[爆卦]Wolfspeed 可以 買 嗎是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Wolfspeed 可以 買 嗎鄉民發文沒有被收入到精華區:在Wolfspeed 可以 買 嗎這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 wolfspeed產品中有14篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, รู้จัก Cree ผู้ปฏิวัติหลอดไฟ LED แต่ตอนนี้จะเลิกทำ LED /โดย ลงทุนแมน ปี 1989 หรือเมื่อ 32 ปีที่แล้ว บริษัทอเมริกันรายหนึ่ง ได้ทำการเปิดตัวเทคโนโลยีที...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • wolfspeed 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文

    2021-06-14 11:40:01
    有 829 人按讚

    รู้จัก Cree ผู้ปฏิวัติหลอดไฟ LED แต่ตอนนี้จะเลิกทำ LED /โดย ลงทุนแมน
    ปี 1989 หรือเมื่อ 32 ปีที่แล้ว บริษัทอเมริกันรายหนึ่ง
    ได้ทำการเปิดตัวเทคโนโลยีที่เรียกว่า Blue-LED หรือหลอดเปล่งแสงสีน้ำเงิน
    ที่ทำให้หลอดไฟ LED ส่องสว่างมากขึ้นและใช้พลังงานน้อยลงมาก

    นอกจากนั้น Blue-LED ยังเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ที่ทำให้เทคโนโลยี LED ถูกต่อยอดมาเป็นหน้าจอแสดงผลของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่เราใช้กันในทุกวันนี้

    บริษัทสัญชาติอเมริกันที่ว่านี้ มีชื่อว่า “Cree”

    แต่รู้ไหมว่า วันนี้ Cree กำลังเลิกทำธุรกิจที่เกี่ยวกับจอแสดงผล
    เพื่อไปโฟกัสกับ ธุรกิจที่พวกเขามองว่ามีอนาคตกว่าอย่างเต็มที่

    Cree กำลังเลิกทำสิ่งที่สร้างชื่อเสียงให้ตัวเองในอดีต เพื่อไปโฟกัสกับธุรกิจอะไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    บริษัท Cree ก่อตั้งในปี 1987 ในเมืองเดอแรม รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา
    โดยทำธุรกิจวิจัยคิดค้น ผลิตชิปไฟ LED และชิปควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ

    ซึ่งเรื่องราวที่ทำให้ Cree มีชื่อเสียงขึ้นมา
    ก็คือการเปิดตัว เทคโนโลยี Blue-LED หรือหลอดเปล่งแสงสีน้ำเงิน สำหรับการผลิตเพื่อค้าขายเชิงพาณิชย์ได้เป็นบริษัทแรกของโลก ในปี 1989

    แล้วการผลิตหลอดเปล่งแสงสีน้ำเงินได้ มันปฏิวัติวงการไฟส่องสว่างอย่างไร ?

    อธิบายแบบเข้าใจง่าย ๆ ก็คือ
    หลอดเปล่งแสงสีน้ำเงิน เมื่อนำไปส่องแสงร่วมกันกับหลอดเปล่งแสงอีก 2 สี คือ สีแดงและสีเขียว จะทำให้เกิดแสงสีขาวที่สว่างมาก และการเปล่งแสงของหลอดทั้ง 3 สีนี้ ยังก่อให้เกิดสีสันอื่นที่สวยงามเมื่อเปล่งแสงร่วมกัน และได้ถูกนำมาต่อยอดเป็นเทคโนโลยีจอแสดงผล LED ในวันนี้นั่นเอง

    หลังจากนั้นมา Cree ก็กลายเป็นซัปพลายเออร์คนสำคัญของโลก ในอุตสาหกรรมจอแสดงผล
    ทั้งจอโทรทัศน์, จอมือถือ และจออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่อาศัยเทคโนโลยี LED

    นอกจากนั้นแล้ว ส่วนธุรกิจผลิตชิปควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุของ Cree ก็เติบโตขึ้น ตามอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ที่พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ อีกด้วย
    Cree จึงสามารถเติบโตและจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ NASDAQ ได้สำเร็จ ตั้งแต่ปี 1993

    ทีนี้ ถ้าลองมาเจาะดูผลิตภัณฑ์ของ Cree
    ส่วนประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ของบริษัท ทั้งชิปสำหรับหลอด LED และชิปสำหรับรับส่งสัญญาณคลื่นวิทยุ ล้วนมีวัสดุตั้งต้นที่ชื่อว่า ซิลิคอนคาร์ไบด์ (SiC) และ แกลเลียมไนไตรด์ (GaN)

    คำถามคือ ซิลิคอนคาร์ไบด์ และ แกลเลียมไนไตรด์ มันคืออะไร ?

