雖然這篇Paradoxical 中鄉民發文沒有被收入到精華區:在Paradoxical 中這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 paradoxical產品中有63篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, คนสิงคโปร์ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในบ้าน ที่สร้างโดยรัฐบาล /โดย ลงทุนแมน “Public Housing” คือที่อยู่อาศัยที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ โดยจัดสรรให้ประชาชนซึ่งส่วนให...
同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過1萬的網紅ノポウチャンネル,也在其Youtube影片中提到,「paradoxical dreamers」をゲーム内で流す新ボス戦とかバトルが欲しいですね。勿論演出込みで。群像のアップデートが予想よりも速さそうなので、今後のスケジュールを見直す必要がありそうです。 ◆ANOTHER EDEN ORIGINAL SOUNDTRACK4 https://amzn...
「paradoxical」的推薦目錄
- 關於paradoxical 在 ξ ᴜᴅᴏʀα Instagram 的最佳解答
- 關於paradoxical 在 Wei Tieng Instagram 的最佳解答
- 關於paradoxical 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Instagram 的精選貼文
- 關於paradoxical 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
- 關於paradoxical 在 Facebook 的最讚貼文
- 關於paradoxical 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Facebook 的最佳貼文
- 關於paradoxical 在 ノポウチャンネル Youtube 的精選貼文
- 關於paradoxical 在 メンタリスト DaiGo Youtube 的最佳貼文
- 關於paradoxical 在 メンタリスト DaiGo Youtube 的最佳解答
paradoxical 在 Wei Tieng Instagram 的最佳解答
2021-09-10 19:22:21
Good Morning. Painted a dozens of these birch forests a while back cus I was trying out different color combinations. This was not my preference, back...
paradoxical 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Instagram 的精選貼文
2021-05-17 12:51:55
《紐約時報》:乾旱危機中的台灣—保晶片廠供水,停農田灌溉。 本篇跟同學分享紐約時報針對台灣乾旱 (drought) 所做的報導,報導中討論以台積電為首的高科技產業用水情形。以及農民因為限水 (water constraint) 而停止灌溉 (irrigation) 農田面臨休耕 (fallow) ...
-
paradoxical 在 ノポウチャンネル Youtube 的精選貼文
2021-06-06 10:00:22「paradoxical dreamers」をゲーム内で流す新ボス戦とかバトルが欲しいですね。勿論演出込みで。群像のアップデートが予想よりも速さそうなので、今後のスケジュールを見直す必要がありそうです。
◆ANOTHER EDEN ORIGINAL SOUNDTRACK4
https://amzn.to/3xIHzVJ
◆THE ART OF ANOTHER EDEN (SE-MOOK)
https://amzn.to/3vGnPjD
◆ANOTHER EDEN ORIGINAL SOUNDTRACK3 COMPLETE EDITION
https://amzn.to/3eTfsKF
◆アナザーエデン 時空を超える猫 ワールドアルティマニア (SE-MOOK)
https://amzn.to/2SgK1lU
◆【Amazon.co.jp限定】アナザーエデン オリジナル・サウンドトラック2(8bitアレンジCD付)
https://amzn.to/33bBbYO
◆アナザーエデン オリジナル・サウンドトラック
https://amzn.to/3tiByvx
◆ツイッター
https://twitter.com/nopo_ch
◆ほしい物リスト
https://amzn.to/31NCawq
◆エンディングイラスト
ささみく様 https://twitter.com/wadsgdgsd
#アナザーエデン #アナデン #お気軽にコメントお願いします -
paradoxical 在 メンタリスト DaiGo Youtube 的最佳貼文
2020-05-16 21:40:38📘この動画内で紹介したおすすめ動画・ニコニコ動画は
知識のNetflix【Dラボ】で見放題!
