[爆卦]See's Candies是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇See's Candies鄉民發文沒有被收入到精華區:在See's Candies這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 see's產品中有108篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, Rick Guerin นักลงทุนที่ บัฟเฟตต์ เคยยกย่อง แต่โลกลืม /โดย ลงทุนแมน เมื่อพูดถึงนักลงทุนรุ่นเก๋า เราก็น่าจะคุ้นเคยกับสองคู่หูแห่ง Berkshire Hathaway คื...

 同時也有8部Youtube影片,追蹤數超過2萬的網紅威宇 & 阿堯,也在其Youtube影片中提到,See's Candy 不是最好的企業,但巴菲特卻說是他最重要的投資。我們如果要了解為什麼,就要知道他當時為什麼買這檔股票,以及這次投資給他什麼影響。 藍籌點券:巴菲特和蒙格的收購機器 https://reurl.cc/b5VgZr 📺訂閱頻道看更多投資內容:https://www.youtub...

see's 在 腦洞大開|商業時事X 議題分析 Instagram 的最佳解答

2021-08-02 18:58:03

【巴菲特的「夢想」投資:See's CANDIES】#腦洞創業系列⠀ ⠀ 如果投資是一場電玩,你可能會懷疑巴菲特作弊😏⠀ ⠀ 股神巴菲特旗下的控股公司 Berkshire Hathaway 擁有價值 2,400 億美金的投資組合,並控制著約 7,000 億美金的資產。其投資遍佈數十個產業,從保險(G...

see's 在 暄|平凡暄誓學理財 x 美股投資 Instagram 的精選貼文

2021-07-11 08:51:43

2021巴菲特致股東信:向股神的投資原則學習  ⭐️前言 📍巴菲特的公司每年發布年報時,都會附上一封給股東的信 📍內容是巴菲特的經營和投資理念 📍1965~2014的信有收錄在一本書 📍2015年後的信件在波克夏網站能看到(https://www.berkshirehathaway.co...

  • see's 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文

    2021-08-09 20:00:20
    有 825 人按讚

    Rick Guerin นักลงทุนที่ บัฟเฟตต์ เคยยกย่อง แต่โลกลืม /โดย ลงทุนแมน
    เมื่อพูดถึงนักลงทุนรุ่นเก๋า เราก็น่าจะคุ้นเคยกับสองคู่หูแห่ง Berkshire Hathaway
    คือ Warren Buffett และ Charlie Munger

    ทั้งคู่ถือเป็นนักลงทุนต้นแบบด้านการลงทุนแบบเน้นคุณค่า
    จากการที่อยู่ในตลาดหุ้นมาแล้วหลายทศวรรษและยังประสบความสำเร็จ
    รวมถึงเป็นผู้คอยให้คำแนะนำแก่เหล่านักลงทุนหน้าใหม่

    แต่รู้หรือไม่ว่า ก่อนหน้านี้ในปี 1970 Berkshire Hathaway ยังมีหุ้นส่วนอีกคนหนึ่ง
    มีชื่อว่า “Rick Guerin” ผู้ที่ได้รับการยกย่องจาก Buffett ว่าเป็นคนที่เฉลียวฉลาดที่สุดในกลุ่ม
    โดยกองทุนที่เขาบริหารส่วนตัวสามารถสร้างผลตอบแทนเฉลี่ยถึง 33% ต่อปี
    ติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนานถึง 19 ปีด้วยกัน

    แล้วทำไมอยู่ดี ๆ เขาถึงกลายเป็นนักลงทุนที่ถูกลืม ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    Rick Guerin เกิดที่ลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 1929
    เขาเริ่มทำงานตั้งแต่อายุ 6 ขวบ โดยประกอบอาชีพเป็นคนส่งน้ำแข็งและหนังสือพิมพ์

    Guerin ได้เข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัย สาขาเอกคณิตศาสตร์
    และเมื่อจบการศึกษา เขาก็ได้เข้าทำงานเป็นเซลส์แมนที่ IBM
    หลังจากนั้นจึงได้เข้าสู่วงการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์