    เพื่อให้เห็นภาพตรงนี้ชัด เราจำเป็นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ผลิตชิปในปัจจุบันกันสักเล็กน้อย ว่ามีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภทหลัก ๆ คือ

    1. ซิลิคอน (Si)
    ซึ่งนิยมนำมาใช้ทำชิปประมวลผลต่าง ๆ เช่น หน่วยประมวลผลกลาง (CPU), หน่วยประมวลผลกราฟิก (GPU)

    2. แกลเลียมอาร์เซไนด์ (GaAs)
    ปัจจุบันใช้เป็นวัสดุของชิปควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุและชิปเปล่งแสงไฟ LED
    ซึ่งวัสดุประเภทนี้ สามารถทนความร้อนได้ดีกว่า และมีประสิทธิภาพในการส่งสัญญาณได้ดีกว่า ชิปที่ผลิตจากซิลิคอน

    3. ซิลิคอนคาร์ไบด์ (SiC) และ แกลเลียมไนไตรด์ (GaN)
    ชิปที่ผลิตจากวัสดุสองตัวนี้จะมีความสามารถที่ทนความร้อน รับส่งสัญญาณ และรองรับแรงดันไฟฟ้าได้ดีกว่าชิปที่ผลิตจากวัสดุ 2 ข้อแรกข้างต้น

    ประเด็นสำคัญก็คือ หลาย ๆ ธุรกิจที่ถูกมองว่าเป็นธุรกิจแห่งอนาคตในวันนี้ กำลังมีความต้องการชิป ที่ผลิตจากซิลิคอนคาร์ไบด์และแกลเลียมไนไตรด์

    ด้วยคุณสมบัติรองรับแรงดันไฟฟ้าและความร้อนได้มาก
    ซิลิคอนคาร์ไบด์และแกลเลียมไนไตรด์ จึงได้ถูกนำไปใช้ในเครื่องแปลงกระแสจากแผงโซลาร์เซลล์ และเป็นวัสดุตั้งต้นของชิปควบคุมการทำงานแท่นชาร์จไฟสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า

    ชิปควบคุมระบบจ่ายไฟของรถยนต์ไฟฟ้าอย่าง Model 3 ของ Tesla ก็เลือกใช้ชิปที่ทำจากซิลิคอนคาร์ไบด์ของบริษัท Cree
    ซิลิคอนคาร์ไบด์ ยังถูกนำไปใช้ในเครื่องส่งสัญญาณคลื่น 5G อีกด้วย

    ส่วน แกลเลียมไนไตรด์ ก็ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในการผลิตชิปสำหรับเครื่องชาร์จไฟความเร็วสูง ที่กำลังเติบโตตามเมกะเทรนด์รถยนต์ไฟฟ้าเช่นเดียวกัน

    นอกจากนั้น ซิลิคอนคาร์ไบด์และแกลเลียมไนไตรด์
    ยังเป็นวัสดุที่สำคัญในการผลิตชิปควบคุมการรับส่งสัญญาณในระบบ LiDAR หรือก็คือ เทคโนโลยีที่ประยุกต์ใช้แสงเลเซอร์ในการวัดระยะทางของวัตถุโดยรอบ และสะท้อนกลับมาเพื่อประมวลผลเป็นแผนที่สามมิติได้

    ซึ่ง LiDAR ก็ถูกคาดการณ์ว่าเป็นสิ่งจำเป็นมากสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าโดยการใช้งานระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ

    ในปี 2018 ผู้บริหาร Cree ตัดสินใจเข้าซื้อกิจการในส่วนของการผลิตชิปสำหรับควบคุมการส่งสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ จาก Infineon Technologies บริษัทผลิตชิปสำหรับยานยนต์รายสำคัญของโลก

    ขณะที่ธุรกิจผลิตชิปไฟ LED ที่เคยสร้างชื่อเสียงให้กับบริษัทในอดีตนั้น ในวันนี้กลับกำลังสร้างรายได้ให้กับบริษัทได้น้อยลงเรื่อย ๆ
    จนบริษัทเริ่มทยอยปิดกิจการในส่วนของการผลิตชิปไฟ LED
    และขายธุรกิจชิปไฟ LED บางส่วน ให้กับทางบริษัทอื่น ในปี 2020