今なら20日間無料→https://daigovideolab.jp/
🐈
【恐怖と欲望の説得術】歴史を動かした偉人の話し方
【前編】https://www.nicovideo.jp/watch/1589394903
【後編】https://www.nicovideo.jp/watch/1589662563
▶︎本日のオススメ
ファンダム・レボリューション SNS時代の新たな熱狂 を Amazon でチェック! https://amzn.to/35VgPUh
ファスト&スローを Amazon でチェック! https://amzn.to/3ayKWSp
事実はなぜ人の意見を変えられないのか を Amazon でチェック! https://amzn.to/35WD6RN
信頼はなぜ裏切られるのか を Amazon でチェック! https://amzn.to/3cra672
戦争プロパガンダ10の法則 を Amazon でチェック! https://amzn.to/2xYbvD7
プロパガンダ:広告・政治宣伝のからくりを見抜く を Amazon でチェック! https://amzn.to/2WsgAx9
メディアとプロパガンダ を Amazon でチェック! https://amzn.to/3dy5Wum
★本日の無料
DaiGoのオーディオブックがAmazonで無料で聞けます。詳しくは↓
▶︎後悔しない超選択術
https://amzn.to/346QeTv
▶︎知識を操る超読書術
https://amzn.to/39AZpfT
▶︎自分を操る超集中力
https://amzn.to/2w7RpFw
▶︎人を操る禁断の文章術
https://amzn.to/2yrHn2N
など、他多数の著書が、Audible30日間無料体験にて1冊無料
Morris, Michael, et al. (2002) Schmooze or lose: Social friction and lubrication in e-mail negotiations.
Cheng, Joey T et al. (2016)Listen, follow me: Dynamic vocal signals of dominance predict emergent social rank in humans.
Stephen M. Smith et al. (1991) Celerity and Cajolery: Rapid Speech May Promote or Inhibit Persuasion through its Impact on Message Elaboration
Jerry M. Burger et al. (2001) The Effect of Fleeting Attraction on Compliance to Requests
Cory R. Scherer et al. (2005) Indecent influence: The positive effects of obscenity on persuasion
Adam M. Grant, et al. (2015) Busy brains, boasters' gains: Self-promotion effectiveness depends on audiences cognitive resources
Nora A. Murphy et al. (2015) Appearing Smart: The Impression Management of Intelligence, Person Perception Accuracy, and Behavior in Social Interaction
Weaver, Kimberlee,Garcia, Stephen M.,Schwarz, Norbert,Miller, Dale T.(2007) Inferring the popularity of an opinion from its familiarity: A repetitive voice can sound like a chorus.
Daniel J. O’Keefe. et al. (2008) Do Loss-Framed Persuasive Messages Engender Greater Message Processing Than Do Gain-Framed Messages? A Meta-Analytic Review
Aiwa Shirako, et al. (2015) Is there a place for sympathy in negotiation? Finding strength in weakness
Kumkale, G. et al. (2004)The Sleeper Effect in Persuasion: A Meta-Analytic Review.
Adam Grant(2014)How I Overcame the Fear of Public Speaking
advantages of being unpredictable: How emotional inconsistency extracts concessions in negotiation
Dariusz DolinskiaRichard Nawratb et al. (1998) Fear-Then-Relief” Procedure for Producing Compliance: Beware When the Danger Is Over
Franklin J. Boster et al. (2009) Dump-and-Chase: The Effectiveness of Persistence as a Sequential Request Compliance-Gaining Strategy
Boaz Hameiri, et al. (2014) Paradoxical thinking as a new avenue of intervention to promote peace
Chenhao Tan et al. (2016) Winning Arguments: Interaction Dynamics and Persuasion Strategies in Good-faith Online Discussions
※この動画は、上記の参考資料および、動画を元に考察したもので、あくまで一説であり、真偽を確定するものではありません。リサーチ協力の鈴木祐さんの論文解説チャンネルもオススメです→http://ch.nicovideo.jp/paleo #今なら
#Dラボとオーディオブックが概要欄から無料 -
paradoxical 在 メンタリスト DaiGo Youtube 的最佳解答
2020-05-13 21:59:45📘この動画内で紹介したおすすめ動画・ニコニコ動画は
知識のNetflix【Dラボ】で見放題!
