ali ประธานาธิบดีตูนิเซีย กินรวบประเทศ จนโดนปฏิวัติ /โดย ลงทุนแมน รู้หรือไม่ว่า “อาหรับสปริง” การลุกฮือต่อต้านรัฐบาลในช่วงปี 2011 ของกลุ่...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • autocrat 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文

    2021-09-09 11:00:23
    有 962 人按讚

    กรณีศึกษา Ben Ali ประธานาธิบดีตูนิเซีย กินรวบประเทศ จนโดนปฏิวัติ /โดย ลงทุนแมน
    รู้หรือไม่ว่า “อาหรับสปริง” การลุกฮือต่อต้านรัฐบาลในช่วงปี 2011 ของกลุ่มประเทศอาหรับ ไล่มาตั้งแต่อียิปต์ ลิเบีย เยเมน บาห์เรน ไปจนถึงการเกิดสงครามกลางเมืองที่ซีเรีย ล้วนมีจุดเริ่มต้นมาจากการปฏิวัติในประเทศเล็ก ๆ ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาที่มีชื่อว่า “ตูนิเซีย”

    สิ่งที่น่าสนใจก็คือ การปฏิวัติตูนิเซียนี้
    เกิดขึ้นโดยปราศจากผู้นำการปฏิวัติ และไม่ได้มาจากประเด็นทางการเมือง
    แต่เป็นเรื่องของการว่างงานและสภาวะเศรษฐกิจที่ผลักดันให้ประชาชนในประเทศรวมตัวกันลุกขึ้นมาปฏิวัติ โดยมีจุดเริ่มต้นจากประธานาธิบดีของตูนิเซียที่มีชื่อว่า Ben Ali

    เกิดอะไรขึ้นที่ตูนิเซีย ภายใต้การปกครองของ Ben Ali จนนำไปสู่การปฏิวัติในประเทศ ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    สาธารณรัฐตูนิเซีย เป็นประเทศอาหรับมุสลิมในแอฟริกาเหนือ ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีขนาดพื้นที่ราว ๆ 160,000 ตารางกิโลเมตร พอ ๆ กับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

    ตูนิเซียมีประชากรเพียง 12 ล้านคน มากกว่า 90% นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี แต่เนื่องจากเคยถูกปกครองโดยฝรั่งเศสมาก่อน ทำให้มีการใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการควบคู่ไปกับภาษาอารบิก

    ประกอบกับผู้คนที่มีหลายชาติพันธุ์อาศัยอยู่ร่วมกัน ทำให้วัฒนธรรมจะเป็นการผสมผสานระหว่างอาหรับและยุโรป

    ในอดีตประเทศตูนิเซียนั้นถูกปกครองโดยประธานาธิบดี Habib Bourguiba ซึ่งปกครองตูนิเซียมายาวนานตั้งแต่ได้รับอิสรภาพจากฝรั่งเศสในปี 1956

    แต่การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ทั้งเศรษฐกิจและสังคมของตูนิเซียกลับเกิดขึ้นหลังจากการมาถึงของชายที่ชื่อว่า Ben Ali

    Zine al-Abidine Ben Ali หรือเรียกสั้น ๆ ว่า Ben Ali
    ก่อนที่เขาจะขึ้นเป็นประธานาธิบดีตูนิเซียนั้น เขาเคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองมามากมาย

    ทั้งหัวหน้าฝ่ายความมั่นคง เอกอัครราชทูต รัฐมนตรีกระทรวงความมั่นคงแห่งชาติ รัฐมนตรีมหาดไทย
    จนในปี 1987 เขาได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีของตูนิเซีย โดยถือได้ว่าเขาเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลและทรงอำนาจอย่างมากในรัฐบาลตูนิเซีย

    ซึ่งในขณะนั้นประธานาธิบดีคนแรก Habib Bourguiba กำลังป่วยหนักและหลายฝ่ายเห็นว่าไม่เหมาะที่จะดำรงตำแหน่งต่อไป

