[爆卦]Sha1 decrypt online是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Sha1 decrypt online鄉民發文沒有被收入到精華區:在Sha1 decrypt online這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 sha1產品中有10篇Facebook貼文,粉絲數超過16萬的網紅โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer,也在其Facebook貼文中提到, #โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

sha1 在 亞實♡AMI♡亜実 Instagram 的最佳貼文

2020-05-12 17:07:07

我們WTO的最佳主持人 @saaaaaaasaaaaaaa 姐出書了👏😍她介紹的甜點都超級可愛,看起來很美味,説明過程也很仔細,好貼心喔❤️回日本後馬上要做給我未婚夫吃吧😘希望我會成功!也很希望他會喜歡💕恭喜莎莎姐~🎉✨這本書對喜歡甜點的所有人很有幫助喔🤤❤️ レギュラー番組でお世話になっている最高...

  • sha1 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的精選貼文

    2020-10-19 13:15:38
    有 192 人按讚


    #โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
    ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
    :
    วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
    จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
    hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
    a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
    :
    หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
    เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
    ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
    :
    สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
    hash values, hash codes, digests
    แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
    :
    ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
    MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
    :
    +++++
    👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
    .
    ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
    .
    1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
    2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
    3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
    :
    👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
    1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
    หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
    .
    ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
    มาเป็น "1234" ได้เลย
    .
    ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
    :
    2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
    เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
    พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
    แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
    .
    จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
    แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
    (ไม่มีการชนกันหรือ crash)
    :
    +++++
    👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
    เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
    .
    รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
    ...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
    ...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
    :
    ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
    :
    👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
    - ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
    - จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
    - นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
    - แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
    123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
    .
    ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
    ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
    (เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
    ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
    แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
    :
    ++++
    👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
    ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
    (จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
    dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
    Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
    :
    👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
    ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
    1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
    2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
    แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
    .
    ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
    จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
    hash("1234")
    แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
    hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
    hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
    hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
    .
    ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
    มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
    เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
    เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
    :
    เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
    แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
    .
    👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
    1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
    (แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
    2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
    3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
    4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
    ..
    แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
    Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
    มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
    .
    ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
    MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
    เนี่ยห้ามใช้นะครับ
    หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
    :
    +++++
    👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
    เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
    เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
    เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
    เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
    :
    ++++
    👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
    เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
    hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
    ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
    .
    ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
    ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
    .
    ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
    ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
    โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
    .
    เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
    ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
    :
    +++
    😁 สรุป
    1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
    2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
    3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
    -> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
    จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
    .
    สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
    ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
    หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
    .
    ++++++
    เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
    อ้างอิง
    https://crackstation.net/hashing-security.htm
    https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function