今なら20日間無料→https://daigovideolab.jp/
🐈
【恐怖と欲望の説得術】歴史を動かした偉人の話し方
【前編】https://www.nicovideo.jp/watch/1589394903
【後編】https://www.nicovideo.jp/watch/1589662563
▶︎本日のオススメ
ファンダム・レボリューション SNS時代の新たな熱狂 を Amazon でチェック! https://amzn.to/35VgPUh
ファスト&スローを Amazon でチェック! https://amzn.to/3ayKWSp
事実はなぜ人の意見を変えられないのか を Amazon でチェック! https://amzn.to/35WD6RN
信頼はなぜ裏切られるのか を Amazon でチェック! https://amzn.to/3cra672
戦争プロパガンダ10の法則 を Amazon でチェック! https://amzn.to/2xYbvD7
プロパガンダ:広告・政治宣伝のからくりを見抜く を Amazon でチェック! https://amzn.to/2WsgAx9
メディアとプロパガンダ を Amazon でチェック! https://amzn.to/3dy5Wum
★本日の無料
DaiGoのオーディオブックがAmazonで無料で聞けます。詳しくは↓
▶︎後悔しない超選択術
https://amzn.to/346QeTv
▶︎知識を操る超読書術
https://amzn.to/39AZpfT
▶︎自分を操る超集中力
https://amzn.to/2w7RpFw
▶︎人を操る禁断の文章術
https://amzn.to/2yrHn2N
など、他多数の著書が、Audible30日間無料体験にて1冊無料
Morris, Michael, et al. (2002) Schmooze or lose: Social friction and lubrication in e-mail negotiations.
Cheng, Joey T et al. (2016)Listen, follow me: Dynamic vocal signals of dominance predict emergent social rank in humans.
Stephen M. Smith et al. (1991) Celerity and Cajolery: Rapid Speech May Promote or Inhibit Persuasion through its Impact on Message Elaboration
Jerry M. Burger et al. (2001) The Effect of Fleeting Attraction on Compliance to Requests
Cory R. Scherer et al. (2005) Indecent influence: The positive effects of obscenity on persuasion
Adam M. Grant, et al. (2015) Busy brains, boasters' gains: Self-promotion effectiveness depends on audiences cognitive resources
Nora A. Murphy et al. (2015) Appearing Smart: The Impression Management of Intelligence, Person Perception Accuracy, and Behavior in Social Interaction
Weaver, Kimberlee,Garcia, Stephen M.,Schwarz, Norbert,Miller, Dale T.(2007) Inferring the popularity of an opinion from its familiarity: A repetitive voice can sound like a chorus.
Daniel J. O’Keefe. et al. (2008) Do Loss-Framed Persuasive Messages Engender Greater Message Processing Than Do Gain-Framed Messages? A Meta-Analytic Review
Aiwa Shirako, et al. (2015) Is there a place for sympathy in negotiation? Finding strength in weakness
Kumkale, G. et al. (2004)The Sleeper Effect in Persuasion: A Meta-Analytic Review.