    Ben Ali จึงได้ทำการรัฐประหารโดยสันติและปลด Bourguiba ออกจากตำแหน่ง จากนั้นจึงแต่งตั้งตนเองขึ้นเป็นประธานาธิบดีคนที่สองของตูนิเซียในปี 1987

    หลังจากที่ Ben Ali ได้ขึ้นมาปกครองประเทศ เขาพยายามที่จะสร้างภาพลักษณ์ให้การบริหารประเทศของเขาเป็นรูปแบบของประชาธิปไตยตามเสียงเรียกร้องของผู้คนในประเทศ

    โดยได้ดำเนินการหลากหลายมาตรการ เช่น
    - การเปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองของตัวเองจาก Neo-Destour Party เป็น Democratic Constitutional Rally
    - การเปิดให้ประชาชนสามารถสมัครเป็นสมาชิกพรรคการเมืองได้
    - การยกเลิกระบบพรรคการเมืองเดียว
    - การปล่อยนักโทษทางการเมืองซึ่งได้รับผลกระทบจากการปกครองของประธานาธิบดีคนเก่า

    แม้การเลือกตั้งใหม่ในปี 1989 มีขึ้นเพื่อสร้างความชอบธรรมในการปกครองประเทศ และพรรคของเขาเองก็ได้ที่นั่งในสภามากกว่า 80% แต่ Ben Ali ก็ได้เริ่มจุดไฟแห่งความขัดแย้งขึ้น

    Ben Ali เริ่มการจับกุมแกนนำและนักกิจกรรมของฝ่ายตรงข้ามที่เขามองว่ามีแนวโน้มจะได้รับความนิยมในอนาคต

    นอกจากนี้ยังมีรายงานการคุกคามนักกิจกรรมทางการเมืองที่เรียกร้องประชาธิปไตย ทั้งการข่มขู่และทรมานจากภาครัฐ รวมถึงการบังคับให้ลี้ภัยไปต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง

    นอกจากนี้ยังมีการแก้กฎหมายเลือกตั้งให้เอื้อประโยชน์ต่อฝ่ายตนเอง ส่งผลให้การเลือกตั้งที่จัดขึ้นหลังจากนั้น เขาได้รับคะแนนเสียงอย่างถล่มทลาย ไร้คู่แข่งที่จะมาเทียบเคียง

    โดยการเลือกตั้งในปี 1999 Ben Ali มีคู่แข่งเพียง 2 คนเท่านั้น และฝ่ายค้านไม่เคยได้ที่นั่งในสภาเกิน 25% เลยแม้แต่ปีเดียว

    จนสุดท้ายแล้วตูนิเซียภายใต้การปกครองของ Ben Ali มีลักษณะทางการเมืองแทบไม่ต่างจากยุคของประธานาธิบดีคนก่อน ที่ถูกเรียกว่าเป็นระบอบเผด็จการ

    นอกจากการแก้กฎหมายเพื่อความมั่นคงของตำแหน่งทางการเมืองแล้ว
    อีกเรื่องหนึ่งที่เขาทำในระหว่างที่อยู่ในอำนาจ คือการเอื้อผลประโยชน์ให้พวกพ้อง
    โดยเฉพาะภาคธุรกิจที่อยู่ในเครือข่ายของเขา

    ในฉากหน้านั้น Ben Ali ได้ปรับปรุงระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ทันสมัยขึ้น
    ทั้งการแก้กฎระเบียบต่าง ๆ ให้ผ่อนคลายลงจากสมัยอดีตประธานาธิบดีคนเก่า
    การปรับโครงสร้างและแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

    ส่งผลให้ตลอดระยะเวลาที่ Ben Ali อยู่ในอำนาจนั้น ตูนิเซียมีอัตราการเติบโตของ GDP ไม่น้อยกว่า 5% มาโดยตลอด และระบบเศรษฐกิจของตูนิเซียโดดเด่นและเติบโตเร็วกว่าประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเดียวกัน
    จนแม้แต่ IMF และธนาคารโลกยังเคยยกย่องให้ตูนิเซียเป็นแบบอย่างสำหรับประเทศกำลังพัฒนา