  • sha1 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最佳貼文

    2020-07-19 10:28:55
    有 412 人按讚


    #โปรแกรมเมอร์ เก็บ Password แบบไหน? ถึงจะปลอดภัย
    ในทางโปรแกรมมิ่งการเก็บ password ลงฐานข้อมูล (Database) ไม่ได้เก็บกันตรงโต้งๆ ไม่งั้นใครมาเห็นก็อ่านได้หมด ซวยกันพอดี
    :
    วิธีเก็บ password ที่ปลอดภัย
    จะนำมาผ่าน Hash function เสียก่อน เช่น
    hash("1234") ได้คำตอบออกมาเป็น
    a591a6d40bf420404a011733cfb7b190d62c65bf0bcda32b57b277d9
    :
    หน้าที่ hash function จะแปลงพาสเวิร์ด "1234"
    เป็นข้อความลับอะไรซักอย่างที่อ่านไม่ออก
    ทั้งนี้ขนาดข้อความที่ได้จาก hash function จะคงที่ (fixed size)
    :
    สำหรับค่าที่ได้จาก Hash function มีหลายชื่อให้เรียกขาน เช่น
    hash values, hash codes, digests
    แต่ผมจะเรียกสั้นๆ ว่า "ค่า hash" แล้วกัน
    :
    ส่วนฟังก์ชั่นที่ใช้เป็น Hash function ในโลกนี้มีหลายตัว เช่น
    MD5, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL เป็นต้น
    :
    +++++
    👉 ตัดกลับมาตอนนี้เราเก็บ password ในฐานข้อมูลเป็นค่า hash แล้วเวลายูสเซอร์ล็อกอินกรอก user name ป้อน password เข้ามาในระบบ
    .
    ก็จะมีสเตปการตรวจสอบ password ประมาณเนี่ย
    .
    1) ระบบจะเอา password มาเข้า hash funcion ได้เป็นค่า hash
    2) เอาค่า hash ในข้อ 1 ไปเทียบดูในฐานข้อมูล (ของยูสเซอร์นั้น)
    3) ถ้าค่าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ได้ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
    :
    👉 เหตุผลที่ hash function มัน ok เพราะอาศัยคุณสมบัติดังนี้
    1) hash function มันทำงานทางเดียว (one-way)
    หมายถึงเราไม่สามารถนำค่า hash มาย้อนหาข้อความต้นฉบับได้เลย
    .
    ในกรณีนี้ต่อให้ hacker เห็นค่า hash เขาจะไม่สามารถถอดกลับ
    มาเป็น "1234" ได้เลย
    .
    ด้วยเหตุนี้ค่า hash บางทีเขาจึงเรียกว่า "message digest" หมายถึง "ข้อความที่ย่อยสลาย" ...จนไม่รู้ต้นฉบับหน้าตาเป็นแบบไหนแล้ว
    :
    2) ถ้าข้อความต้นฉบับหน้าตาเดียวกันเป๊ะทุกกะเบียดนิ้ว
    เวลาผ่าน hash function จะได้ค่า hash เหมือนเดิม
    พอเปลี่ยนข้อความต้นฉบับนิดหนึ่ง
    แม่เจ้า ....ค่า hash เปลี่ยนไปราวฟ้ากับเหว ต่างกันมาก
    .
    จึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะเก็บ password ต่างกัน
    แล้วได้ค่า hash เดียวกัน ...เป็นไปไม่ด้ายยยย
    (ไม่มีการชนกันหรือ crash)
    :
    +++++
    👉 เพราะข้อดีของ hash function ที่ยกมา
    เวลาเก็บ password ลงฐานข้อมูล จึงควรเปลี่ยนไปใช้ค่า hash แทน
    .
    รับรองได้ว่าต่อให้ hacker เจาะระบบเข้ามาได้ (กรณีเลวร้ายสุดๆ แหละ)
    ...แล้วอ่าน password ที่ถูกเข้ารหัส ก็จะอ่านไม่รู้เรื่อง
    ...ต่อให้พยายามถอดกลับมาเป็นข้อความต้นฉบับ ก็ทำไม่ได้นะจ๊ะ
    :
    ฟังเหมือนปลอดภัยนะ ถ้าเก็บรักษา password ด้วยวิธี hash function แต่ทว่า hacker ก็ยังสามารถใช้วิธีเดาสุ่มหา password ได้อยู่ดี ...ไม่ยากด้วย ขอบอกเลย
    :
    👉 ยกตัวอย่างง่ายๆ วิธี hack พาสเวิร์ดเบสิกสุดๆ
    - ให้คิดว่าตอนนี้ hacker เจาะระบบเข้าไปอ่าน password ในฐานข้อมูลได้แล้ว
    - จากนั้น hacker จะมองหาค่า hash (ของ password) ในฐานข้อมูลที่ซ้ำๆ กันอยู่
    - นั่นหมายถึงเจอยูสเซอร์ใช้ password ซ้ำกัน จึงเจอค่า hash ซ้ำกันนั่นเอง
    - แล้วการที่ยูสเซอร์ใช้ซ้ำ แสดงว่ามันเป็น password ง่ายนะซิ เช่น
    123456, 1111, Baseball, Qwerty, password
    .
    ดังนั้น hacker ก็แค่ค้นหาในตาราง
    ตารางที่ว่าจะเก็บ password พร้อมค่า hash
    (เก็บพวก password ที่คนใช้กันเยอะ)
    ซึ่ง hacker ก็จะค้นหาหาในตารางดังกล่าว
    แบบไล่สุ่มไปเรื่อยๆ เดี่ยวก็เจอไม่ยาก
    :
    ++++
    👉 ก็เพราะเหตุนี้จึงต้องหาวิธีแก้ทาง hacker
    ให้เดาสุ่มหา password มันทวีความยุ่งยากไปอีก
    (จุดประสงค์ป้องเทคนิคพวกเดาสุ่ม เช่น
    dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables,
    Reverse Lookup Tables, Rainbow Tables)
    :
    👉 สำหรับวิธีการป้องกัน ก็จะทำประมาณเนี่ย
    ก่อนที่จะเก็บ password ลงฐานข้อมูล ระบบจะต้องทำเยี่ยงนี้
    1) จะนำ password มากบวกกับค่า salt
    2) จากนั้นนำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash function
    แล้วเก็บค่า hash ที่ได้ลงฐานข้อมูล
    .
    ขออธิบายข้อ 2 เพิ่มเติม
    จากเดิมเราเรียกใช้ hash function เช่น
    hash("1234")
    แต่เราจะเปลี่ยนมาเรียก
    hash("1234" + "QxLUF1bgIAdeQX")
    hash("1234" + "bv5PehSMfV11Cd")
    hash("1234" + "YYLmfY6IehjZMQ")
    .
    ซึ่ง "QxLUF1bgIAdeQX", "bv5PehSMfV11Cd", "YYLmfY6IehjZMQ" ที่ยกตัวอย่าง
    มันก็คือค่า "salt" (ที่แปลว่า "เกลือ")
    เป็นค่า radom ที่แจกให้แต่ละยูสเซอร์ ไม่ซ้ำกันเลย
    เราจะนำมาบวกกับ password ก่อนเข้า hash function
    :
    เวลาเก็บ password ในฐานข้อมูล
    แต่ละยูสเซอร์จะต้องเก็บทั้งค่า hash กับ salt เอาไว้
    .
    👉 พอเวลายูสเซอร์ล็อกอินใส่ user name / password
    1) ระบบก็เอา password มาบวกกับ salt
    (แต่ละยูสเซอร์เก็บค่า salt คนละค่า)
    2) นำค่าที่ได้จากข้อ 1 มาเข้า hash funcion
    3) นำค่าที่ได้จากข้อ 2 ไปเปรียบเทียบกับ ค่า hash ในฐานข้อมูล
    4) ถ้าตรงกันแสดงว่ายูสเซอร์ป้อน password ถูกต้อง แสดงว่าล็อกอินสำเร็จ
    ..
    แต่มีข้อแม้ hash function ที่ควรใช้ได้แก่
    Argon2, bcrypt, scrypt ($2y$, $5$, $6$), หรือ PBKDF2
    มันถึงจะปลอดภัย ทำให้การเดาสุ่มหา password ทำได้ยากขึ้น
    .
    ส่วนพวก hash function ที่ทำงานได้รวดเร็ว เช่น
    MD5, SHA1, SHA256, SHA512, RipeMD, WHIRLPOOL, SHA3, etc.
    เนี่ยห้ามใช้นะครับ
    หรืออย่าง crypt (เวอร์ชั่น $1$, $2$, $2x$, $3$) ก็ไม่ห้ามใช้นะครับ
    :
    +++++
    👉 ในแง่การเขียนโปรแกรม
    เข้าใจว่าแต่ละภาษาโปรแกรมมิ่ง หรือพวกเฟรมเวิร์ค
    เขาคงเตรียมไลบรารี่ หรือเครื่องมือ
    เอาไว้ให้ใช้ hash function รวมกับค่า salt อยู่แล้ว
    เราสามารถเปิดคู่มือ แล้วทำตามได้เลยครับ
    :
    ++++
    👉 ย้ำที่อธิบายทั้งหมดนี้
    เป็นการป้องกันการเจาะระบบฝั่งแอพ หรือระบบเท่านั้น
    hacker ยังสามารถเดาสุ่มป้อน password
    ได้โดยตรงที่หน้าแอพ หรือฝั่งล็อกอินหน้าโปรแกรมได้เลย (Brute Force Attacks)
    .
    ทางที่ดีระบบต้องเช็กว่าถ้ายูสเซอร์กรอก password ผิดติดต่อกันกี่ครั้ง?
    ถึงจะระงับการใช้ user name นี้ชั่วคราว หรือจะแบน IP ที่ล็อกอินเข้ามาไปเลยก็ยังได้
    .
    ยิ่งถ้าเป็นการล็อกอินผ่านเว็บไซต์
    ก็ควรให้เว็บเราใช้โปรโตคอล https ขืนไปใช้ http ธรรมดา
    โอกาสเจอ hacker ดักจับ user name/ passwod กลางทางมีสูงมาก
    .
    เว้นแต่เราจะใช้เทคนิค Digest Access Authentication เข้าช่วย
    ทำให้การส่ง user name/password ผ่าน http ธรรมดาได้อย่างปลอดภัย (แต่โค้ดดิ่งก็จะยุ่งยากตาม)
    :
    +++
    😁 สรุป
    1) เก็บพาสเวิร์ดตรงๆ โดยไม่เข้ารหัส -> hacker ชอบนักแล
    2) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values -> hacker อ่านไม่ออกก็จริง แต่ไม่ยากที่จะเดา password
    3) เก็บพาสเวิร์ดโดยเข้ารหัสในรูป Hash values + salt vaues
    -> hacker อ่านไม่ออก ต่อให้ไปเดาสุ่ม ก็จะทำได้ยากขึ้น
    จุดประสงค์ข้อ 3 นี้เพื่อป้องกันด้วยเทคนิค ..... dictionary attacks, Brute Force Attacks, Lookup Tables, Reverse Lookup Tables, Rainbow Table
    .
    สุดท้ายขอจบเรื่อง hash funcion กับ password
    ให้รอดพ้นจาก hacker ไว้เพียงเท่านั้น
    หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่านนะครับ
    .
    ++++++
    เขียนโดย โปรแกรมเมอร์ไทย thai programmer
    อ้างอิง
    https://crackstation.net/hashing-security.htm
    https://en.wikipedia.org/wiki/Hash_function