    และล่าสุดเมื่อเดือนมกราคม 2021 ที่ผ่านมา
    Cree ก็ได้ประกาศรีแบรนด์ Cree ให้กลายเป็นชื่อ “Wolfspeed”
    ซึ่ง Wolfspeed ก็คือชื่อเรียกส่วนธุรกิจผลิตชิปจากซิลิคอนคาร์ไบด์ใน Cree ก่อนหน้านี้

    ซึ่งก็เป็นการประกาศเจตนารมณ์ว่า บริษัทจะมุ่งหน้าสู่การเป็นผู้นำในด้านการผลิตชิปจากซิลิคอนคาร์ไบด์และแกลเลียมไนไตรด์ อย่างเต็มตัว

    นอกจากนี้ บริษัทยังคิดค้นวัสดุที่ชื่อ GaN-on-SiC เป็นส่วนผสมของทั้งสองวัสดุตั้งต้น ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพของคุณสมบัติที่ทนความร้อนขึ้นและใช้พลังงานน้อยลง
    ซึ่งก็คาดว่าวัสดุชนิดนี้ จะยังนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมแห่งอนาคตได้อีกมาก

    ปัจจุบัน Cree หรือ Wolfspeed ในตอนนี้ เป็นผู้ครองส่วนแบ่งตลาด SiC ซิลิคอนคาร์ไบด์ทั่วโลกกว่า 60%

    แล้วผลประกอบการของ Cree หรือ Wolfspeed ในตอนนี้ เป็นอย่างไรบ้าง ?

    ปี 2018 รายได้ 28,644 ล้านบาท ขาดทุน 8,680 ล้านบาท
    ปี 2019 รายได้ 33,480 ล้านบาท ขาดทุน 11,625 ล้านบาท
    ปี 2020 รายได้ 27,993 ล้านบาท ขาดทุน 5,952 ล้านบาท

    ผลประกอบการในช่วงหลายปีหลังยังคงขาดทุน
    แต่ด้วยปัจจัยบวกหลายอย่าง ทั้งการปรับตัวออกจากอุตสาหกรรมผลิตชิปไฟ LED ที่มีการแข่งขันสูงและตัวสินค้าเริ่มเข้าสู่ภาวะอิ่มตัว และการมุ่งสู่การผลิตชิปเพื่ออุตสาหกรรมที่ดูมีอนาคต

    บวกกับ ข้อมูลคาดการณ์ว่าความต้องการของตลาดชิปที่ผลิตจาก ซิลิคอนคาร์ไบด์และแกลเลียมไนไตรด์ ที่ Cree นั้นมีความเชี่ยวชาญในการผลิต

    ทำให้มูลค่าของบริษัท Cree, Inc. ในตอนนี้ เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ประมาณ 360,000 ล้านบาท
    ซึ่งคิดเป็นเกือบ 2 เท่า ของมูลค่าบริษัทในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว

    เรื่องราวการปรับตัวของ Cree หรือที่พวกเขาเรียกตัวเองว่า Wolfspeed ในวันนี้
    ก็เป็นตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นว่า การปรับตัวในการทำธุรกิจนั้นเป็นเรื่องสำคัญ และสิ่งที่เคยรุ่งเรือง เคยสร้างชื่อเสียงให้กับเรา มันอาจไม่รุ่งเรืองเหมือนในอดีตได้ตลอดไป

    และเมื่อถึงเวลาที่สิ่งนั้น หรือธุรกิจนั้น ถึงจุดอิ่มตัว
    เราก็อาจจะต้องยอมตัดใจปล่อยสิ่งนั้นทิ้งไป เหมือนที่ Cree ตัดสินใจปล่อยมือจากธุรกิจผลิตชิปหลอดไฟ LED ที่เคยสร้างชื่อเสียงและความสำเร็จให้บริษัทในอดีต
    เพื่อจะได้มาโฟกัสเต็มที่ กับสิ่งที่ทำแล้วจะสามารถเติบโตได้ดี ในอนาคต..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References
    -https://th.regionkosice.com/wiki/Cree_Inc.
    -https://www.hermes.com.tw/en/third-generation-semiconductor-material/
    -https://finance.yahoo.com/quote/CREE?p=CREE
    -https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B9%8C
    -https://www.moneydj.com/kmdj/wiki/wikiviewer.aspx?keyid=f34bcd8d-d823-4bc3-83c2-9d7f56d8e011
    -https://kknews.cc/news/e5g3zbr.html
    -https://finance.technews.tw/2021/03/27/third-generation-semiconductor-material-business-in-taiwan/
    -https://www.moneydj.com/kmdj/news/newsviewer.aspx?a=%7Bf9efd171-279d-4e35-8e23-fcb167db4832%7D
    -https://news.sina.com.tw/article/20210111/37360360.html

