[爆卦]Krona One是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Krona One鄉民發文沒有被收入到精華區:在Krona One這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 krona產品中有10篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, ประเทศไหน ใช้เงินสด น้อยที่สุดในโลก ? /โดย ลงทุนแมน วิธีการชำระเงินของมนุษย์ ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากเปลือกหอย เหรียญ ธนบัตร จนมาถึงยุคปัจจุบัน...

 同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅Lockon Starfish,也在其Youtube影片中提到,Switch สามารถรัน Android ได้แล้ว | Ninja ประกาศย้ายสังกัดจาก Twitch ไปสตรีมบน Mixer แทน - สัปดาห์นี้ในวงการเกม [11 ส.ค. 19] ติดตามบน Twitter https://...

krona 在 Eric Yang Instagram 的最佳貼文

2021-05-03 21:58:31

[時事英文] A National Digital Currency 國家數位貨幣 Central banks around the world are trying new forms of digital money that can move faster and give even the...

  • krona 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文

    2021-04-27 11:30:00
    有 3,421 人按讚

    ประเทศไหน ใช้เงินสด น้อยที่สุดในโลก ? /โดย ลงทุนแมน
    วิธีการชำระเงินของมนุษย์ ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง
    จากเปลือกหอย เหรียญ ธนบัตร จนมาถึงยุคปัจจุบัน
    ที่เราใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน
    ซึ่งเรียกกันว่ายุค Cashless Society หรือสังคมไร้เงินสด

    หากให้ลองนึกถึงประเทศที่เป็นผู้นำในด้านนี้
    หลายคนก็น่าจะนึกถึงประเทศจีน หรือไม่ก็สหรัฐอเมริกา
    แต่คำตอบที่ได้จะไม่ใช่ทั้ง 2 ประเทศนี้เลย
    แล้วประเทศนั้นคือประเทศอะไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว
    ประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในโลก คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา
    ประเทศแห่งนี้มีสัดส่วนการใช้เงินสดอยู่ที่ 51%
    เมื่อเทียบกับธุรกรรมทางการเงินทั้งหมดในประเทศ

    รองลงมาจะเป็นประเทศในแถบยุโรปฝั่งเหนือ
    ซึ่งก็ได้แก่ ฟินแลนด์, เนเธอร์แลนด์, สหราชอาณาจักร และสวีเดน
    ที่สัดส่วนการใช้เงินสดเฉลี่ยอยู่ที่ 55%

    แต่พอมาวันนี้ หากเราลองมาดูสัดส่วนการใช้เงินสดของ 5 ประเทศ ที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในโลก

    อันดับที่ 1 สวีเดน 9%
    อันดับที่ 2 เนเธอร์แลนด์ 14%
    อันดับที่ 3 สหราชอาณาจักร 23%
    อันดับที่ 4 ฟินแลนด์ 24%
    อันดับที่ 5 สหรัฐอเมริกา 28%

    กลับกลายเป็นว่าแชมป์โลกเมื่อ 10 ปีก่อน อย่างประเทศสหรัฐอเมริกา ตกไปอยู่อันดับที่ 5
    และประเทศ “สวีเดน” ได้กลายมาเป็นประเทศที่ไร้เงินสดที่สุดในโลก

    คำถามที่ตามมาก็คือ เพราะอะไร ?

    จริง ๆ แล้ว หากย้อนไปในอดีตจะพบว่าประเทศสวีเดน ถือเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำด้านนวัตกรรมทางการเงินมาอย่างยาวนาน อ้างอิงจากเหตุการณ์ที่ผ่านมาตั้งแต่

    ปี 1661 เป็นประเทศแรกในยุโรปที่เริ่มใช้ธนบัตร
    ปี 1967 เริ่มใช้ตู้ ATM เป็นประเทศที่ 2 ของโลก ช้ากว่าประเทศแรกอย่างอังกฤษเพียง 1 สัปดาห์

    และรู้หรือไม่ว่า ภายในปี 2023 เราอาจไม่ได้เห็นการใช้เงินสดในประเทศสวีเดนอีกเลย
    เพราะมีการคาดการณ์ว่าภายในเดือนมีนาคม ปี 2023
    ประเทศสวีเดนจะเป็นสังคมไร้เงินสดได้อย่างสมบูรณ์ เป็นประเทศแรกของโลก

