雖然這篇TNF-alpha cancer鄉民發文沒有被收入到精華區:在TNF-alpha cancer這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 tnf-alpha產品中有7篇Facebook貼文,粉絲數超過7萬的網紅顏純左,也在其Facebook貼文中提到, 1091018.流感症狀如何產生 早安 我是顏純左醫師 台南下營和平診所負責人 本診所附有 減重門診 雷射靜脈注射 全身健康檢查 過敏性疾病治療 急慢性疾病治療 預約專線06-6892-269 純醫分享第205篇 流感第8篇 @本文 為什麼流感的症狀會不一樣? 我們之前談過流感病毒侵入細胞的...
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
tnf-alpha 在 顏純左 Facebook 的最佳貼文
1091018.流感症狀如何產生
早安
我是顏純左醫師
台南下營和平診所負責人
本診所附有
減重門診
雷射靜脈注射
全身健康檢查
過敏性疾病治療
急慢性疾病治療
預約專線06-6892-269
純醫分享第205篇
流感第8篇
@本文
為什麼流感的症狀會不一樣?
我們之前談過流感病毒侵入細胞的過程,是因為血球凝集素像是一把鑰匙,它是進入細胞之內的關鍵。
但是這個鑰匙插進去之後必須靠人類的蛋白酶把它裂解掉,病毒才能夠進入細胞質內,人類在各種不同的組織有各種不同的蛋白酶。
對溫和性和的毒性較低的病毒來講,它們的血球凝集素只能由喉部和肺部的蛋白酶分解,所以這些病毒無法感染到其他的地方。
但是對致病力較強的病毒株,可以透過各式各樣的蛋白酶分解也就是病毒能在體內各種組織間散播。
病毒的血清凝集素決定了病毒株能感染的物種,以及能夠感染呼吸道的哪一個部分。
能夠感染人類的病毒株,血球凝集通常能和上呼吸道如鼻子,口,喉嚨的受體結合。
而致死率較高的比較容易結合在會肺部深部的受體。
這也就是有些人他不會咳嗽,不會流鼻涕直接引起肺炎最主要的原因。
其他常見的症狀如發燒頭痛和疲倦它不是病毒傷害的,而是感染後的細胞為了抵抗病毒,釋放大量的發炎性細胞激素和趨向因子的釋放,如干擾素及TNF Alpha所造成的。
而這些反應往往是造成致死病的重要因素,許多致死率特高的流感都是用這個途徑包括這一次的武漢肺炎病毒也是一樣。
我們看到川普總統在感染之後用類固醇治療,也是基於這個理由,壓制人體對病毒的過度反應。
在普通感冒當中是不會有這種現象的。
普通感冒鼻病毒的症狀是來自於病毒對組織的直接傷害,很少會有發炎反應。
以上是為什麼流感會產生症狀,而每個人的症狀不盡相同的主要原因。
tnf-alpha 在 Dr 文科生 Facebook 的最佳解答
今時今日,走一趟藥房,不難發現市面上充滿著林林總總的保健產品,當中說明的功效從補腦、補骨、補關節、補眼、補肝、補心臟⋯⋯幾乎所有說得出來的人體器官,都總有一款相對應的產品。
那麼,這些產品究竟有沒有醫學實證?哪些有,哪些沒有?
今日想跟大家分析一項近來很受歡迎的產品——薑黃 /薑黃素(Turmeric / Curcumin)。
相信在藥房或超市,大家很常見到薑黃素以「調節免疫系統 / 減低身體炎症」作為賣點。那麼,這些宣稱的功效真的有醫學實證支持嗎?