    แม้ว่า Guerin จะย้ายมาทำงานในแวดวงการลงทุนแล้ว
    แต่เขาก็ยังไม่เคยบริหารเงินทุนมาก่อน โดยคนที่ทำให้เขาเข้าสู่วงการนี้ไม่ใช่ใคร
    เขาคนนั้นก็คือ Munger นั่นเอง ซึ่งพวกเขาได้รู้จักกัน
    ในช่วงที่ Munger กำลังเข้าสู่วงการลงทุนแบบเต็มตัว

    ช่วงเวลานั้น Munger เห็นว่า Guerin มีความสนใจในวงการการลงทุนอย่างมาก
    จึงตัดสินใจชวนให้เขาเข้ามาทำงานร่วมกันที่บริษัทด้านการลงทุนของตน
    และที่แห่งนี้เอง เป็นสถานที่ที่ทำให้เขาเข้าใจโลกการลงทุนมากยิ่งขึ้น

    แม้ว่า Guerin จะไม่ได้จบสายการเงินหรือแม้กระทั่งสายธุรกิจ
    แต่เขาสามารถเรียนรู้และเข้าใจเรื่องการลงทุนแบบเน้นคุณค่าได้อย่างรวดเร็ว
    ขนาด Buffett เองยังยอมรับทักษะและความคิดด้านการลงทุนของเขา

    หลังจากร่วมงานกับ Munger ไปสักระยะเวลาหนึ่ง จนเริ่มมีฝีมือ
    Guerin ก็ออกมาบริหารกองทุนของตัวเอง ที่มีชื่อว่า “Pacific Partners”

    สไตล์การลงทุนของ Guerin คือการเลือกกิจการพื้นฐานที่ดีและราคาที่ถูก
    ตรงตามต้นตำรับการลงทุนเน้นคุณค่าของคู่หู Buffett และ Munger

    และจากการที่เขามีแนวคิดการลงทุนและนิสัยใจคอที่ใกล้เคียงกัน
    นั่นทำให้เขาได้กลายมาเป็นหุ้นส่วนกับ Berkshire Hathaway ในเวลาต่อมา

    หากดูหุ้นในพอร์ตของเขาเทียบกับ Buffett และ Munger จะพบว่าคล้ายกันมาก
    จากเรื่องนี้เองทำให้พวกเขาทั้งสามคนมักจะพูดคุยและร่วมเข้าซื้อกิจการด้วยกัน

    การเข้าซื้อกิจการที่โด่งดังที่ Guerin มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจคือ Blue Chip Stamps

    Blue Chip Stamps เป็นบริษัทที่ทำคูปองส่วนลดให้แก่ร้านค้าปลีก เพื่อให้แต่ละรายนำไปแจกจ่ายให้ลูกค้าต่อ สำหรับการสร้าง Brand Loyalty

    เหตุผลที่พวกเขาเข้าซื้อกิจการแห่งนี้เพราะว่า จะได้ใช้ Float ของบริษัทหรือเงินสดที่ได้รับจากการออกคูปอง แต่ยังไม่มีใครมาเคลม สำหรับเข้าซื้อกิจการอื่น ๆ ต่อไป

    โดยกิจการที่ใช้เงินจาก Float ในการเข้าซื้อ ตัวอย่างเช่น
    See's Candy ร้านขนมหวาน
    Wesco Financial บริษัทด้านการเงิน
    The Buffalo Evening News สำนักพิมพ์

    การลงทุนเหล่านี้ล้วนสร้างผลตอบแทนดีและก็ได้กลายเป็นรากฐานของ Berkshire Hathaway ที่เรารู้จักในปัจจุบัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าการดีลครั้งนี้ ถือเป็นจุดสำคัญที่ทำให้ Berkshire Hathaway ยิ่งใหญ่ได้

    อย่างไรก็ตาม แม้แนวทางการเลือกหุ้นของพวกเขาจะคล้ายกัน
    แต่สิ่งที่ทำให้ Guerin แตกต่างออกไปคือ “การใช้มาร์จินในการซื้อหุ้น”

    การใช้มาร์จิน คือ การกู้ยืมเงินจากโบรกเกอร์เพื่อนำมาซื้อหุ้น

    ยกตัวอย่าง เช่น หากเรามีเงิน 100,000 บาท คิดว่าหุ้น A กำลังอยู่ในช่วงขาขึ้น
    แต่เราอยากได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น ก็เพียงกู้เงินจากโบรกเกอร์อีก 100,000 บาท
    เพื่อเพิ่มอำนาจในการซื้อเป็น 2 เท่า