Adam Grant(2014)How I Overcame the Fear of Public Speaking
advantages of being unpredictable: How emotional inconsistency extracts concessions in negotiation
Dariusz DolinskiaRichard Nawratb et al. (1998) Fear-Then-Relief” Procedure for Producing Compliance: Beware When the Danger Is Over
Franklin J. Boster et al. (2009) Dump-and-Chase: The Effectiveness of Persistence as a Sequential Request Compliance-Gaining Strategy
Boaz Hameiri, et al. (2014) Paradoxical thinking as a new avenue of intervention to promote peace
Chenhao Tan et al. (2016) Winning Arguments: Interaction Dynamics and Persuasion Strategies in Good-faith Online Discussions
※この動画は、上記の参考資料および、動画を元に考察したもので、あくまで一説であり、真偽を確定するものではありません。リサーチ協力の鈴木祐さんの論文解説チャンネルもオススメです→http://ch.nicovideo.jp/paleo #今なら
#Dラボとオーディオブックが概要欄から無料
paradoxical 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
คนสิงคโปร์ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในบ้าน ที่สร้างโดยรัฐบาล /โดย ลงทุนแมน
“Public Housing” คือที่อยู่อาศัยที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ โดยจัดสรรให้ประชาชนซึ่งส่วนใหญ่คือกลุ่มผู้มีรายได้น้อย
แต่รู้หรือไม่ว่า ประเทศที่ร่ำรวยอย่างสิงคโปร์ มีประชากรกว่า 80% อาศัยอยู่ในที่อยู่อาศัยที่สร้างโดยรัฐบาล นั่นจึงทำให้สิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศที่ นโยบายการเคหะแห่งชาติประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก
แล้วรัฐบาลสิงคโปร์ทำได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
หลังจากที่ประเทศสิงคโปร์พ้นจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี 1959 หรือเมื่อ 62 ปีก่อน
สิงคโปร์ในตอนนั้นจึงเต็มไปด้วยผู้อพยพจำนวนมากหลากหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวมาเลเซีย จีน และอินเดีย
ความหลากหลายดังกล่าวนอกจากจะนำไปสู่การแบ่งแยกเชื้อชาติแล้ว
อีกปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ผู้คนหลั่งไหลเข้ามาอย่างรวดเร็ว คือวิกฤติขาดแคลนที่อยู่อาศัย
จึงทำให้ประชากรบางส่วนต้องอยู่กันแบบชุมชนแออัดหรือที่เรียกว่าสลัม
ในปีถัดมา นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์อย่าง ลี กวน ยู ได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาการเคหะที่ใช้ชื่อว่า Housing and Development Board หรือ “HDB” เป็นโครงการสร้างที่อยู่อาศัยให้เช่าสำหรับผู้ไม่มีกำลังทรัพย์
คุณลี กวน ยู มองว่าการเป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยคือสิ่งสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ผู้อพยพได้เริ่มลงหลักปักฐานในประเทศนี้