    ทว่าผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ไม่ได้ไปถึงประชาชนในประเทศ
    แต่กลับตกอยู่ในมือเครือข่ายของ Ben Ali

    Ben Ali มีเครือข่ายธุรกิจกระจายตัวอยู่ในทุกภาคส่วนของประเทศ
    โดยมีการตรวจพบว่ามีบริษัทกว่า 220 บริษัทที่อยู่ในเครือข่ายดังกล่าว

    ซึ่งมีทั้งธุรกิจสายการบิน โทรคมนาคม การขนส่ง การเงินและธนาคาร อสังหาริมทรัพย์ โรงแรม ร้านอาหารและอื่น ๆ อีกมาก และนาย Ben Ali ก็ได้เอื้อผลประโยชน์ให้กับธุรกิจของตัวเอง โดยการออกกฎหมายเพื่อกีดกันทางการค้า และกำจัดคู่แข่งทางธุรกิจ ส่งผลให้มีการทุจริตคอร์รัปชันโดยเจ้าหน้าที่รัฐกระจายอยู่ทั่วประเทศ

    โดยตั้งแต่ปี 1994 นาย Ben Ali ได้ออกกฎระเบียบและข้อบังคับกว่า 25 ฉบับ เพื่อเอื้อผลประโยชน์ต่อเครือข่ายธุรกิจของตน ซึ่งในบางธุรกิจถ้าไม่มีชื่อของเครือข่าย Ben Ali อยู่ในบริษัท ก็จะไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ

    อย่างเช่นกรณีเชนร้านอาหารที่ใหญ่ที่สุดในโลกอย่าง McDonald’s ที่ได้มอบสิทธิ์แฟรนไชส์ให้กับพาร์ตเนอร์ที่ไม่ใช่เครือข่ายของ Ben Ali สุดท้ายแล้วภาครัฐก็ได้ปฏิเสธข้อตกลงดังกล่าว และ McDonald’s ก็ต้องยอมถอยออกจากตลาดไป

    หรืออีกกรณีหนึ่งคือการผูกขาดระบบโทรคมนาคมของประเทศ
    ราคาค่าบริการโทรระหว่างประเทศที่ผู้บริโภคต้องจ่ายมีราคาสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน 10-20 เท่า
    ในขณะที่ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก็เป็นรายได้เข้ากระเป๋ากลุ่มบริษัทในเครือข่ายของนาย Ben Ali

    จากการออกข้อกฎหมายที่ยากต่อการแข่งขันและทำให้เกิดการผูกขาดทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ส่งผลให้การเติบโตของภาคเอกชนในประเทศกระจุกตัวอยู่กับกลุ่มเครือข่ายของนาย Ben Ali

    โดยจากรายงานของธนาคารโลกระบุว่า เครือข่ายของนาย Ben Ali ที่มีกว่า 220 บริษัท
    มีผลกำไรคิดเป็น 21% ของภาคเอกชนทั้งหมดภายในประเทศ
    และมีมูลค่าบริษัทประมาณ 4.22 แสนล้านบาท ซึ่งมากกว่า 1 ใน 4 ของ GDP ประเทศในปี 2010

    เมื่อการกระจายความเติบโตของเศรษฐกิจไม่ทั่วถึง
    ส่งผลให้ตูนิเซียมีอัตราการว่างงานที่สูงมาก สวนทางกับ GDP ที่เติบโตต่อเนื่อง

    บวกกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2008 ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งการส่งออก ภาคอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว

    ทำให้ตูนิเซียมีอัตราการว่างงานของคนวัยหนุ่มสาวสูงถึง 30% ในขณะที่ค่าเฉลี่ยทั่วโลกมีเพียง 15% เท่านั้น

    สุดท้ายแล้วเมื่อเศรษฐกิจภายในประเทศถูกผูกขาดด้วยคนบางกลุ่ม ทำให้สินค้าหลายอย่างมีราคาสูง
    บวกกับอัตราการว่างงานในประเทศที่ยากเกินกว่าจะแก้ไข ความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยและคนจนจึงเพิ่มมากขึ้นในตูนิเซีย

    จนในที่สุดความอดทนของประชาชนในประเทศก็หมดลง..