    ถ้าหุ้นขึ้น 10% ปกติเราจะได้กำไร 10,000 บาท คิดเป็นผลตอบแทน 10%
    แต่ถ้าใช้มาร์จิน เราจะได้กำไรเป็น 2 เท่า คิดเป็น 20,000 บาท ผลตอบแทนกลายเป็น 20%
    ก่อนหักด้วยค่าดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงิน

    ด้วยเหตุผลนี้จึงทำให้มีนักลงทุนหลายรายชอบใช้มาร์จินสำหรับการซื้อหุ้น
    รวมถึง Guerin ก็เช่นเดียวกัน ที่ต้องการจะรวยได้อย่างรวดเร็ว

    จากการใช้มาร์จินส่งผลให้กองทุนของเขาช่วง 8 ปีแรก
    มีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยถึง 55% ต่อปี
    ซึ่งมีเพียงปีเดียวที่ขาดทุน และขาดทุนแค่ 7% เท่านั้น

    หมายความว่าในช่วงเวลาดังกล่าว
    หากใครที่นำเงินไปลงทุนในกองทุนของเขา มูลค่า 1,000,000 บาทเป็นระยะเวลา 8 ปี
    เงินก้อนนั้นจะเติบโตเป็น 33,000,000 บาท เลยทีเดียว

    อย่างไรก็ตาม เหรียญมีสองด้านเสมอ
    หากมาร์จินสามารถสร้างผลตอบแทนที่มหาศาลแล้ว
    ในทางกลับกัน มาร์จินที่ผิดทางก็ทำให้เราขาดทุนมหาศาล เช่นกัน

    ดังนั้นเห็นได้ว่าการใช้มาร์จินมีความเสี่ยงอย่างมาก
    เพราะถ้าหากเราทายผิด มีโอกาสขาดทุนอย่างมหาศาล

    ซึ่งเหตุการณ์ที่น่ากลัวนี้เองได้เกิดขึ้นกับ Guerin ในที่สุด
    เมื่อตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกาเผชิญกับวิกฤติช่วงปี 1973-1974

    เนื่องจากนโยบายด้านเศรษฐกิจของประธานาธิบดี Richard Nixon
    ไม่สามารถควบคุมเงินเฟ้อได้ ซ้ำร้ายยังเจอ OPEC ร่วมกันงดส่งออกน้ำมันไปยังสหรัฐอเมริกา

    ส่งผลให้ในปี 1973 และ 1974 นักลงทุนต่างพากันวิตกกังวลและเทขายหุ้น
    ดัชนี S&P จึงลดลงถึง 14.8% และ 26.4% ตามลำดับ

    และด้วยความที่ Guerin ใช้มาร์จินเพื่อทวีคูณผลตอบแทน
    แต่พอผิดทาง ผลตอบแทนของกองทุน Pacific Partners จึงติดลบหนักกว่าตลาด

    ปี 1973 อัตราผลตอบแทนของ Pacific Partners อยู่ที่ -42%
    ในขณะที่ปีต่อมา อัตราผลตอบแทนอยู่ที่ -34.4%

    หากใครลงทุนเมื่อต้นปี 1973 ด้วยเงินจำนวน 1,000,000 บาท
    สิ้นสุดปี 1974 จะเหลือเพียง 382,800 บาทเท่านั้น

    จากเหตุการณ์ในครั้งนั้นส่งผลให้ Guerin โดนบังคับต้องขายหุ้นบางส่วนที่มีออกมา
    เพื่อปิดสถานะการขาดทุนที่ถือเอาไว้

    ซึ่งหนึ่งในหุ้นที่ขายออกมานั้นคือ Berkshire Hathaway
    เรื่องนี้เอง ได้ทำให้ความเป็นพาร์ตเนอร์ของเขากับ Buffett และ Munger สิ้นสุดลง

    โดยเขาได้ขายหุ้น Berkshire Hathaway คืนให้กับ Buffett ในราคาที่ต่ำกว่า 40 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น