讓我們一起來Literature Review一下:
其實薑黃 /薑黃素在過去的十幾年一直是膳食補充劑類的研究對象。在早期的動物研究中,研究人員發現薑黃 / 薑黃素在特定的劑量下對實驗老鼠有減低炎症的作用(prevention of inflammatory process via modulation or inhibition of cyclooxygenase, TNF alpha, Interleukin etc) [1][2]
然而,在動物實驗中具有消炎效果,是否就代表在人類身上亦會有臨床治療炎症的效果呢?事實上,很多動物實驗跟臨床研究都可能會有落差,所以如果要判斷,我們必須去細心調查臨床研究的結果。
目前較多的臨床研究是薑黃 / 薑黃素的消炎及免疫調節效用。
在炎症性腸炎方面(Inflammatory bowel disease),例如克隆氏症(Crohn’s Disease)和潰瘍性結腸炎(Ulcerative Colitis)有少量臨床研究發現薑黃素可減低系統性發炎的程度、徵狀及復發機會。[3]
在其他一些系統性發炎或自體免疫系統疾病方法,例如紅斑狼瘡性腎炎(Lupus Nephritis)、虹膜炎(Uveitis),小量的臨床研究同樣發現薑黃素可減低發炎的程度、徵狀、復發機會及併發症。[3]
另外,最近有研究發現,當薑黃素混合胡椒鹼(piperine)時,可令薑黃素的生物利用度(bioavailability)增加至20倍,有助解決薑黄素擁有相對較低生物利用度的問題。[4]
不過我們必須明白,雖然這些早期的臨床研究結果非常具鼓舞性,但我們需要更多的大型國際臨床研究,以進一步調查薑黃 /薑黃素在不同的症病下的實際原理,為未來臨床治病應用立下基礎。
所以,如果大家想選購保健產品,記得像文科生一樣,先去做Literature Review,並選擇合適自己的產品才去試用;如試用前或試用後有不適或憂慮;或如閣下正長期服用抗凝血藥物或其他處方藥物,請先諮詢主診醫生/家庭醫生或藥劑師意見。
最後,緊記無論是哪一款的膳食補充品,都不能代替健康的生活方式,大家還是要多做運動、均衡飲食和作息定時,才能活出健康的人生啊。
祝願大家2020可以過身體健康的一年。
#增強免疫力 #薑黃素 #保健品分析 #身體健康
Reference
[1] Huang, M. T., Lysz, T., Ferraro, T., Abidi, T. F., Laskin, J. D., & Conney, A. H. (1991, February 1). Inhibitory effects of curcumin on in vitro lipoxygenase and cyclooxygenase activities in mouse epidermis. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/1899046/
[2] Rahmani, A. H., Alsahli, M. A., Aly, S. M., Khan, M. A., & Aldebasi, Y. H. (2018, February 28). Role of Curcumin in Disease Prevention and Treatment. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5852989/#ref23
[3] Gupta, S. C., Patchva, S., & Aggarwal, B. B. (2013, January). Therapeutic roles of curcumin: lessons learned from clinical trials. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3535097/
[4] Hewlings, S. J., & Kalman, D. S. (2017, October 22). Curcumin: A Review of Its' Effects on Human Health. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5664031/
tnf-alpha 在 Brinkkty Facebook 的最佳貼文
ก็ว่าตาเริ่มพร่าล้ะ
HEALTH: ตายจากการอดนอน นอนน้อยกว่า 6 ชั่วโมงต่อเนื่องมีความเสี่ยง
.
สถิติการอดนอนยาวนานที่สุดที่เคยถูกบันทึกไว้คือ 11 วัน เจ้าของสถิติคือ Randy Gardner นักเรียนมัธยมปลาย วัย 17 ปี เขาตื่นอยู่ตลอดเวลาติดต่อกัน 264 ชั่วโมง
.
การไม่ได้นอน 11 วันมีผลอย่างไรบ้างน่ะเหรอ?
.
อันที่จริงร่างกายของ Gardner เริ่มส่งสัญญาณความผิดปกติตั้งแต่วันที่ 2 แล้วครับ ดวงตาทั้งสองข้างของเขาไม่สามารถมองจดจ่ออยู่กับอะไรได้เลย พูดง่าย ๆ ตาโฟกัสวัตถุไม่ได้ จากนั้นความสามารถในการแยกแยะสิ่งของด้วยการสัมผัสของเขาก็ล้มเหลว เขาไม่สามารถตอบได้ว่ามือของตัวเองกำลังจับวัตถุอะไรอยู่หากปราศจากการมอง วันที่ 3 Gardner อารมณ์ฉุนเฉียวและเคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สัมพันธ์กัน
.
