[爆卦]Recombinant vaccine是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Recombinant vaccine鄉民發文沒有被收入到精華區:在Recombinant vaccine這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 recombinant產品中有25篇Facebook貼文,粉絲數超過20萬的網紅Eat with Pal Li - พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง,也在其Facebook貼文中提到, 🇭🇰 #HongKong ❗️ #พี่แป๋วชวนคุย ฉีดวัคซีนโควิดแบบไขว้กับการเดินทางเข้าฮ่องกง . พี่แป๋วได้รับคำถามเรื่องฉีดวัคซีนไขว้อยู่ตลอด และไม่เคยมีคำยืนยันให้ลูกเ...

 同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅Herman Yeung,也在其Youtube影片中提到,Note download 筆記下載 : https://hermanutube.blogspot.hk/2016/01/youtube-pdf.html -----------------------------------------------------------------------...

recombinant 在 科學月刊 Science Monthly Instagram 的精選貼文

2021-09-16 09:50:17

【守護豬豬大作戰!我們真的會沒有滷肉飯吃嗎QQ】 ⠀⠀⠀⠀⠀⠀ 臺灣對非洲豬瘟的防疫一直十分嚴謹,三年內未曾出現過本土個案,但近日卻在走私肉品檢驗出非洲豬瘟病毒,目前共累計 12 件陽性個案。 ⠀⠀⠀⠀⠀⠀ 非洲豬瘟至今仍無藥物及疫苗可供豬隻治療和預防,為什麼防治非洲豬瘟這麼難?它跟一般豬瘟有什麼不...

recombinant 在 物理治療實證醫學 Instagram 的最佳貼文

2021-07-11 09:55:14

. “Recombinant Tissue Plasminogen Activator” 一個最主要用來治療ischemic stroke and pulmonary embolism的蛋白質(酶),可以去破壞血塊,目前以為臨床用藥(其中有alteplase, tenecteplase and re...

  • recombinant 在 Eat with Pal Li - พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง Facebook 的最佳貼文

    2021-09-13 11:12:58
    有 296 人按讚

    🇭🇰 #HongKong
    ❗️ #พี่แป๋วชวนคุย ฉีดวัคซีนโควิดแบบไขว้กับการเดินทางเข้าฮ่องกง
    .
    พี่แป๋วได้รับคำถามเรื่องฉีดวัคซีนไขว้อยู่ตลอด และไม่เคยมีคำยืนยันให้ลูกเพจเลย 😣
    เพราะไม่เคยเห็นข้อมูลที่ระบุชัดเจนจากประกาศของ สธ ฮ่องกงว่า สามารถทำได้ (ปล. ฮ่องกงไม่มีการฉีดไขว้)
    .
    แต่เมื่อ 2-3 วันก่อน พี่แป๋วเห็นจากรายงานผู้ติดเชื้อประจำวันของ สธ
    .
    พบเคสนึงเข้ามาจากแคนาดา เพิ่งเห็นครั้งแรกเลยว่า ฉีดไขว้เข้ามา โดยฉีดมาจากแคนาดา วัคซีนที่ฉีด คือ AstraZeneca และ Moderna
    .
    พี่แป๋วเลย “สันนิษฐาน(เอง)” ว่า ฮ่องกงน่าจะยอมรับการฉีดไขว้แล้ว ถ้าเป็นวัคซีนที่ฮ่องกงรับรอง
    .
    ซึ่งวัคซีนที่ฉีดในไทย 🇹🇭 ตอนนี้ คือ SinoVac Sinopharm Pfizer AstraZeneca ฮ่องกงรับรองหมด
    .
    =================
    ทีนี้! ก็ยังมีประเด็นเกิดขึ้น คือ
    เมื่อวันก่อนมีลูกเพจท่านนึง (คือ คุณ Pann ขอบคุณมากนะคะ 🙏🏻❤️) ทักมาถามว่า
    .
    ตกลง AstraZeneca ที่ผลิตในไทย 🇹🇭 ทางฮ่องกงยอมรับรึปล่าว?
    .
    เพราะในรายชื่อวัคซีนที่รับรองตามประกาศรัฐบาลฮ่องกง 🇭🇰 ระบุชื่อผู้ผลิตไว้ว่า AstraZeneca/SK Bioscience เท่านั้น ซึ่งคือ Astra ที่ผลิตในเกาหลี 🇰🇷
    .
    ตรงนี้พี่แป๋วก็ขอสารภาพตามตรงว่า ไม่ชัวร์แล้ว 😣 ตอนนี้ก็พยายามเช็คจากแหล่งข่าวที่เชื่อถือได้ก็ยังไม่มีใครยืนยันมาเลย
    .
    เลยขออนุญาตมาเช็คกับลูกเพจนี่แหล่ะค่ะ 😆🙏🏻❤️🙏🏻
    .
    #ใครเคยเดินทางเข้าฮ่องกง #และฉีดวัคซีนแอสทร่าของไทย แล้วเข้าฮ่องกงมาได้ โปรดแสดงตัว(หรือหลังไมค์) มาบอกพี่แป๋วหน่อยนะคะ กราบขอบพระคุณอย่างสูงเลยค่ะ 🙏🏻
    .
    =================
    สำหรับตอนนี้ #ผู้ที่จะเข้าฮ่องกงจากไทย 🇭🇰🇹🇭 ต้องเป็น #พลเมืองฮ่องกงที่ฉีดวัคซีนโควิดครบแล้วเท่านั้น