    ซึ่งถ้าเรามาดูราคาหุ้น Berkshire Hathaway ในปัจจุบัน
    อยู่ที่ประมาณ 419,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อหุ้น

    หมายความว่าถ้า Guerin ไม่ได้ขายหุ้นออกไป การลงทุนของเขาก็เติบโตเป็น 10,475 เท่าในระยะเวลา 28 ปีหลังจากนั้น หากคิดอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจะสูงถึง 21% ต่อปี

    นอกจากพอร์ตที่ย่ำแย่แล้ว เรื่องนี้ก็ส่งผลต่อชื่อเสียงของ Guerin อีกด้วย
    นักลงทุนและหุ้นส่วนหลายคนสูญเสียศรัทธาเช่นเดียวกับ Buffett และ Munger

    อย่างไรก็ตามหลังจากนั้น 2 ปีเขาก็สามารถฟื้นฟูผลตอบแทนกลับมาคืนทุนได้อีกครั้ง
    ตั้งแต่ 1965 ถึง 1983 กองทุน Pacific Partners สร้างผลตอบแทนถึง 222 เท่า
    คิดเป็นอัตราผลตอบแทนเฉลี่ย 33% ต่อปี

    แต่ด้วยความที่ Guerin ไม่ได้มีส่วนร่วมใน Berkshire Hathaway อีกต่อไป
    นั่นจึงทำให้ชื่อเสียงของเขานั้นค่อย ๆ จางลงและเลือนหายไปในที่สุด

    ปิดท้ายด้วยข้อความที่ Buffett เคยกล่าวไว้ว่าตนและ Munger
    รู้อยู่เสมอว่าจะกลายเป็นคนที่มั่งคั่งอย่างไม่น่าเชื่อ
    พวกเขาจึงไม่รีบร้อนที่จะรวยให้เร็ว
    ซึ่งต่างจาก Guerin ที่รีบร้อนเกินไป จึงทำให้เขาพลาดโอกาส ครั้งสำคัญ..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.valuewalk.com/rick-guerin/
    -https://www.usatoday.com/story/money/2020/03/21/stock-market-collapse-how-does-todays-compare-others/2890885001/
    -https://finance.yahoo.com/news/case-study-fall-rick-guerin-170021290.html
    -https://www.lutz.us/nobody-talks-about-rick-anymore/
    -https://www.jpguerin.com/obituary
    -https://finance.yahoo.com/news/why-warren-buffetts-blue-chip-164748907.html
    -หนังสือ Damn Right! Behind the Scenes with Berkshire Hathaway Billionaire Charlie Munger โดย Janet Lowe

  • see's 在 Facebook 的最讚貼文

    2021-07-09 19:03:56
    有 282 人按讚

    <研究最好的公司、投資最好的公司>

    上篇討論投資成長、投資創新。再往下,要從中選出最好的公司去研究、投資

    為什麼要研究最好的公司?

    因為研究員最寶貴的資源是時間,每天吸收什麼資訊、跟誰混在一起,會嚴重引響我們知識複利的速度

    巴菲特說:One of the best things you can do in life is to surround yourself with people who are better than you are

    當研究一家好公司,或說得誇張一點,研究一家偉大的公司,你會吸收到怎樣的資訊?會被什麼樣的人圍繞?

    首先當我們研究人的時候,會遇到一群頂尖的創業家以及他們周圍頂尖的人物。例如研究波克夏,光是巴菲特自己就已經夠優秀了,但他旁邊還有葛拉漢、費雪、蒙格、Tom Murphy、Bill Gates。然後我們跟員工訪談,會碰到 Ted Weschler、Todd Comb、Greg Abel、Ajit。接著我們跟同樣研究波克夏碰面請益,會遇到 Pabrai、Guy Spier、我老闆。這還只是人的部分,然後我們研究它過去的投資,也會碰到一群厲害的企業,例如 See's Candy、可樂、Apple。我們每天被這些頂尖的人、頂尖的公司滋養,慢慢的知識累積的速度應該會有不一樣的斜率