โดยในช่วงแรก HDB ได้เร่งสร้างที่อยู่อาศัยให้ครอบคลุมจำนวนประชากรให้เร็วที่สุด
รูปแบบของที่อยู่อาศัยในตอนนั้นจึงเป็นแฟลตขนาดเล็ก แต่เน้นสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นให้ได้มากที่สุด
แต่เมื่อนโยบาย HDB เริ่มไปได้ไม่นาน ในเดือนพฤษภาคม ปี 1961 กลับเกิดไฟไหม้ในย่านชุมชนแออัดแห่งหนึ่ง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ขนาดใหญ่ราว 8 สนามฟุตบอล จนมีผู้เสียชีวิต 4 คน และกว่า 16,000 คนต้องกลายเป็นคนไร้บ้าน
นี่จึงเป็นเหตุการณ์ความสูญเสียที่พิสูจน์ฝีมือของรัฐบาลลี กวน ยู ที่สามารถจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับผู้ประสบภัยทั้งหมดได้ภายในปีเดียว ก่อนที่จะฟื้นฟูความเสียหายและสร้างที่อยู่อาศัยถาวรในบริเวณที่เกิดเหตุได้ภายใน 5 ปี
ผลงานนี้ได้ทำให้ชาวสิงคโปร์มีความเชื่อมั่นในนโยบาย HDB มากยิ่งขึ้นและทำให้รัฐบาลโน้มน้าวผู้คนที่คุ้นเคยกับที่อยู่อาศัยที่มีไม่กี่ชั้น ให้ไปอยู่อาศัยบนอาคารที่มีจำนวนชั้นมากขึ้น เป็นไปด้วยความราบรื่นมากยิ่งขึ้น
และในปี 1964 นอกจากการให้เช่าแล้ว HDB ได้เริ่มขายที่อยู่อาศัย
จนกระทั่งปี 1965 HDB ได้สร้างที่อยู่อาศัยไปกว่า 51,000 โครงการ
ซึ่งส่วนมากจะเป็นอะพาร์ตเมนต์ และทำให้ประชากรกว่า 1 ใน 4 หรือราว 400,000 คนมีที่อยู่อาศัย
เพื่อให้การสร้างที่อยู่อาศัยครอบคลุมไปทั่วประเทศ รัฐบาลได้ออกกฎหมายต่าง ๆ เพื่อกว้านซื้อที่ดิน จากในปี 1960 ที่รัฐครอบครองที่ดินอยู่ 44% มาเป็นกว่า 90% ในปัจจุบัน
ขณะที่รัฐบาลหลายประเทศยังคงโฟกัสกลุ่มผู้มีรายได้น้อยและมีกำลังทรัพย์ไม่พอที่จะเข้าถึงที่อยู่อาศัยในราคาตลาดได้ แต่สำหรับประเทศสิงคโปร์ ที่แม้ว่ารายได้เฉลี่ยของประชากรถือว่าร่ำรวย รัฐบาลได้เริ่มหันมาโฟกัสนโยบายที่อยู่อาศัยเพื่อ “ทุกคน” เพราะต้องการให้ชาวสิงคโปร์มีที่อยู่อาศัยคุณภาพดีในราคาที่เข้าถึงได้
ซึ่งสิ่งที่รัฐบาลให้ความสำคัญและเป็นปัจจัยที่เชิญชวนให้ชาวสิงคโปร์
เลือกที่อยู่อาศัยจาก HDB ก็มีอยู่ด้วยกัน 3 อย่าง
ปัจจัยแรกก็คือ “ราคา”
ราคาของที่อยู่อาศัยจาก HDB จะถูกกว่าของเอกชนราว 20 ถึง 30%
ซึ่ง HDB จะมีข้อกำหนดสำหรับผู้ซื้อที่อยู่อาศัยโดยตรงกับทาง HDB ว่าห้ามขายภายใน 5 ปีแรก เพื่อป้องกันการซื้อที่อยู่อาศัยเพื่อเก็งกำไร
หลังจากผ่าน 5 ปีแรกไปแล้ว จะสามารถขายต่อได้ในราคาตลาด หรือราคาที่ผู้ซื้อผู้ขายตกลงกันเอง แต่ราคาโดยเฉลี่ยจะสูงกว่าราคาที่อยู่อาศัยมือหนึ่งของ HDB อยู่ราว 20 ถึง 25% ชาวสิงคโปร์จึงนิยมเลือกซื้อที่อยู่อาศัยมือหนึ่งจาก HDB มากกว่า ส่วนตลาดรองนี้จะเป็นที่นิยมในหมู่ชาวต่างชาติ