    หนุ่มชาวตูนิเซีย Mohamed Bouazizi อายุ 27 ปี ตัวเขาเรียนไม่จบและต้องออกมาขายผลไม้เพื่อช่วยเหลือครอบครัวตั้งแต่เด็ก ซึ่งเขามักจะถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจเรียกสินบนและริบสินค้าของเขาอยู่หลายครั้ง

    จนกระทั่งในวันที่ 17 ธันวาคม 2010 เจ้าหน้าที่ได้ยึดสินค้าและอุปกรณ์ในการค้าขายของเขา โดยอ้างว่าเขาไม่มีใบอนุญาตสำหรับขายผลไม้ในพื้นที่ และมีพยานในเหตุการณ์กล่าวว่าเขายังถูกเจ้าหน้าที่ตบเข้าที่หน้าอีกด้วย

    Bouazizi ได้ไปร้องเรียนที่สำนักงานเทศบาลในเมือง Sidi Bouzid แต่กลับไม่มีใครรับฟังข้อร้องเรียนของเขา Bouazizi จึงราดน้ำมันและจุดไฟเผาตัวเองทำให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในเดือนมกราคม ปี 2011

    หลังจากการเผาตัวเองของ Bouazizi เรื่องราวของเขาก็แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วผ่านสื่อต่าง ๆ อย่างเช่น Facebook และ Twitter ซึ่งยากต่อการควบคุมและตรวจสอบโดยภาครัฐ

    ทำให้ไม่กี่วันหลังจากนั้นมีผู้คนจำนวนมากที่ได้รับความเดือดร้อนและโกรธแค้นรัฐบาล โดยเฉพาะคนหนุ่มสาวในขณะนั้น ซึ่งเกือบทั้งชีวิตของพวกเขาเติบโตมาภายใต้การปกครองของ Ben Ali

    คนหนุ่มสาวได้ออกมาชุมนุมประท้วงในเมือง Sidi Bouzid จำนวนมากและจากการประท้วงในท้องถิ่น จนกลายเป็นระดับภูมิภาคและแพร่กระจายไปทั่วประเทศอย่างรวดเร็ว

    Ben Ali ได้ออกประกาศตำหนิผู้ประท้วงและใช้กำลังในการปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างรุนแรงจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก

    จึงมีภาพการปราบปรามผู้ชุมนุมด้วยความรุนแรงของเจ้าหน้าที่รัฐถูกเผยแพร่ออกไปในสื่อออนไลน์ทั่วโลก

    เมื่อแรงกดดันเพิ่มมากขึ้น สุดท้ายแล้ว Ben Ali จึงได้ประกาศจะไม่ลงเลือกตั้งอีกหลังจากหมดวาระในปี 2014 และจะให้เสรีภาพรวมถึงดำเนินการปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างจริงจัง

    แต่ตัวเขากลับปฏิเสธว่าตำรวจไม่ได้ยิงใส่ผู้ชุมนุม ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก เพราะขัดแย้งกับภาพที่อยู่บนสื่อออนไลน์ ทำให้การชุมนุมแผ่ขยายมากขึ้นไปอีก

    Ben Ali ได้ประกาศภาวะฉุกเฉินและออกคำสั่งให้ทหารใช้ปืนยิงผู้ชุมนุมที่ต่อต้าน แต่ทหารปฏิเสธคำสั่งดังกล่าว เมื่อเห็นว่าตัวเขาไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้อีกต่อไป Ben Ali จึงหนีออกนอกประเทศและลี้ภัยในประเทศซาอุดีอาระเบีย

    เมื่อ Ben Ali พ้นจากตำแหน่ง ศาลธรรมนูญวินิจฉัยให้นาย Fouad Mebazaa ประธานรัฐสภาดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดี

    นาย Fouad Mebazaa จัดตั้งรัฐบาลโดยแต่งตั้งผู้ที่เคยอยู่ในระบอบเก่า และภักดีกับอดีตประธานาธิบดี Ben Ali เป็นรัฐมนตรีกระทรวงที่สำคัญ