    นอกเหนือจากการเป็นผู้นำนวัตกรรมการเงินแล้ว
    ประเทศสวีเดนยังได้รับความร่วมมือกันจากทุกฝ่าย
    ทั้งผู้พัฒนาและผลักดันเทคโนโลยี รวมถึงผู้ใช้งาน

    ในด้านของผู้พัฒนาเทคโนโลยี ประเทศสวีเดนถือว่าเป็นประเทศแห่งนวัตกรรมและเทคโนโลยี
    เห็นได้จากแพลตฟอร์มที่เป็นที่นิยมไปทั่วโลกอย่าง Spotify, SoundCloud และ Skype
    หรือแม้แต่ยูนิคอร์นที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ซึ่งมีชื่อว่า Klarna ก็ก่อตั้งจากประเทศแห่งนี้
    และแน่นอนว่ามันเป็นแพลตฟอร์มเกี่ยวกับระบบการชำระเงินผ่านการซื้อของออนไลน์

    ที่ขาดไม่ได้คือแรงผลักดันจากรัฐบาลและกลุ่มสถาบันการเงิน
    ที่ได้ออกกฎเพื่อสนับสนุนให้ร้านค้ารับชำระเงินจากลูกค้าในแบบอิเล็กทรอนิกส์

    ซึ่งการที่ภาครัฐผลักดันให้เลิกใช้เงินสด นอกจากเรื่องของความสะดวกสบายและง่ายต่อการใช้งานแล้ว
    สิ่งสำคัญไม่แพ้กันก็คือ การลดการก่ออาชญากรรม ทั้งการปล้นเงินสด หรือการซื้อขายสิ่งผิดกฎหมาย เพราะธุรกรรมที่เกิดขึ้นบนโลกอินเทอร์เน็ตจะสามารถตรวจสอบได้

    ในขณะเดียวกัน เงินสดยังมีต้นทุนในการจัดการสูง โดยเฉพาะเรื่องระบบรักษาความปลอดภัย

    จุดเปลี่ยนสำคัญที่นำสวีเดนไปสู่สังคมไร้เงินสดเกิดขึ้นมาตั้งแต่ปี 2012
    โดยธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดในสวีเดน 6 แห่ง รวมถึงธนาคารกลางสวีเดน
    ได้ร่วมกันพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับระบบการชำระเงินผ่านสมาร์ตโฟน ที่มีชื่อว่า “Swish”

    ตรงนี้ก็น่าคิดเหมือนกันว่า จริง ๆ แล้วประเทศไทยเอง
    ก็มีระบบพร้อมเพย์ รวมไปถึงแอปพลิเคชัน “เป๋าตัง” ที่ถูกผลักดันโดยรัฐบาล ซึ่งปัจจุบันมีผู้ใช้งานราว 40 ล้านคน

    ก็น่าคิดเหมือนกันว่าเราจะมีพัฒนาการในลักษณะเดียวกันกับสวีเดนได้หรือไม่

    กลับมาที่ Swish แอปพลิเคชันดังกล่าวมีเป้าหมายหลัก เพื่อสนับสนุนให้ชาวสวีเดน
    เปลี่ยนมามีวิถีชีวิตแบบที่ไม่ใช้เงินสดได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งถือว่าประสบความสำเร็จ
    เพราะปัจจุบันมีชาวสวีเดนที่ใช้จ่ายผ่านแอปพลิเคชันนี้ มากกว่า 60% ของประชากรแล้ว

    และในปัจจุบัน ธนาคารกลางสวีเดนก็กำลังพัฒนาสกุลเงินดิจิทัลของตัวเอง
    ชื่อว่า e-krona ที่คาดว่าจะใช้งานได้จริงภายในปี 2025 อีกด้วย

    ในส่วนของผู้ใช้เทคโนโลยีก็สำคัญเช่นกัน เพราะชาวสวีเดนถือได้ว่าเปิดรับเทคโนโลยีใหม่ได้เร็ว
    สะท้อนมาจากผลสำรวจเมื่อปลายปี 2020 ที่ว่า คนสวีเดนทุก 3 ใน 4 คน
    เลือกที่จะใช้จ่ายโดยไม่ใช้เงินสด ซึ่งถือว่าสูงเป็นอันดับที่ 2 ของโลก
    เป็นรองเพียงประเทศเกาหลีใต้

    ในขณะที่ชาวสวีเดนมีอัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสูงถึง 94% ของจำนวนประชากรทั้งหมดในประเทศ

    ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เป็นปัจจัยสำคัญที่ได้ขับเคลื่อนสวีเดน
    ให้เข้าสู่สังคมไร้เงินสดได้รวดเร็วที่สุดในโลกนั่นเอง..