นอกจากนี้ HDB ก็ยังมีนโยบายด้านราคาแบบอื่นเพิ่มเติม อย่างเช่น ผู้ซื้อจะได้รับส่วนลดเพิ่ม หากซื้อที่อยู่อาศัยในละแวกเดียวกับพ่อแม่
ปัจจัยที่สองก็คือ “ความช่วยเหลือทางการเงิน”
นอกจาก HDB จะช่วยอุดหนุนเพื่อกดราคาที่อยู่อาศัยให้ต่ำกว่าราคาตลาดแล้ว
ตัวโครงการยังมีนโยบายกองทุนที่ชื่อ Central Provident Fund โดยชาวสิงคโปร์จะถูกบังคับสะสมเงินในกองทุน โดยหักจากเงินเดือน 20% และเก็บจากนายจ้างอีก 17% ของเงินเดือน
ในตอนแรกกองทุนนี้มีเพื่อการเกษียณอายุเท่านั้น
แต่ในปี 1968 รัฐบาลอนุญาตให้ใช้เงินกองทุนเพื่อซื้อที่อยู่อาศัยได้ด้วย
เพื่อช่วยให้ชาวสิงคโปร์เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยได้ง่ายมากขึ้น
แต่เพียงราคาที่เข้าถึงง่าย และการสนับสนุนทางการเงิน คงไม่สามารถทำให้ชาวสิงคโปร์จำนวนมากตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยจากทาง HDB
นั่นจึงนำไปสู่ปัจจัยสำคัญอย่างที่สามก็คือ “คุณภาพ”
ที่อยู่อาศัยที่จัดสร้างโดย HDB ถือได้ว่ามีสภาพแวดล้อมและคุณภาพที่ดีกว่าสิ่งที่เห็นได้ทั่วไปในหลายประเทศ
โดยทาง HDB มีประเภทอสังหาริมทรัพย์ให้เลือกหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่แฟลตขนาดย่อมไปจนถึงคอนโดมิเนียมขนาดใหญ่ที่มีทั้งยิมและสระว่ายน้ำในตัว
ในแต่ละโครงการก็ยังมีห้องหลายแบบหลายขนาดให้เลือก ตั้งแต่ขนาด 2 ห้องไปจนถึง 5 ห้อง
เพื่อตอบโจทย์ครอบครัวหลายรูปแบบ
และมีบางโครงการที่ HDB จ้างบริษัทเอกชนออกแบบและก่อสร้าง เพื่อตอบโจทย์ความต้องการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยได้ทัน แต่ราคาขายยังคงได้รับการอุดหนุนจาก HDB อยู่
นอกจากคุณภาพอสังหาริมทรัพย์แล้ว HDB ยังส่งเสริมในเรื่องคุณภาพชีวิตด้วย
เพราะบริเวณโดยรอบที่อยู่อาศัย HDB กำหนดให้ต้องมีทั้งโรงเรียน โรงพยาบาล ซูเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า ยิมหรือสถานที่ออกกำลังกาย และทำเลที่ตั้งต้องอยู่ในรัศมีใกล้รถไฟฟ้าใต้ดินทำให้การเดินทางเป็นเรื่องสะดวกสบาย
นอกจากนี้ ภายในโครงการยังต้องมีสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนาหรือตามประเพณีของทุกศาสนาและทุกเชื้อชาติ ซึ่งก็สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ว่าผู้อาศัยในแต่ละโครงการต้องมีทุกเชื้อชาติรวมกันตามสัดส่วนที่ทาง HDB กำหนด เพื่อช่วยแก้ปัญหาการแบ่งแยกเชื้อชาติและแบ่งแยกชนชั้น
นอกจากเรื่องสัดส่วนของเชื้อชาติแล้ว HDB ยังกำหนดข้อจำกัดด้านอื่นไว้ด้วย ยกตัวอย่างข้อกำหนดที่สำคัญก็เช่น ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยต้องจองซื้อก่อนล่วงหน้า และรอจนก่อสร้างเสร็จอีกโดยเฉลี่ยประมาณ 4 ปี