    ข่าวน่ายินดี คือ ฮ่องกงเพิ่งมีประกาศรับรองใบฉีดวัคซีนจากไทย 🇹🇭 เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
    .
    ส่วนรายชื่อวัคซีนที่ฮ่องกงยอมรับทั้งหมด สามารถเช็คได้จากลิงก์นี้นะคะ >> https://www.coronavirus.gov.hk/pdf/list_of_recognised_covid19_vaccines.pdf
    .
    สำหรับวัคซีนที่ฉีดในไทย 🇹🇭
    ตอนนี้ ทางฮ่องกงจะรับรองตามนี้ค่ะ
    .
    ชื่อผู้ผลิต - ชื่อวัคซีน
    (1) AstraZeneca / SK Bioscience
    - AstraZeneca COVID-19 vaccine
    - Vaxzevria
    - COVID-19 Vaccine (ChAdOx1-S [recombinant])
    - AZD1222
    .
    (2) BioNTech
    - Comirnaty
    - Tozinameran – COVID-19 mRNA vaccine (nucleoside modified)
    - Pfizer-BioNTech COVID-19 Vaccine
    - BNT162b2
    .
    (3) Sinopharm / Beijing Institute of Biological Products
    - COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
    - BBIBP-CorV 眾愛可維
    - COVID-19-i 新冠疫苗(Vero 細胞)
    - SARS-COV-2 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
    - COVID-19 Vaccine 新型冠狀病毒疫苗
    .
    (4) Sinopharm / Wuhan Institute of Biological Products
    - COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗(Vero 細胞)
    - WIBP-CorV 眾康可維
    .
    (5) Sinovac
    - CoronaVac 克爾來福
    - COVID-19 Vaccine (Vero Cell), Inactivated 新型冠狀病毒滅活疫苗 (Vero 細胞)
    .
    #EatwithPalLi #พี่แป๋วพากินเที่ยวสิงคโปร์ฮ่องกง 🇸🇬🇭🇰

  • recombinant 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文

    2021-09-07 08:53:33
    有 639 人按讚

    เป็นอีกข่าวดีหนึ่ง ที่ควรจะเป็นอย่างนี้ตั้งแต่แรกอยู่แล้วนะ ที่ไทยเราจะแก้ปัญหาการที่ไม่มีวัคซีน astrazeneca เพียงพอจะฉีด 2 เข็มได้ (ตามแผนที่ควรวางไว้ตั้งแต่ต้นปี) ด้วยการฉีดแอสตร้าเป็นเข็ม 1 แล้วใช้วัคซีน mRNA อย่างของ บ. ไฟเซอร์มาเป็นเข็ม 2

    ซึ่งสูตรการฉีด heterologous prime-boost แบบนี้ เป็นแบบที่นิยมทำในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศนะครับ (สาเหตุจริงๆ มักจะเป็นจากการที่เขาพยายามหยุดใช้วัคซีน astrazeneca) โดยผ่านการศึกษา วิจัย ตีพิมพ์ และทดลองในอาสาสมัครจำนวนมากแล้ว ก่อนจะนำมาใช้เป็นนโยบายของชาติ

    รวมทั้ง สูตรวัคซีนไขว้ ไวรัลเวกเตอร์+mRNA นี้ ก็ได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลกแล้ว ว่าให้สามารถทำได้ เมื่อเกิดสภาวะวัคซีนขาดแคลน

    ซึ่งคนละอย่างกับสูตรวัคซีนไขว้แบบไทยๆ ที่ทดลองทำกันเอง โดยไม่มีชาติอื่นเขาทำด้วย
    -------
    (รายงานข่าว)