  • sha1 在 Taipei Ethereum Meetup Facebook 的精選貼文

    2019-11-04 18:40:25
    有 15 人按讚

    📜 [專欄新文章] The next generation Ethereum Virtual Machine — Ewasm VM
    ✍️ Peter Lai
    📥 歡迎投稿: https://medium.com/taipei-ethereum-meetup #徵技術分享文 #使用心得 #教學文 #medium

    The next generation Ethereum Virtual Machine — Ewasm VM

    The next generation Ethereum Virtual Machine — Crosslink 2019 Taiwan

    這篇文章是 Crosslink 2019 Taiwan 的一個議程紀錄:The next generation Ethereum Virtual Machine,由來自 Second State 的工程部 VP Hung-Ying Tai 分享 Ewasm VM 目前研究內容及未來的方向,內容非常精彩,包含了 EVM bytecode 、 Webassembly、Ewasm1.0 以及 Ewasm2.0 。

    EVM bytecode 及 Webassembly(WASM)

    以太坊的智能合約交易在執行時,例如 :轉 Token 到別的地址,我們是將 EVM bytecode 讀進以太坊的虛擬機執行,而 EVM bytecode 有以下幾點特色:

    256 位元且堆疊式(staked-based)的虛擬機

    很多高階的指令,例如:SSTORE, SLOAD, SHA3, EC, Call/Create contract

    與實體系統架構(通常是 32/64 位元)有差異,而 256 位元則需要靠模擬來完成

    較少程式語言(Vyper, Solidity, …)

    Webassembly(WASM)是為了讓不同程式語言開發的套件都能在瀏覽器使用的一種二進位程式語言,WASM 有以下幾點特色:

    堆疊式(staked-based)的虛擬機:有獨立的區域空間(暫存器或是記憶體),存取堆疊前 3 個物件(EVM 存取 16 個)

    支持 32 / 64 位元的操作

    沒有高階的指令

    RISC 指令集也可以對應到 CPU ISA

    較大的社群:主流的瀏覽器都支援,也有較多的程式語言(C++, Rust, GO, …)

    Ewasm 1.0

    接下來看看以太坊 Ewasm 的特性:

    Ewasm 是 wasm 的子集合

    因為不能有誤差,所以不支援浮點數運算

    只能 import 以太坊的函式庫,避免 importㄒ系統函式庫

    在每段指令之前插入 useGAS 來計算 GAS 的花費

    Ethereum Environment Interface

    EVM 裡有很多像是 SSLOAD, SHA3 的高階指令,這些指令在 Ewasm 1.0 裡,因為 WASM 可以動態讀取函式庫(模組),以太坊定義了 Ethereum Environment Interface 讓客戶端可以用不同的語言實作相對應的函示庫,而且也更容易完成 prototype 跟升級。

    下圖是 Ethereum Environment Interface 定義的函數列表。

    Ethereum Environment Interface Definition.

    如何移除非法的指令?

    Ewasm 使用 system contract 移除非法指令以及加入 useGas 的 bytecode,像是浮點數或是非法的 import,有以下兩種做法:

    使用 smart contract 檢查合約的 bytecode

    像目前的 precompiles 運行在客戶端上,在部署前先檢查合約

    下圖是 Ewasm 1.0 的 stack,在部署合約前 Ewasm bytecode 會先經過 Sentinal 的檢查,成功部署後客戶端如果要執行合約會透過 EVM-C 跟 Heru(Wasm Engine)溝通。

    Ewasm Stack

    效能問題

    究竟使用 Ewasm 效能真的會比較快嗎?講者分享各 EVM 執行 Sha1 以及 BN128mul 的結果,可以發現 EVM 在運行 BN128mul 時會是最快,主要是因為 WASM 支持 32 / 64 位元的操作,256 位元則需要另外模擬(1 個 256 位元的運算可以換成 25 個 64 位元的運算),所以 WASM 在跑 BN128mul 時才會比較慢。

    Ewasm 2.0

    Ewasm 2.0 的智能合約改叫 Execution Environments(EE),與 Ewasm 1.0 不一樣的有下列幾點

    EE 全部都是 WASM 寫的

    因為支援 cross shard,每個 EE 都是在一個 shard 上執行

    EE 只能拿到 state root,而在合約的執行寫法也跟原來不一樣

    EE 是 stateless

    下圖可以看到 ERC20 Token 在 Ewasm 2.0 跟 Ewasm 1.0 storage 的比較,Ewasm 1.0 每個 data 都會有相對應的 key,而 Ewasm 2.0 只有存 state root,所以只能跟 state root 互動。

    Ewasm 2.0 vs Ewasm 1.0

    Phase One and Done

    目前 Ewasm 2.0 到 phase one and done 的階段,也有測試的網路可以在 shard block 執行 EE,以太坊也有開源 Ewasm 2.0 的測試工具 Scout。

    Hello World for Ewasm 2.0

    上圖是 Eth 2 的 Hello World EE,可以看到 main 函數裡第一行讀取 pre state root,接下來驗證 block data size 是不是為 0,最後再將 state root 存回去,Eth 2 的智能合約寫起來都會像這樣。

    結論

    Ewasm 1.0 目前已經支援 EVM 1 大部分的功能也有測試鏈了,second state 開發一個編譯器 soll,能將 solidity 編譯成 Ewasm,想研究的人可以參考看看。

    Ewasm 2.0 目前還在研究中,下圖是講者給大家分享的研究及貢獻的方向。

    A MAYBE Roadmap

    參考

    Crosslink 簡報

    webassembly.org

    scout

    soll

    Ewasm overview and the precompile problem: Alex Beregszaszi and Casey Detrio @ Ethereum \\ Part 1 — YouTube

    Ewasm overview and the precompile problem: Alex Beregszaszi and Casey Detrio @ Ethereum \\ Part 2 — YouTube

    Wasm for blockchain&Eth2 execution: Paul Dworzanski,Alex Beregszaszi,Casey Detrio@Ethereum \\ Part 2 — YouTube

    Ewasm for sharding

    Ewasm updates

    Ewasm design

    wasm-intro

    The next generation Ethereum Virtual Machine — Ewasm VM was originally published in Taipei Ethereum Meetup on Medium, where people are continuing the conversation by highlighting and responding to this story.

    👏 歡迎轉載分享鼓掌

  • sha1 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • sha1 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:10:45

  • sha1 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站