และแม้ว่าจะใช้คำว่าขาย แต่ในสัญญาจะพ่วงมากับสัญญาเช่า 99 ปี นั่นหมายความว่าเมื่อพ้นช่วง 5 ปีแรกที่ห้ามขายต่อแล้ว หลังจากนั้นผู้ซื้อจะขายต่อ หรือให้ตกทอดเป็นมรดกก็ได้
แต่เมื่อครบสัญญา 99 ปี อสังหาริมทรัพย์นั้นจะตกกลับไปเป็นของรัฐอีกครั้ง โดยรัฐบาลให้เหตุผลว่าเพื่อนำที่ดินกลับมาใช้ใหม่ และสร้างที่อยู่อาศัยให้กับชาวสิงคโปร์ในรุ่นต่อไป
สุดท้ายแล้วเจ้าของที่แท้จริงก็ยังคงเป็นรัฐบาลอยู่ดี โดยถ้านับตั้งแต่ปี 1960 ที่ HDB เริ่มก่อตั้ง จะมีบ้านที่ครบสัญญา 99 ปีครั้งแรกในปี 2059 ซึ่งจนถึงตอนนี้ก็ยังสร้างความกังวลให้กับชาวสิงคโปร์ ว่าเมื่อเวลานั้นมาถึง การต่อสัญญาเช่าจะเป็นอย่างไร
อีกข้อกำหนดก็คือ ชาวสิงคโปร์ที่ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยเองครั้งแรก ต้องมีอายุครบ 35 ปีก่อน แต่จะได้รับการยกเว้นถ้าเป็นคู่แต่งงาน ซึ่งทางรัฐบาลตั้งข้อกำหนดนี้มาเพื่อสนับสนุนให้คนรุ่นใหม่สร้างครอบครัว แก้ปัญหาการลดลงของประชากร
แต่ข้อกำหนดนี้ก็เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ในสังคมปัจจุบัน ที่มีความหลากหลายทางเพศมากขึ้น และการใช้ชีวิตคู่ที่ไม่จำเป็นว่าต้องแต่งงานเท่านั้นแบบในอดีต
อย่างไรก็ตาม HDB ได้ถือเป็นความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ของรัฐบาลสิงคโปร์ ที่ทำให้ประชากรเลือกที่อยู่อาศัยในโครงการของรัฐเพิ่มขึ้นจาก 9% ในปี 1960 ที่เริ่มต้นโครงการ มาเป็นกว่า 80% ในปัจจุบัน ซึ่งมีโครงการที่อยู่อาศัยที่สร้างโดยรัฐบาลกว่า 1 ล้านยูนิตทั่วประเทศ
และนโยบายที่ทำให้เข้าถึงที่อยู่อาศัยได้ในราคาไม่แพงนี้ ยังทำให้สิงคโปร์มีสัดส่วนประชากรที่เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยกว่า 91% มากเป็นอันดับสองของโลก เป็นรองเพียงประเทศโรมาเนีย
ซึ่งถ้าเทียบกับในประเทศพัฒนาแล้วประเทศอื่น อย่างเช่น สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร
ทั้งสองประเทศนี้มีสัดส่วนประชากรที่เป็นเจ้าของที่อยู่อาศัยราว 63% เท่านั้น
เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ นโยบายนี้ได้กลายเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้พรรค People’s Action Party ที่ก่อตั้งโดยคุณลี กวน ยู เป็นพรรคการเมืองเดียวที่ปกครองสิงคโปร์มาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลายาวนานกว่า 62 ปี อีกด้วย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-07-08/behind-the-design-of-singapore-s-low-cost-housing
-https://www.economist.com/asia/2017/07/06/why-80-of-singaporeans-live-in-government-built-flats
-https://www.bbc.com/worklife/article/20181210-can-singapores-social-housing-keep-up-with-changing-times