เมื่อการทดลองสิ้นสุด เขาต้องพยายามอย่างมากที่จะรวบรวมสมาธิและจิตใจของตัวเองให้กลับมาเป็นปกติ และยังต้องเผชิญกับปัญหาร้ายแรงในเรื่องความจำระยะสั้น กลายเป็นคนที่มีอาการจิตเภทหวาดระแวง และเริ่มมีอาการทางประสาทมองเห็นภาพหลอน ใช้เวลานานมากกว่าจะฟื้นฟูร่างกายให้กลับมาเป็นคนเดิม
.
แม้ว่า Gardner จะหายจากอาการเหล่านั้นโดยไม่มีผลกับสุขภาพจิตในระยะยาว แต่ข้อเท็จจริงสำหรับมนุษย์ทุกคนคือการอดนอนต่อเนื่องนั้นเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดความไม่สมดุลของฮอร์โมน การเจ็บป่วย และในกรณีร้ายแรงที่สุด คือ ตาย
.
สำหรับผู้ใหญ่ ชั่วโมงการนอนที่เหมาะสมคือ 7 - 8 ชั่วโมง ส่วนวัยรุ่นจะอยู่ที่ประมาณ 10 ชั่วโมง เมื่อร่างกายเริ่มส่งสัญญาณถึงอาการง่วง นั่นหมายความว่าสมองเรากำลังเหนื่อยล้า การง่วงนอนมาจากการหลั่งสารเคมีในสมอง เช่น อะดีโนซีน (Adenosine) และ เมลาโทนิน (Melatonin) เมื่อระดับสารเคมีเหล่านี้สูงขึ้นมันจะส่งผลให้ร่างกายเราเริ่มมีอาการหลับในนิด ๆ เราจะหายใจแผ่วลง หัวใจจะเริ่มเต้นช้าลง และกล้ามเนื้อก็จะเริ่มผ่อนคลาย เพื่อเข้าสู่โหมด Sleep
.
ภาวะการณ์นอนแบบนี้เรียกว่า Non-REM Sleep การนอนในโหมดที่ร่างกายจะซ่อมแซมตัวเองในส่วนที่สึกหรอ รวมถึงซ่อมแซม DNA ด้วย ร่างกายเราจะเสริมสร้างพลังให้ตัวเองเพื่อพร้อมสำหรับการใช้งานในวันรุ่งขึ้น นั่นเป็นเหตุผลว่าทำไมการอดนอนหรือนอนหลับไม่เต็มที่จึงทำให้ร่างกายคุณผิดปกติเริ่มตั้งแต่อาการเล็ก ๆ อย่างหงุดหงิดฉุนเฉียว ไปจนถึงประสาทหลอน นั่นเพราะเซลล์ในร่างกายและสมองของคุณถูกทำลายจากการใช้งานอย่างต่อเนื่องโดยที่มันไม่มีโอกาสได้ซ่อมแซมตัวเองเลย
.
ปี 2014 ช่วงบอลโลก สื่อทั่วโลกตีข่าวการเสียชีวิตของแฟนบอลพันธุ์แท้รายหนึ่งที่อดนอนต่อเนื่องมากกว่า 48 ชั่วโมงเพื่อดูการแข่งขัน สาเหตุการเสียชีวิตของเขามาจากการขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง
.
หรืออย่างข่าวดังของ Ranjan Das CEO ชาวอินเดียวัย 42 ปี ที่มีสุขภาพจิตดี เข้มงวดกับอาหารการกิน และการออกกำลังกาย แต่กลับต้องมาเสียชีวิตลงกะทันหันเพราะอดนอนต่อเนื่องมานานหลายปี เขาเคยให้สัมภาษณ์กับสื่อหลายสำนักว่าเขานอนน้อยมากเฉลี่ยคืนละ 4 - 5 ชั่วโมงเท่านั้น ตัวเขาเองรักสุขภาพอยากนอนให้ได้มากกว่านี้ แต่มีเรื่องต้องรับผิดชอบเยอะในฐานะผู้นำ เขาจึงเลือกที่จะโฟกัสกับอาหารและการออกกำลังกายแทน เพราะสามารถทำได้ในระหว่างวัน
.