    在投資上,研究好公司一來可以投資該公司,二來也可以延伸到無數的機會,這間公司的客戶、供應商、轉投資。藉由優秀企業家的眼睛,幫你挑題目

    持續研究一家公司九個月好玩嗎?目前實驗下來的結果是越來越好玩,每天都是 Day1。可以慢慢想像巴菲特為什麼可以研究 IBM 50 年

    雖然研究好公司,買好公司可能還是會賠錢,而且還花了老半天才研究完一家公司。但沒關係,一生中只要選中一次 Amazon 就夠了。Amazon 上市 24 年,CAGR 38%。這個概念是,如果你有 100 元,把其中五元拿去 allocate 在很不確定的 Amazon,就算未來 24 年你那 95 塊都賠光,24 年下來還是可以拿到超過 20% 的 IRR,這真是挺瘋狂的。

    當然這中間有很多可以 argue,憑什麼第一天就買到 Amazon? 沒關係嘛,我有 24 年可以慢慢研究,慢慢買。大不了,我把 Amazon 研究透徹,把這個行業研究透徹,當下一個 Amazon 出現,我應該有比較高的機會選中吧?就像 Charlie Munger 可以選中李祿和 Todd Comb,Buffett 可以選中 Bill Ruane 和 Ted Weschler,邏輯應該類似吧

  • see's 在 升鴻投資 Facebook 的最讚貼文

    2021-06-16 18:55:12
    有 1,021 人按讚

    前天分享一篇分析巴菲特的論文,補充一下我自己做瘋狗流後,再來看波克夏的體悟。

    看到一些投資朋友們,癡迷著波克夏的路,有朋友因為不想績效曲線大幅波動帶來的壓力,決定鎖住資金,改往實業發展。

    有朋友冷門股波段做很神,開始嘗試做新創。

    有朋友覺得巴菲特的槓桿資金太迷人,所以入主金融業,發債券來押績優股。

    上述朋友我都祝福,我來講講我的體會。

    如果是捲起袖子幹實業,除了是自己非常有興趣的領域,還要體認自己是不是當老闆的料。從有idea到快速執行並調整的速度、領導團隊合作無間還能在低潮時自我激勵的劉備技能...

    創業有太多需要的能力,巴菲特深知自己不是厲害的創業家,他也試著做過幾次,發現好多苦差事,影響他看財報研究股票的時間,所以決定找人來弄,自己就在背後分配閒錢就好。

    這種深刻體認自己優勢的能力非常重要,建議可以讀讀Outsiders(我放在連結),那些頂尖分配資源的老闆們,都把執行細節交給另一個左右手。

    我自己的感觸頗深,因為我過去幾次創業下來,都有個好麻吉在執行力與解決問題的能力優於我(他光做投影片的速度就是我的三倍),所以我傾向把他比我優秀之處發揚光大,我們各司其職。

    如果是做新創,我的理解是台灣這塊市場大小有點尷尬,很難做到貝佐斯說的100倍賭注,同樣都是一成的成功機率,100倍有搞頭,10倍只能打平(除非要搞海外市場,但通常因為民情不同,都要重搞,沒法簡單複製),所以我看到一個朋友的作法是針對同一個客群不斷延伸廣度的需求,才不會面臨客群太少的窘境。另一個作法是做某種高科技例如IC設計,可以輸出到全世界。

    但我覺得創業真不容易,我幾年前就看了好多新創案子,創辦人都很興奮的跟我說他的理想,想要如何如何,幾年後好像都沒有然後了,很容易遇到一些沒想到的問題,就卡在那...這方面的經驗還要新創圈的朋友多多指導。

    無論是投新創或自己幹實業,會遇到的問題是流動性太差,頭洗下去都很難反悔。瘋狗流隨時可閃人,但未上市資產沒辦法,所以只能一開始就看準一個賽道很長的題目,選好團隊,直接幹五年,那這需要的能力就和瘋狗流完全不同。(不過有任何有趣的案子 我是都很願意聽啦)

    下篇再來講講巴菲特的絕招,槓桿。

    (下圖我坐在記者區,幫台灣朋友Yahoo直播解說,原以為記者區是離巴菲特最近的地方,害我前晚超興奮,想說可以近看到兩老的皺紋,看看坐在前席董事會的蓋茲,結果記者區最遠= =,值得欣慰的是有擺無限多的See's Candies,我巧克力嗑起來,呃 超甜的...)