    เมื่อรายชื่อคณะรัฐมนตรีประกาศออกมา จึงเกิดความไม่พอใจอย่างมากตามมา ฝ่ายค้านลาออกจากรัฐสภา, เยาวชนหนุ่มสาวออกมาประท้วงอีกครั้ง และเกิดการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่อีกครั้ง ในที่สุด ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีรักษาการชุดนี้ก็ต้องลาออก

    การจัดตั้งคณะรัฐบาลรักษาการเกิดขึ้นอีกครั้ง นายกรัฐมนตรีรักษาการคนใหม่สั่งการให้จับกุม, สอบสวน และดำเนินการลงโทษเจ้าหน้าที่พรรคของรัฐบาล ครอบครัวและญาติของอดีตประธานาธิบดี Ben Ali

    รวมทั้งดำเนินการยุบพรรคและยึดทรัพย์สินของพรรค ขณะเดียวกันก็ประกาศปล่อยนักโทษการเมือง และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในปลายปีนั้นเอง

    เรื่องราวทั้งหมดนี้นอกจากจะสะท้อนความล้มเหลวในการบริหารประเทศและการทุจริตคอร์รัปชันจนสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนและนำไปสู่การปฏิวัติแล้ว

    ในวันที่ Mohamed Bouazizi จุดไฟเผาตัวเองเพียงคนเดียว
    แต่เรื่องราวของเขาบนโลกอินเทอร์เน็ต ก็ได้ปลุกให้ผู้คนทั่วประเทศ
    ต่างมารวมตัวกันเพื่อขับไล่รัฐบาล จนบานปลายเป็น “อาหรับสปริง” ซึ่งเป็นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่ทั่วโลกกล่าวถึง..

    เหตุการณ์นี้ยังเป็นกรณีศึกษาชั้นดี ของอิทธิพลจากสื่อโซเชียลมีเดีย
    ยิ่งสื่อเหล่านี้สามารถเชื่อมโยงผู้คนให้เข้าหากัน ภายในเวลาอันรวดเร็วเท่าไร
    ก็ยิ่งทำหน้าที่เผยแพร่ “สิ่งที่พยายามปกปิด” ออกไปสู่สาธารณชน
    ในเวลาอันรวดเร็วได้เท่านั้น

    ในยุคที่มีคนโจมตีความน่ากลัวของโซเชียลมีเดีย ว่าจะทำให้เกิดข่าวปลอมเผยแพร่ได้โดยง่าย
    แต่ในขณะเดียวกัน มันก็ทำให้ข่าวจริงที่ถูกปิดไว้ ถูกเผยแพร่ได้ง่ายขึ้น เช่นกัน..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2014/03/27/tunisias-golden-age-of-crony-capitalism/
    -https://openknowledge.worldbank.org/bitstream/handle/10986/17726/WPS6810.pdf?sequence=1&isAllowed=y\
    -https://www.aljazeera.com/news/2020/12/17/bread-and-gas-economic-boost-needed-after-arab-spring
    -https://www.wider.unu.edu/publication/youth-unemployment-arab-world
    -https://www.pewresearch.org/journalism/2012/11/28/role-social-media-arab-uprisings/
    -https://www.silpa-mag.com/history/article_55976
    -https://www.aljazeera.com/features/2011/1/26/how-tunisias-revolution-began
    -https://www.dw.com/en/zine-el-abidine-ben-ali-the-robber-baron-of-tunisia/a-50501648
    -https://www.britannica.com/event/Jasmine-Revolution
    -https://theconversation.com/ben-ali-the-tunisian-autocrat-who-laid-the-foundations-for-his-demise-124786
    -https://www.theatlantic.com/technology/archive/2011/09/so-was-facebook-responsible-for-the-arab-spring-after-all/244314/