ผลการวิจัยด้านการนอนหลับอย่างมีคุณภาพ ระบุว่าหากคุณนอนน้อยกว่าคืนละ 6 ชั่วโมงเป็นประจำโอกาสที่สมองคุณจะขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเพียงพอมีมากถึง 4.5 เท่า เมื่อเทียบกับคนที่นอนหลับคืนละ 7 ชั่วโมงขึ้นไป
.
เรื่องของการนอนมีผลต่อความตายขนาดนั้นได้อย่างไร?
.
นักวิทยาศาสตร์คิดว่าคำตอบนี้ขึ้นอยู่กับการสะสมของเสียในสมอง ช่วงที่เราตื่นและทำกิจกรรมต่าง ๆ เซลล์ในร่างกายเราจะง่วนอยู่กับการใช้แหล่งพลังงานซึ่งพลังงานพวกนั้นจะถูกสลายไปเป็นสารเคมีต่าง ๆ ในร่างกายและสมอง หนึ่งในนั้นคือ อะดีโนซีน (Adenosine) สารเคมีที่พบในสมอง เมื่อมันถูกสะสมมากขึ้นเรื่อย ๆ จะทำให้เกิดแรงกดดันที่ทำให้เราหลับเร็วขึ้น (Sleep Pressure) สังเกตวันไหนทำอะไรมาหนัก ๆ เหนื่อย ๆ กลับบ้านไปสลบเป็นตาย
.
แล้วจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อคุณง่วงสุด ๆ แต่ยังคงอัด “คาเฟอีน” เข้าร่างเพื่อกระตุ้นให้ตัวเองตื่น คาเฟอีนมันจะไปสกัดกั้นการรับ อะดีโนซีน เจ้าสารเคมีที่ทำให้ง่วงนอน เราจะไม่ง่วง จุดนี้เองที่จะทำให้ของเสียในสมองถูกสะสมมากขึ้น เพราะระบบการกำจัดของเสียในสมองและระบบการซ่อมแซมเซลล์ในร่างกายจะทำงานได้เต็มที่จริงๆ ก็ต่อเมื่อเราหลับ
.
หากมีพฤติกรรมง่วงแต่ไม่นอน ง่วงแต่อัดคาเฟอีนเกิดขึ้นกับคุณต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ร่างกายและสมองของคุณจะเปี่ยมไปด้วยของเสียที่สะสมจากการใช้ชีวิตในแต่ละวัน นำไปสู่การทำงานที่ผิดปกติในร่างกายและสมองและตามมาด้วยโรคภัยต่าง ๆ และระบบการทำงานภายในที่ล้มเหลวจนทำให้เสียชีวิตได้
.
คร่าว ๆ สำหรับหนึ่งคืนที่คุณนอนไม่พอ ร่างกายคุณจะสะสมสารเคมีที่เป็นพิษหลายชนิด เช่น Interleukin-6 (IL-6), Tumour Necrosis Factor-Alpha (TNF-alpha) และ C-reactive protein (cRP) ชื่อสารแต่ละตัวปวดหัวมาก แต่เอาเป็นว่าพวกมันจะเพิ่มอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคหลายชนิดรวมไปถึงมะเร็ง โรคข้ออักเสบ และโรคหัวใจด้วย
.
อ้างอิง:
- http://bit.ly/2yHb39b
- http://bit.ly/2GN4LJz
.
#Sleep #LifeStyle #Health #BrandThink
อัปเดตและติดตามข่าวสารได้ที่
Line: @BrandThink (มี @ ด้วยนะครับ)
Instagram: instagram.com/brandthink.me
Website: www.brandthink.me
Twitter: twitter.com/BrandThinkme