-https://medium.com/discourse/singapores-paradoxical-housing-policy-6c3e21f8bca7
paradoxical 在 Facebook 的最讚貼文
#葉郎宅急便
#防疫期間提供台灣電影發行和製片業來稿刊登
我是Muris繆思電影團隊的製片 Iris,過去從2012年至今我們完成了三部國際紀錄片與一部劇情片。我們一直是在拍跟設計與創新有關議題的紀錄片,也在2017年嘗試了第一部科幻劇情長片,今年剛好完成第四部紀錄片。我們所有的電影作品都是透過群眾募資募到拍片資金而完成的,四部紀錄片是在 Kickstarter上群募成功,紀錄片是在嘖嘖上群募成功。而每一部片我們都當成自己孩子一樣,找到一些合作夥伴,自理國內外發行。
今年的新片《Relationships 關係未來式》目前還在Kickstarter上群募,已達標,剩最後幾天:http://kck.st/2PXxBOM,電影官網:https://www.relationshipsmovie.com/
以下是過去作品的官網,每部片都有線上數位觀看以及DVD,歡迎大家支持:
- 2012 紀錄長片《Design & Thinking 設計與思考》:http://designthinkingmovie.com/
- 2014 紀錄長片《Maker 自造世代》:http://makerthemovie.com/
- 2017 紀錄長片《Hanzi 漢字》:http://hanzithemovie.com/
- 2018 劇情長片《Paradoxical 時光》:https://www.paradoxicalfilm.com/
(滿值得一提的是這部劇情長片《時光》,一部關於時間與人生的劇情長片,是台灣少見的獨立科幻電影,歡迎大家到官網上看預告片,目前電影數位版也有rental選項。「一部精緻、富有創意與發人省思的電影」- 波士頓科幻影展)
感謝大家的支持!:)
也大大感激葉郎的協助!希望電影業能繼續撫慰人心啊!
paradoxical 在 辣媽英文天后 林俐 Carol Facebook 的最佳貼文
《紐約時報》:乾旱危機中的台灣—保晶片廠供水,停農田灌溉。
本篇跟同學分享紐約時報針對台灣乾旱 (drought) 所做的報導,報導中討論以台積電為首的高科技產業用水情形。以及農民因為限水 (water constraint) 而停止灌溉 (irrigation) 農田面臨休耕 (fallow) 的困境 (morass)。其中也探討民眾的用水習慣是否浪費、政府訂水價過低與否的議題。
你覺得呢?在高科技產業與農民之間該如何取捨?👨🌾👩🌾
———————————————————-
📰 俐媽新聞英文—台灣乾旱篇:
- pit (v.) 使對立;使競爭
—> pit A against B (ph.) 由外在因素造成A和B競爭
- a stone's throw from (ph.) 一步之遙
- spell (v.) 招致;帶來
- drought (n.) 乾旱
- strain (n.) 沉重壓力,負擔
- ration out (ph.) 按定量配給
e.g. We’ll have to ration out the water.
我們得將水按定額配給。
- alleviate (v.) 減輕;緩和
- water constraint (n.) 限水
- desalination (n.) 海水淡化;去鹽作用 [化學用語]
- reservoir (n.) 水庫;蓄水池
- dredge (v.) 疏浚;挖掘
- pipe (v.) 用管道輸送
- irrigation (n.) 灌溉
- barren (a.) = unfertile = sterile土地貧瘠的,荒蕪的
- sparse (a.) 稀少的
- subtropical (a.) 亞熱帶的
- monsoon (n.) 季風
- detrimental (a.) 有害的;不利的
- tap (n.) 自來水
- pay / give lip service (ph.) 耍嘴炮
- take ... for granted (ph.) 視...為理所當然
- grip (v.) 控制
- scramble (v.) 搶奪
- thwarted (v.) 受挫折;挫敗
- parched (a.) 乾枯的
- haul (v.) 搬運
- sweeping (a.) 全面的
- scarce (a.) 缺乏的
- paradoxical (a.) 自相矛盾的
- verge on (ph.) 趨近於
- stigmatize (v.) 污名化
- woe (n.) 災難;不幸
- hydraulic engineering 水利工程
- morass (n.) 困境
- moonscape (n.) 月球表面
- fallow (n.) 休耕地
🗞 新聞來源:
https://www.nytimes.com/2021/04/08/technology/taiwan-drought-tsmc-semiconductors.html
———————————————————
感謝欒為同學整理提供☺️
#俐媽新聞英文
#俐媽新聞英文台灣乾旱篇
#台大明明孩子記得節約用水