  • wolfspeed 在 COMPOTECHAsia電子與電腦 - 陸克文化 Facebook 的精選貼文

    2021-02-05 14:30:00
    有 99 人按讚

    #微波雷達通訊 #X波段 #碳化矽基氮化鎵GaN-on-SiC

    【探測及防禦型雷達首選:X波段】

    依發射波形區分,雷達系統有脈衝 (Pulsed) 和連續波 (CW) 兩大類。前者是以方形脈衝波偵測目標,可同時偵測多個目標為其優勢;後者強在所需設備簡單、佔用頻寬不大且發射效率高,在同等條件下可實現更遠的通訊距離。

    在通訊頻段方面,頻率為 8~12GHz、波長在 3cm 以下的 X 波段雷達 (XBandRadar,縮寫:XBR),由於視角廣 (上下左右各 50 度) 且能 360 度旋轉偵查各個方向,是探測及防禦型雷達的首選。

    上述雷達產品組合涵蓋:MMIC (單片微波積體電路)、IM-FET (反轉式接面電晶體) 和基礎電晶體,關鍵指標如下:
    ●MMIC:微型、包覆成型的 QFN 封裝為佳,且具備多種功率位準、高增益及高效率特性;
    ●IM-FET:高效能、50Ω 建造模組,以支援高功率系統;
    ●電晶體:高準確度的塑模支援,可提供最大的靈活性以優化放大器設計。

    此外,擁有各種功率等級、高每級增益和高附加功率效率 (PAE),可因應尺寸、重量、功率和成本 (SWaP-C) 持續演進,以便驅動新一代陸、海、空雷達平台,例如:氣象、空中交通管制、火控及其他基於國防和商業的系統;而具有高電子遷移率的碳化矽基氮化鎵 (GaN-on-SiC) 電晶體,可在更高頻率支援更多增益。

    延伸閱讀:
    《X 波段雷達產品組合》
    https://www.digikey.tw/zh/product-highlight/c/cree-wolfspeed/x-band-radar-portfolio?dclid=CMCWyfLa0O4CFdgGlgod_yQMpA