    #ทำไมต้องไขว้AstraZeneca_Pfizer


    วัคซีนไขว้ (Heterologous prime-boost vaccination) หรือวัคซีน Mix & Match คือการฉีดวัคซีนต่างชนิดกันระหว่างวัคซีนเข็มที่ 1 (Primimg) และวัคซีนเข็มที่ 2 (Boosting) เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน โดยก่อนหน้านี้มีการวิจัยในโรคติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ไวรัสตับอักเสบ วัณโรค มาลาเรีย ถึงแม้ว่าจะวิจัยในระดับสัตว์ทดลอง ต่อมาในระยะหลังเริ่มมีการวิจัยวัคในโรคติดเชื้อไวรัสเอชพีวี และอีโบลาในระดับมนุษย์

    สำหรับโควิด ไม่ได้มีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผลด้านไวรัสหรือภูมิคุ้มกัน แต่มาจาก 2 สาเหตุคือ หลายประเทศในยุโรปมีความกังวลต่อภาวะเกล็ดเลือดต่ำและหลอดเลือดอุดตันภายหลังได้รับวัคซีน (VITT) ซึ่งผลข้างเคียงรุนแรงของวัคซีน AstraZeneca ถึงแม้จะพบยากก็ตาม และอีกสาเหตุคือ บางประเทศประสบปัญหาความล่าช้าในการส่งมอบวัคซีน จึงอนุมัติการฉีดวัคซีนไขว้และการวิจัยไปพร้อมกัน

    ทั้งนี้ วัคซีนโควิดแบ่งตามเทคโนโลยีการผลิตเป็น 4 ชนิดหลัก ได้แก่ ชนิดสารพันธุกรรม (messenger RNA: mRNA) ชนิดใช้ไวรัสเป็นพาหะ (Recombinant viral vector vaccine) ชนิดที่ทำจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ (Protein subunit vaccine) และชนิดเชื้อตาย (Inactivated vaccine) ดังนั้น วัคซีนไขว้สูตรใหม่นี้เป็นการฉีดวัคซีนชนิดใช้ไวรัสเป็นพาหะ + ชนิดสารพันธุกรรม

    #ผลการวิจัยสูตรไขว้ในต่างประเทศ

    งานวิจัยหลักของวัคซีนไขว้ชื่อว่า Com-Cov (Comparing COVID-19 Vaccine Schedule Combination) ในสหราชอาณาจักร เป็นการศึกษาเชิงทดลองเปรียบเทียบการฉีดวัคซีน 4 สูตร ระหว่างการฉีดวัคซีน AstraZeneca หรือ Pfizer 2 เข็มตามปกติ และการฉีดวัคซีนสลับชนิด โดยฉีด AstraZeneca หรือ Pfizer ก่อน ในอาสาสมัครอายุ 50 ปีขึ้นไป เริ่มมาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2564

    ผลการวิจัยเบื้องต้นที่เผยแพร่ออกมาในขณะนี้เป็นการศึกษาด้านภูมิคุ้มกันและความปลอดภัย โดยการศึกษาด้านภูมิคุ้มกัน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนาม (Anti-spike IgG) หลังฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ครบ 28 วัน ซึ่งคล้ายกับที่หลายคนไปเจาะเลือดตรวจระดับภูมิคุ้มกันที่โรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย และ 2. การตอบสนองของเม็ดเลือกขาวชนิด T (T cell response)


    ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนามของสูตร AstraZeneca + Pfizer เท่ากับ 12,906 ELU/mL เทียบกับสูตร AstraZeneca ปกติ 1,392 ELU/mL หรือคิดเป็น 9.2 เท่า ในขณะที่สูตร Pfizer + AstraZeneca กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้น้อยกว่าสูตร Pfizer ปกติ (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของระดับภูมิคุ้มกันเท่ากับ 7,133 เทียบกับ 14,080 ELU/mL หรือคิดเป็น 0.51 เท่า)


    ส่วนการตอบสนองของเม็ดเลือดขาวชนิด T ซึ่งมีบทบาทสำคัญในภูมิคุ้มกันระยะยาว สูตร AstraZeneca + Pfizer มีการตอบสนองสูงที่สุดเท่ากับ 185 SFC/106 PBMCs เปรีบเทียบกับ 50, 80 และ 99 SFC/106 PBMCs ของสูตร AstraZeneca ปกติ, Pfizer ปกติ และ Pfizer + AstraZeneca ตามลำดับ ผลการศึกษาทั้ง 2 ส่วนจึงแสดงให้เห็นว่าสูตร AstraZeneca + Pfizer สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดี

    การศึกษาด้านความปลอดภัย หลังจากฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 ในสูตรไขว้ พบว่ามีผลข้างเคียงมากกว่า เมื่อเทียบกับสูตรปกติของแต่ละชนิด ได้แก่ ไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดข้อ ปวดเมื่อย และปวดกล้ามเนื้อ แต่ไม่มีอาการรุนแรงจนต้องรักษาในโรงพยาบาล และส่วนใหญ่เกิดขึ้นภายใน 48 ชั่วโมงหลังการฉีดวัคซีน และเมื่อติดตามผลข้างเคียงต่อจนถึง 1 เดือน ไม่พบความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม

    นอกจากนี้ยังมีอีกงานวิจัยชื่อ CombiVacS ในสเปน เป็นการศึกษาเชิงทดลอง แบ่งผู้ที่ได้รับวัคซีน AstraZeneca 1 เข็มเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกได้รับวัคซีน Pfizer เป็นเข็มที่ 2 ส่วนอีกกลุ่มไม่ได้รับวัคซีน เมื่อเดือนเมษายน 2564 พบว่าระดับภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนหนามเพิ่มขึ้นจาก 71.5 เป็น 7,756.7 BAU/mL หลังฉีดวัคซีนเข็มที่ 2 เป็นระยะเวลา 14 วัน แต่มีข้อจำกัดตรงที่ไม่มีสูตรปกติเปรียบเทียบ

    อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนสูตรไขว้นี้ยังมีน้อย ข้อมูลเบื้องต้นจากงานวิจัยในเดนมาร์ก เป็นการศึกษาเชิงสังเกตในประชากร 5,542,079 คน (97.6% ของประชากรในเดนมาร์ก) มีผู้ที่ได้รับวัคซีนสูตรไขว้ 136,551 คน พบว่าวัคซีนสูตรไขว้มีประสิทธิผลในการป้องกันการติดเชื้อ 88% และไม่พบอาการรุนแรงหรือเสียชีวิตจากโควิด แต่ในขณะนั้นสายพันธุ์อัลฟายังเป็นสายพันธุ์หลัก

    ปัจจุบันมีหลายประเทศที่ยอมรับวัคซีนไขว้สูตรนี้ เช่น เวียดนาม เกาหลีใต้ แคนาดา และอย่างน้อย 15 ประเทศในสหภาพยุโรป เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี รวมถึงสหราชอาณาจักร

    โดยสรุปวัคซีนไขว้สูตร AstraZeneca + Pfizer ที่จะเริ่มใช้ในประเทศไทยในเดือนตุลาคมนี้มีผลการวิจัยในต่างประเทศรองรับ และต่างประเทศให้การยอมรับ แต่ยังต้องมีการติดตามประสิทธิผลของวัคซีนต่อในอนาคต

  • recombinant 在 CUP 媒體 Facebook 的最佳貼文

    2021-05-29 19:48:50
    有 62 人按讚

    「外交家」雜誌形容,當地 #疫苗業 發展疲弱,現時只有大約 10 間 #日本 #藥廠 正在研發武肺疫苗,只有 AnGes Inc 成功展開更進階的臨床試驗階段,其疫苗會採用質體 DNA 技術(plasmid DNA technology)。另一間知名藥廠塩野義製藥也已經開始初階段的疫苗臨床試驗,該疫苗則是應用了重組蛋白技術(recombinant protein),藥廠希望在 2021 年底,能夠量產足夠 3,000 萬人使用的武肺疫苗。

    詳細全文:
    http://bit.ly/3bZ0GAP

    延伸專題:
    【帶著「疫苗護照」安心出行?】
    http://bit.ly/2Man1lW
    【疫苗問世將造成更加分裂的美國?】
    http://bit.ly/39dKsSS
    【牛痘以來最快的疫苗開發 —— BioNTech 是如何跑出?】
    http://bit.ly/3neWKPY

    ==========================
    www.cup.com.hk 留下你的電郵地址,即可免費訂閱星期一至五 CUP 媒體 的日誌。
    🎦 YouTube 👉 https://goo.gl/4ZetJ5
    🎙️ CUPodcast 👉 https://bit.ly/35HZaBp
    📸 Instagram 👉 www.instagram.com/cupmedia/
    💬 Telegram 👉 https://t.me/cupmedia
    📣 WhatsApp 👉https://bit.ly/2W1kPye

你可能也想看看

搜尋相關網站