雖然這篇Noscapine 香港鄉民發文沒有被收入到精華區:在Noscapine 香港這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 noscapine產品中有2篇Facebook貼文,粉絲數超過1萬的網紅小小藥罐子,也在其Facebook貼文中提到, 【藥罐子藥房事件簿】「馬尿」事件 〈又要怕又要飲〉 今次的案情主要是這樣的: 早陣子,上午時分,一個滿頭白髮的胖伯伯穿著一身便服徐徐步進藥房買藥。 甫進藥房不久後,這個胖伯伯便跟藥房高聲問道: 「你們這裡有沒有『馬尿』?」 插播一下: 一般人口中的「馬尿」其實是一種...
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過0的網紅Channel RL,也在其Youtube影片中提到,กด Subscribe ติดตามทาง YouTube ช่วยแชร์ด้วยบอกต่อเล่าต่อ เขียน comment มาคุยกันบ้าง A1 151260 ยาแก้ไอ ไอวอริน ปริมาณสุทธิ 60 ml ยาแก้ไอ การไอถือเป็นส...
-
noscapine 在 Channel RL Youtube 的最佳解答
2017-12-15 20:06:33กด Subscribe ติดตามทาง YouTube ช่วยแชร์ด้วยบอกต่อเล่าต่อ เขียน comment มาคุยกันบ้าง
A1 151260 ยาแก้ไอ ไอวอริน ปริมาณสุทธิ 60 ml
ยาแก้ไอ
การไอถือเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เนื่องจากเป็นกลไกในการกำจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากหลอดอาหารหรือระบบทางเดินหายใจ แต่อาการไอที่เกิดจากคอแห้ง และการระคายคอมักทำให้เกิดอาการเจ็บปวด และก่อให้เกิดความรำคาญ รวมถึงอาการไอแบบมีเสมหะที่มีอาหารไออย่างต่อเนื่อง และรุนแรง อาจทำให้เกิดการปวดเจ็บ และการอักเสบของหลอดลม และหลอดอาหารได้ ดังนั้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่จึงมักซื้อยามารับประทานเพื่อลดอาการไอ และกำจัดเสมหะที่เป็นสาเหตุขอการไอให้น้อยลง
สรรพคุณยาแก้ไอ
– บรรเทาอาการไอ ทำให้ชุ่มคอ ช่วยละลายเสมหะ และขับเสมหะ สำหรับผู้ป่วยที่ไอแบบมีเสมหะ
– บรรเทาอาการไอ และทำให้ชุ่มคอ สำหรับผู้ป่วยที่ไอแบบไม่มีเสมหะ จากสาเหตุต่างๆ เช่น หลอดลมอักเสบ ไอจากโรคหวัด ไอจากวัณโรค เป็นต้น
ชนิดยาแก้ไอ
โดยทั่วไปตัวยาที่เป็นส่วนประกอบของยาแก้ไอ ได้แก่
1. ยากดอาการไอ (cough suppressant)
2. ยาขับเสมหะ (expectorant)
3. ยาละลายเสมหะ (mucoregulator หรือ mucolytic)
kei
ยาแก้ไอ แบ่งตามลักษณะการออกฤทธิ์ แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. ยากดอาการไอ
ตัวยาออกฤทธิ์กดอาการไอ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.1 ยาแก้ไอที่ออกฤทธิ์ทำให้เสพติด (Narcotic Antitussives)
เป็นยาแก้ไอที่ออกฤทธิ์กดอาการไอ หากใช้ในระยะเวลานาน และต่อเนื่องจะทำให้เกิดการเสพติด สารที่ใช้เป็นส่วนประกอบในการออกฤทธิ์ ได้แก่ Codeine, Opium (ในรูป camphorated opium tincture) และ Hydrocodone เป็นต้น
1.2 ยาแก้ไอที่ไม่ออกฤทธิ์ทำให้เสพติด (Non-Narcotic Antitussives)
เป็นยาแก้ไอที่ออกฤทธิ์กดอาการไอ เมื่อใช้ในระยะเวลานาน และต่อเนื่องจะไม่ทำให้เกิดการเสพติดเหมือนยาในกลุ่ม Narcotic Antitussives สารที่ใช้เป็นส่วนประกอบในการออกฤทธิ์ ได้แก่ Dextromethorphan, Benzonatate และ Noscapine เป็นต้น
2. ยากำจัดเสมหะ
ตัวยาออกฤทธิ์ลด และกำจัดเสมหะ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
2.1 ยาขับเสมหะ (Expectorant)
เป็นยาแก้ไอที่ออกฤทธิ์กระตุ้นให้เซลล์เยื่อบุทางเดินหายใจบริเวณหลอดลมหลั่งสารคัดหลั่งมากขึ้น หรือออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทรับความรู้สึกที่กระเพาะอาหารเกิดกลไกการตอบสนองให้มีการหลั่งน้ำ และเมือกมากขึ้น เพื่อช่วยให้เสมหะลดความเหนียวลง และกระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณทรวงอก และหน้าที่เพื่อผลักดันเสมหะให้ออกทางช่องปากได้ง่ายขึ้น ยาที่ใช้ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Guaiphenesin, Hydriodic Acid, Ammonium Chloride, Potassium Iodine, Ipecacuanha และ Iodinate Glycerol เป็นต้น
2.2 ยาละลายเสมหะ (Mucolytic)