  • autocrat 在 Facebook 的最佳貼文

    2021-08-22 17:17:03
    有 2,431 人按讚

    今天的重點其實是貓,不過看看松鼠特務的威力狼與嗶嗶鳥,讓我們希望反對黨一直蠢下去。因為反對黨如此之愚蠢,我相信執政黨會一次又一次化險為夷。

    《威利狼與嗶嗶鳥》

    By Phil Smith

    看著台灣反對黨與執政黨對抗,讓我越來越想起《威利狼與嗶嗶鳥》(The Road Runner) 那部卡通片,其中不幸的威力狼永遠在試圖擊敗嗶嗶鳥,卻不斷失敗。

    威力狼頑強的毅力值得欽佩,但他顯然沒有超群的智力,加上運氣也似乎總是站在嗶嗶鳥這邊。

    威力狼一遍又一遍地嘗試同樣的事情,然後一次又一次地失敗。在大多數的例子裡,他都是從懸崖上墜落,直直頭先落地撞上岩石滿臉豆花,當然在這個過程中他總是滿身是傷。

    以 Mr Wannabe 肖想先生為例,他最近建議台灣接納 1,000 名阿富汗女性難民。你應該會問,為什麼只有女性?我也是,而且我真的有點疑惑。

    如果我以那些人的心態來說話,「我的女人」聽到他這樣說的時候,立刻又怒不可遏衝上天花板黏在緩慢旋轉的吊扇上了,直到我說我們還有一包不合時令的冷凍麻辣鍋可以當晚餐,才把她引誘下來。

    我合理猜測,在他迷迷糊糊的大腦裡某個角落有這麼一個念頭,就是阿富汗女性將在塔利班政權下受苦,這是正確的。啊哈,他興奮地想,這將會受到選民的歡迎,因為我支持女性權利並建議拯救其中的 1,000 人,這會讓我看起來很棒。

    當然很棒,特別是他不必安排長榮航空飛往子彈亂飛混亂的喀布爾機場,從恐慌的群眾中挑選 1,000 名婦女,這只有女童,還有願意與兒子和丈夫分開的已婚婦女,然後把他們帶回台灣。我假設會有全副武裝的台灣士兵進行第二次任務,才能拯救1,000 名阿富汗女性。

    再不然台灣必須去另一個已經接納阿富汗難民的國家,把婦女與男性家人分開,把她們全部集中在一個地方,然後再把她們載回台灣。

    哦,是的,讓我們把 1,000 名受驚的阿富汗女性帶到台灣,她們不會說當地語言,不再有男性家庭成員或是丈夫的支持。請記住,這些是來自阿富汗的女性,其中有許多這輩子一出門就必須有男性家人陪同。

    肖想先生是否認為阿富汗人就像那些在養雞場裡等著被挑選性別的小雞,雄性被扔在一個盒子裡,雌性被扔在另一個盒子裡?其他的就先別說了,這顯示對阿富汗婦女甚至所有的女性嚴重缺乏尊重,認為她們會離開家人來拯救自己。

    這是一個威力狼時刻,肖想先生認為是個好主意,實際上卻是一個非常愚蠢的主意,於是他就這麼直直地從懸崖邊墜落了。即使花一分鐘思考一下就可以發現這幾乎是不可能實現的,但是他連花一分鐘想一想都辦不到。他的第一個念頭應該是「此事可以讓我在政治上得分」,這種愚蠢讓我無語。

    除非反對黨集思廣益,否則他們將繼續讓執政黨一路輕鬆。

    類似的例子還有 TMD 可悲地指出,政府打算開放同住家人餐廳內用規定是有問題的。他們提出質疑:你如何能確定他們是家人而不是朋友?答案是沒錯,你不能從表面上分辨,但這是政府希望人們遵循的準則。類似的規範在世界各地發生,許多 Covid 的政策無法強制執行,只能依靠大多數民眾來做正確的事情,台灣在這方面也不例外。

    這對每個人來說都是顯而易見的,除了 TMD。我猜他們會選擇小問題來攻擊批評,是因為總體而言政府做得很好,他們發現很難批評。我為他們感到難過,因為這的確很艱難,但如果他們希望大多數人開始認真看待他們,他們一定要聰明點辦事並開始更具分析性地思考問題。