    ปิดท้ายด้วยคำถามที่หลายคนอาจจะยังสงสัยว่า แล้วจีนอยู่ตรงไหน ?
    เรามาดู อันดับประเทศที่ใช้เงินสดน้อยที่สุดในเอเชีย ก็คือ

    อันดับที่ 1 เกาหลีใต้ ใช้เงินสด 34%
    อันดับที่ 2 สิงคโปร์ ใช้เงินสด 39%
    อันดับที่ 3 จีน ใช้เงินสด 41%

    จะเห็นได้ว่าตอนนี้ประเทศจีนยังอยู่ในอันดับที่ 3
    แต่หากเราย้อนกลับไปเมื่อ 10 ปีก่อน
    รู้หรือไม่ว่าสมัยนั้นคนจีนยังใช้เงินสดกันทั้งประเทศ

    ถึงตรงนี้ เราก็คงสรุปได้ว่าอีกหน่อยโลกของเราก็น่าจะหมุนเข้าหาสังคมไร้เงินสดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
    และตัวกลางในการรับชำระอย่างเหรียญและธนบัตร ที่ใช้กันมานานกว่าหลายชั่วอายุคน
    อาจจะกลายเป็นของสะสม หรือเป็นวัตถุโบราณที่หาดูได้ แค่ในพิพิธภัณฑ์..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References
    -https://www.mckinsey.com/~/media/mckinsey/industries/financial%20services/our%20insights/accelerating%20winds%20of%20change%20in%20global%20payments/2020-mckinsey-global-payments-report-vf.pdf
    -https://interestingengineering.com/sweden-how-to-live-in-the-worlds-first-cashless-society
    -https://www.weforum.org/agenda/2021/01/this-chart-shows-cash-cashless-finance-payment-methods-global-preference/
    -https://data.worldbank.org/indicator/IT.NET.USER.ZS?most_recent_value_desc=true
    -https://en.wikipedia.org/wiki/Swish_(payment)

  • krona 在 許毓仁 Facebook 的最佳解答

    2020-11-30 14:00:06
    有 134 人按讚

    上週二,在由 #中華金融科技產業促進會 主辦的 #台灣數位經濟大會 上,我主持了瑞典貿易暨投資委員會台北辦事處孔培恩代表(BengtGCarlsson),以及英國在台辦事處貿易投資署艾芬霓署長(StephanieAshmore)的對談。

    除了瑞典已經在推動的「電子克朗(e-Krona)」的近況,也聽到聽到英國數位、文化、媒體暨體育部曾提出的「數位策略」(Digital Strategy)政策的七大主軸,分別是連接力(Connectivity)、全民技能(Skills and inclusion)、政府支持數位創新(The digital sectors)、更廣泛的經濟(The wider economy)、牢靠的網路空間(Cyberspace)、線上政府服務(Digital government)、資料經濟信心(The data economy),這幾個重點其實也是台灣近期探討智慧國家中的重要環節。

    反觀我們接下來想做的事,其實許多都是因為過去沒做的太多,因此只好在未來多做一些,來盡力趕上國際進度。而有幾點或許就是我們可以先做的:

    1. 想清楚我國的網路治理模式,打算走企業自治的加州模式、政府管制的歐洲模式,還是網路主權思維的中國模式?
    2. 開始針對"數位資產"與"資料經濟"做出示範,讓產、學界都進行相關討論。
    3. 內需市場不大情況下,如何優先扶植本土企業與提升國民數位能力?