เป็นยาแก้ไอที่ออกฤทธิ์ทำลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในเสมหะ ทำให้เสมหะไม่เหนียวข้นหรือไม่จับตัวกันเป็นก้อน เสมหะมีลักษณะเหลวใส สามารถเคลื่อนออกจากหลอดลมได้ง่ายขึ้น หรือสามารถไอผลักดันเสมหะออกได้ง่ายขึ้น ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Bromhexine, Acetylcysteien, Ambroxol และ Methylcysteien เป็นต้น (กรอุมา ลาภานุพัฒน์, 2554.)(1)
ยาแก้ไอชนิดผสม Codeine
ยาแก้ไอที่มีส่วนผสมของสาร Codeine จัดเป็นกลุ่มยาแก้ไอที่เกิดอาการเสพติดของผู้รับประทานได้ เนื่องจากสาร Codeine เป็นสารอัลคาลอยด์ที่สกัดได้จากฝิ่น เพราะสารชนิดนี้ไม่มีการผลิตสังเคราะห์ขึ้น เนื่องจากมีการใช้อย่างจำกัด และใช้ในปริมาณน้อยมากจึงไม่คุ้มค่าสำหรับการผลิต จำเป็นต้องใช้สารที่สกัดได้จากฝิ่นแทน ซึ่งปัจจุบัน Codeine ที่ใช้ในวงการแพทย์ส่วนใหญ่จะมาจากการสกัดจากฝิ่น ด้วยวิธี Methylation ใน Phenolic hydroxyl group ของมอร์ฟีน กระบวนการสกัดมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างโมเลกุลน้อยทำให้ Codeine ออกฤทธิ์เหมือนมอร์ฟีน
Codeine ที่ใช้เป็นส่วนผสมเป็นสารในกลุ่มโอปิออยด์ (opioid) ใช้ออกฤทธิ์ระงับอาการปวด และระงับอาการไอ สารนี้สามารถถูกทำลายที่ตับ และขับออกทางปัสสาวะ บางส่วนสามารถเปลี่ยนเป็นมอร์ฟีนได้เมื่อเข้าสู่ร่างกายจึงมักตรวจพบมอร์ฟีนในปัสสาวะสำหรับผู้ที่รับประทานยาแก้ไอชนิดนี้
Codeine จัดเป็นสารเสพติดชนิดที่ 2 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ที่ออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง จึงนิยมนำมาใช้ในทางการแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ผสมในยาแก้ไอทั้งยาชนิดแคปซูล ยาชนิดเม็ด และยาชนิดน้ำ เพื่อระงับอาการปวดหรือระงับอาการไอ
ข้อควรระวัง
1. การใช้ยาแก้ไอชนิดที่ผสม Codeine ต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจทำให้เกิดการดื้อยาจนทำให้ต้องใช้ในปริมาณที่สูงขึ้น เป็นผลทำให้เกิดการเสพติดยาตามมา ดังนั้น การรับประทานยาแก้ไอชนิดที่มีส่วนผสม Codeine จึงไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
2. การใช้ยาแก้ไอ โดยเฉพาะชนิดที่ผสม Codeine อาจทำให้เกิดอาการง่วงซึม จึงควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะหรือทำงานใกล้กับเครื่องกลหนัก ทำงานในที่สูงหรือเสี่ยงกับสารเคมีหลังการรับประทานยาแก้ไอ
3. ไม่ควรรับประทานยาแก้ไอร่วมกับอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะอาจทำให้เกิดการง่วงซึมเพิ่มมากขึ้น
4. หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ไอกับหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 6 ปี อย่างเด็ดขาด
5. หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ไอกับผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืดหรือมีอาการหายใจลำบาก
ยาแก้ไอ, ยาแก้ไอแพง, ยาแก้ไอมะตูม, ยาแก้ไอฝาแดง, ยาแก้ไอมะขามป้อม, ยาแก้ไอbm, ยาแก้ไอตัวใหม่, ยาแก้ไอสมุนไพร, ยาแก้ไอน้ําดํา, ยาแก้ไอปลอม
noscapine 在 小小藥罐子 Facebook 的最佳貼文
【藥罐子藥房事件簿】「馬尿」事件
〈又要怕又要飲〉
今次的案情主要是這樣的:
早陣子,上午時分,一個滿頭白髮的胖伯伯穿著一身便服徐徐步進藥房買藥。
甫進藥房不久後,這個胖伯伯便跟藥房高聲問道:
「你們這裡有沒有『馬尿』?」
插播一下:
一般人口中的「馬尿」其實是一種主要含有Ammonia(例如Ammonium Chloride)、Ipecacuanha的咳藥水。
在藥理上,兩者同是袪痰劑(Expectorant),一般相信主要透過刺激氣管分泌黏液,液化痰液,有助用藥者吐出痰液,從而KO痰咳。
沒想到,藥罐子還未開口答話,這個胖伯伯又突然搶咪續道:
「你們知不知道『馬尿』是什麼呢?……這種又難聞又難喝的咳藥水呢?」
聽罷,藥罐子便答道:
「唔……如果你不喜歡『馬尿』的話,其實還有很多咳藥水,不過首先要問清楚你到底是乾咳還是痰咳。」
對,咳嗽一般主要分為乾咳、痰咳兩種。
所謂「有咳止咳,有痰化痰」,綜觀三類常用的止咳化痰藥,其中鎮咳劑(Antitussive)(例如Noscapine)一般較適用於KO乾咳;至於袪痰劑、化痰劑(Mucolytics)(例如Acetylcysteine、Ambroxol、Bromhexine)一般則較適用於KO痰咳。
不過就算是袪痰劑,同樣還有其他選項,例如Guaifenesin。
所以「馬尿」只是一個選擇。
可是這個胖伯伯卻連連搖手道:
「不、不、不……我喝慣了『馬尿』……沒有這陣味,我硬是覺得沒什麼用……」
對,很多用藥者往往可能會帶著一種情意結用藥,只要看中一種藥,就算這種藥再怎麼難聞難喝,很多用藥者還是仍然選擇用這種藥。
說真的,既然這種藥有效,又不知道其他藥有沒有效,何必轉藥呢?