    #Cree #Wolfspeed #Digikey

  • wolfspeed 在 股民當家 幸福理財 Facebook 的精選貼文

    2021-01-11 02:03:18
    有 44 人按讚

    決定台灣未來的SiC、GaN
    2021/1/11(一)大家早,我是 LEO
    .
    ■ 什麼是SiC 及GaN
    碳化矽(SiC)、氮化鎵(GaN)現在全世界矚目的焦點,全新的第三代半導體材料,相較於第一代半導體材料的矽(Si)、第二代半導體材料的砷化鎵(GaAs)相比,承受更高電壓,電流更快通過,具有低耗能等優點,兩者都被稱為未來半導體界的明日之星。
    .
    也許有些人還不知道什麼是半導體,一般的材料導電或不導電(絕緣)分成導體與非導體(絕緣體),半導體它厲害的地方在於,將它施加電壓時就會導電、不施加電壓時就會絕緣-不導電,導電與否的能力就是由材料的傳導性質所決定,光是這個發現就得了一個物理諾貝爾獎。
    .
    碳化矽、氮化鎵兩者都是未來半導體的關鍵材料,節能減碳的趨勢,各種未來的新興產業,快速充電、車用LiDAR、資料中心、無線充電、電動車、太陽能發電、直流電網、充電樁…等應用都需要高轉換效率的功率半導體。
    .
    ■ 寬能隙半導體
    為什麼碳化矽(SiC)、氮化鎵(GaN)被稱為「寬能隙半導體」,因為它的能隙是Si的三倍多,崩潰電場是Si十倍多,能隙(bandgap)決定了半導體的崩潰電場,就是能承受住多大的電壓,能隙越寬,越能耐高電壓、高電流、高能源轉換效率,矽的能隙寬約是1.17 eV,SiC的能隙寬為3.26 eV,GaN的為3.5eV。
    .
    兩者相比氮化鎵能隙更寬,電子遷移率更高,但熱導率卻更低,耐輻射性能也更優異,被認為更有機會實現低導通電阻、高開關速度的材料。
    .
    ■ 全世界競相押寶發展
    日本是全球第一個研發氮化鎵的國家,去年10月日本經濟產業省傳出全力發展氮化鎵,5年內撥款90兆日圓 (約25.2兆台幣),動用國家隊力量,資助研發氮化鎵的大學與企業。
    .
    但是,目前碳化矽發展比氮化鎵更成熟,市場研究機構Yole Developpement估計,到2025年SiC元件市場營收將佔據整體電力電子市場的10%以上,同時GaN元件的營收比例則會超過2%。
    .
    SiC元件的知名供應商包括意法半導體(ST)、Cree/Wolfspeed、羅姆(Rohm)、英飛凌(Infineon)、安森美(OnSemi)以及三菱(Mitsubishi Electric),GaN元件的主要供應商,包括PI (Power Integrations)與英飛凌,還有新創公司Navitas Semiconductor、Efficient Power Conversion (EPC)、GaN Systems與Transphorm。
    .
    ■ 領頭羊科銳Cree的決心
    目前全球SiC龍頭Cree美商科銳,過去30年原本是 LED的領導廠商,全球排名第三,2018年起轉型發展第三代半導體碳化矽材料,並出售LED賺錢業務,下定決心,立志在成為碳化矽(SiC)與氮化鎵(GaN)元件領域的強權,2018年EPS -2.81元,2019年 -3.62元,2020年 -1.78元,跨入SiC後大量資本資出,甚至虧損累累,但是最近一年卻飆漲 137%,股價更飆上121.67美元,創歷史新高。
    .
    由此可見市場現在高度期待的是未來電動車、5G、軌道交通、電網、太陽能的廣泛應用,甚至有朝一日全面取代矽基半導體,試想虧錢就飆成這樣,如果開始獲利,股價可能會漲到外太空。
    .
    目前SiC元件最成功的市場領域在電動/混合動力車市場,GaN元件應用於高階智慧型手機的快速充電應用,將成為未來五年的成長主力,Tesla Model 3就採用意法半導體(STM)的SiC半導體模組。
    .
    ■ 台灣半導體射月計畫
    不管是日本、美國、歐洲、甚至中國都全力發展第三代半導體材料並列入145計畫,除了電動車、節能應用,SiC跟國防、航太有都關係,Si元件工作溫度上限是攝氏100度,SiC可以到200度,特殊設計可以到300度。
    .
    SiC抗輻射,可應用在核電廠,NASA也應用在太空科技上,這種技術國外不可能轉給台灣,政府要求工研院投入研發,成功後把技術和人才完全移轉給漢磊與嘉晶,因為當時只有他們率先投入,這就是台灣的半導體射月計畫。
    .
    ■ 漢磊、嘉晶佈局最早
    經過8年多的耕耘、著墨最深,領先其他廠商,嘉晶(3016)是國內唯一有能力量產4吋、6吋碳化矽磊晶及6吋氮化鎵磊晶的公司,擁有磊晶專利技術,品質也獲得國際IDM大廠認可。6吋碳化矽晶圓已在試產階段,客戶端電動車需求最大,只要通過驗證,就開始出貨、貢獻營收。
    .
    漢磊(3707),它的650伏特高壓氮化鎵已經通過電動車的車用標準認證,並且開始逐漸導入,吸引國外與台灣多家電動車相關業者洽談合作,未來電動車對SiC、GaN有很高的需求,就連環球晶董座徐秀蘭也表示:估計未來十年內第三代半導體,複合成長率不會輸給現有矽晶圓。
    .
    國際IDM大廠英飛凌、瑞薩、意法半導體,車用營收占比明顯攀升,禁售其柴油車的趨勢就在眼前,國際IDM廠庫存降低,委外代工將更為明顯,甚至漲價,營運動能一路旺至今年上半年,漢磊及嘉晶將優先受惠!
    .
    此外,中美晶(5483)投資35億元,入主砷化鎵晶圓代工廠宏捷科(8086),投入氮化鎵的製程開發,期望能達成互補效應,發展潛力也值得關注。
    .
    📊 如果你想深入了解更多 2021年的明星產業,領先市場挖掘鮮少人知的潛力股,請按讚分享更多好朋友,讓團隊知道你看過了~也想知道更多 😃
    .
    🌞 Line群組〈點網址〉
    https://lihi1.com/jjjwf
    🌞 Telegram 即時訊息
    https://t.me/stock17168

  • wolfspeed 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • wolfspeed 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • wolfspeed 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:09:56