    TMD 的另一個問題是黨主席看起來似乎是個初露頭角的獨裁者 (autocrat),這可以從知道感染源的確診者「被我消滅掉」,或是「關門打狗」等等言論中看出端倪,他認為他可以毫不尊重地談論他人,獨裁者通常不會過多考慮在他們權力統治之下的普通民眾。

    當然他可能會說這只是一種修辭手法,但是可以很清楚看見他幾乎完全缺乏政治敏銳性。一個明智的政治家會更謹慎地遣詞用句,永遠不會將 Covid 受害者和狗相提並論。

    台北市長對台灣國產疫苗的持續輕蔑批評也令人擔憂。為什麼一個寄望坐上全國最高位,理應心存全民最大利益的人,會在他零參與的​​事情上如此輕蔑?他自詡為專家,但他不是,他的專業只是在某一個特定醫學領域。他說他是科學家,他不是。他不是流行病學家,也不是公共衛生專家。

    這都是霧裡看花,坦率地說,都是胡說八道。令人擔憂的是,有些人居然被他的自負所吸引。

    但只要他和其他反對黨繼續讓自己看起來很可笑,或者無能到一個危險的地步,他們就會繼續全力衝下懸崖,或者頭朝地衝向岩石滿臉豆花……讓我們希望這個情形一直持續下去。

    Tinkerty tonk… 掰掰。

    原文在此
    https://daysmumbai.blogspot.com/2021/08/meep-meep-dpp.html?m=1

  • autocrat 在 蔡依橙的閱讀筆記 Facebook 的最讚貼文

    2020-12-24 09:59:04
    有 2,298 人按讚

    【陪你看國際新聞】選後美國主流媒體報導風向的轉變?
     
    How the U.S. Misread China’s Xi: Hoping for a Globalist, It Got an Autocrat
    https://on.wsj.com/38M7JeH
     
    又一篇美國主流媒體,開始注意到,中國應該才是美國價值的敵人。
     
    我們之前說過,美國總統大選之後,雖然美國主流媒體很多對川普並不友善,但有意或無意的,自覺或不自覺的,其實他們都受到川普影響,而且增加了對中國的評論與報導,比較務實,不帶有粉紅泡泡跟放水的那種。
     
    他們踩下了川普,卻不自覺的繼承了川普路線。
     
    這篇 WSJ 的頭版報導,說的是美國怎麼會誤讀了習近平,以為他會變成全球主義者,結果卻是獨裁。
     
    (同學,這不是四年前就該知道的嗎?要不然兩年前習近平的告臺灣同胞書你們沒讀進去嗎?XD)
     
    WSJ 一向以長文著名,這篇花了很大的力氣介紹習近平的成長過程以及政治經歷,並認為他就是在走毛澤東路線。
     
    我們住臺灣的人,早就知道這些事情,內容我就不重複多提了。但直到選後,美國主流媒體才陸續越來越增加這類文章的頻率。
     
    因為他們發現,其實他們面對的世界,跟川普面對的,是一樣的。而自由派知識分子,也必須提出一個面對中國威脅的「他們的版本」的論述。
     
    一種說法是,美國主流媒體本來就一直在報導中國的糟糕事情,選前選後沒有變化。
     
    但作為每天早上都會繞一圈網頁頭版的業餘讀者來說,我並不認同這種說法。
     
    因為大選期間,中國議題幾乎不會登上首頁,有的話也是很小的。多數的文章,都是川普多糟糕、川普又犯錯、川普搞烏龍、川普亂講話。
     
    而且選舉期間的新聞,多是內政向,如疫情、經濟、歧視等,畢竟美國並沒有明顯的本土戰爭威脅。
     
    無論如何,作為一個臺灣人,看到國際主流媒體開始認真看待中國威脅,是我們該感到審慎樂觀的。
     
    這表示歐美的知識圈,將會能理解我們面對的到底是一個怎樣危險的局面,日後在政策、論述、資源上,臺灣將更容易與世界溝通。

  • autocrat 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • autocrat 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:10:45

  • autocrat 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站