實際上,根據經驗,跟這個胖伯伯一樣,很多長者一般較喜歡用「馬尿」KO痰咳。
至少在長者眼裡,這些「又難聞又難喝」的「馬尿」應該算是一種正皮藥吧?
💊💊💊💊💊💊💊
BLOG➡️http://pegashadraymak.blogspot.com/
IG➡️https://www.instagram.com/pegashadraymak/
YT➡️https://www.youtube.com/channel/UCQOMojMd6q7XnESMWwldPhQ
📕📕📕📕📕📕📕
著作➡️藥事知多D、用藥知多D、藥房事件簿、家居用藥攻略(各大書店有售)
noscapine 在 小小藥罐子 Facebook 的最佳貼文
〈今晚中秋節,人月兩團圓,出唔出到Pool就睇今晚架喇,響呢個咁重要嘅關頭,當然唔可以……咳……咳……〉
咳嗽終結者(一):服用了止咳藥還是未能止咳?
你有沒有選對止咳藥?
「噯!藥罐子,根據常理,既然有咳,自然便需要服止咳藥!那麼,錯在哪裡?」
在相當程度上,有咳固然需要服止咳藥。
但問題是,單是止咳藥裡面的成分,便已經分門別類,互有長短,各自適用於紓緩不同的咳嗽。
基本上,咳嗽,主要可以分為乾咳、痰咳兩種。
所謂「乾咳」、「痰咳」,顧名思義,分別便是指沒有痰液、帶有痰液的咳嗽。
止咳藥有多少種?
在一般人口裡,「止咳藥」的主要成分,在藥理上,其實是一種鎮咳劑(Antitussive),例如Noscapine,它的功效,是抑制大腦的咳嗽反射,讓大腦沒有咳嗽的意識,從而可以達到鎮咳的效果。
至於「化痰藥」,便可以分為袪痰劑(Expectorant)、化痰劑(Mucolytics)兩種。
1. 袪痰劑,例如Guaifenesin、Ammonium Chloride、Cocillana,功效在增加氣管的黏液分泌,稀釋痰液,幫助吐出痰液。
2. 化痰劑,例如Bromhexine、Acetylcysteine、Ambroxol,功效在分解痰液,減低痰液的黏度,同樣有助吐出痰液。
用藥的大原則,永遠是對症下藥。有怎樣的症狀,便服食怎樣的藥物,否則後果嚴重。
「乾咳」惡化 變成「痰咳」
如果是「乾咳」的話,既然沒有痰,那麼,「化痰藥」固然便會英雄無用武之地,更可能會弄巧反拙,刺激氣管分泌黏液,形成痰液,最後止咳不成,還可能會演化成為「痰咳」,不但沒有將問題解決,還可能會製造另一個問題。
「痰咳」引致 氣管炎
至於「痰咳」的話,當然要用「化痰藥」,而且一般不建議使用「止咳藥」(鎮咳劑),避免妨礙用藥者咳出痰液,讓痰液繼續黏附在氣管內壁,吐不出來,這便可能會誘發氣管炎,後果嚴重。
不難理解,咳嗽其實是體內一種正常的反射機制,屬於一種防衛機制去把吸進氣管的細菌、誤進氣管的食物,或者湧上氣管的痰液,透過咳嗽排出體外,防止呼吸系統受到異物侵入。
最後,在用藥上,所謂「有咳止咳,有痰化痰」,自自然然,「止咳藥」(鎮咳劑)一般較適合「乾咳」;「化痰藥」(袪痰劑、化痰劑)一般較適合「痰咳」。以上這兩類藥,既不能亂用,更不能互用,必須緊慎選用。