    或許我們可以設定好基本的"資料"時代思維的法規,比如歐盟 2019 年頒布了全新的《數位單一市場著作權指令》(Directive on Copyright in the Digital Single Market),這會開始提高民眾與企業對資料價值的敏感度,並循序漸進地架構出整體的資料思維,甚至是將這些想法開始加入十二年國教的內容,讓學生不再只是會操作軟體,而是真的有數位國家的意識。

    我們不能奢求台灣出現一個新的部門就解決一切問題,但參考國際友人的經驗,我們應該要能夠見賢思齊,盡快確立出科技島國想走的道路。

  • krona 在 BennyLeung.com Facebook 的最讚貼文

    2020-08-23 10:14:59
    有 42 人按讚

    數碼美元試驗計劃始動 全球央行數碼貨幣爭霸揭開戰幔 - 方展策

    面對數碼人民幣(DC/EP)與瑞典電子克朗(e-krona)的挑戰,英、法等國已加快央行數碼貨幣(Central Bank Digital Currencies,CBDC)的布局。過去曾多次否定CBDC的美國,近期更開始鬆口,表示有意研究數碼貨幣。踏入8月,美國聯邦儲備局高層突然爆料,指已跟麻省理工學院(MIT)合作推動一項「數碼美元」試驗計劃,令到全球數碼貨幣爭霸戰急劇升溫。

    2020年3月,美國眾議院民主黨議員起草了一份經濟刺激法案,提出以「數碼美元(Digital Dollar)」方式,發放疫情補助金給民眾。雖然這項關於數碼美元的提案最終未有落實,但已使數碼美元的推廣聲浪在美國國內再度出現。事實上,最近聯儲局對數碼美元的立場亦已逐步改變。

    直到2019年12月,美國財長努欽(Steven Mnuchin)仍公開表明,聯儲局不需要發行數碼貨幣。但2020年2月,聯儲局主席鮑威爾(Jerome Powell)在眾議院金融服務委員會的聽證會上卻表示,局方已對央行數碼貨幣展開研究,並會審視CBDC是否有助鞏固美元地位。

    2020年5月,鮑威爾接受電視新聞節目《六十分鐘時事雜誌》專訪時坦承,為提振美國債券市場,局方已向市場注入大量資金,更揚言除印製鈔票外,還可考慮用數碼化方式發行美元,以購買國庫券或其他政府擔保的債券。

    2020年6 月,鮑威爾再度出席眾議院聽證會,強調數碼美元是聯儲局必須解決的議題,現已進行相關研究。他又指出,數碼美元是聯儲局基於公眾利益而開發的項目,惟當中絕不容私營企業插手,因為企業無需承擔公眾利益責任。

    2020年8月,聯儲局理事布雷納德(Lael Brainard)在網上節目中表示,新冠疫情讓民眾識到美國在數碼支付領域嚴重落後,因此創建一套穩定而可靠的數碼貨幣系統,已成當務之急。他進一步指出,波士頓聯儲銀行已跟麻省理工學院攜手合作,研發和測試一套試驗性質的數碼美元方案,預計整個試驗項目將於2至3年內完成,屆時不但會公布研究結果,還會以開源(Open Source)方式釋出系統的程式碼,供外界研習和實驗使用。

    不過,布雷納德強調,聯儲局無意發行這套數碼貨幣。他解釋,假如局方真的要推出央行數碼貨幣,必須先解決多個棘手的法律問題,包括《聯邦儲備法(Federal Reserve Act)》現有條款是否適用於CBDC,以及這類貨幣是否具有法定貨幣的地位,然後才可啟動相關的新政策程序。目前聯儲局就連是否要展開此程序都未有決定。

    根據國際清算銀行(Bank for International Settlement,BIS)的調查報告,現時已有80%央行涉足CBDC的相關領域,當中約40%已從概念研究進展至實驗或概念試證階段,更有10%正在進行央行數碼貨幣的開發和試點測試。

    以法國為例,2020年5月20日宣告完成央行數碼貨幣測試,成為全球首個成功在區塊鏈上測試「數碼歐元(Digital Euro)」的國家。法國央行指出,這款數碼歐元不是面向民眾的零售型數碼貨幣,而是作為銀行間結算媒介的批發型數碼貨幣,故此參與這次測試的大多是商業銀行與大型金融機構。

    兩個月後,法國央行於7月20日正式公布,已選定8家金融與科技公司作為下一階段測試的合作夥伴,當中包括:匯豐銀行、法國興業銀行(Societe Generale)、歐洲清算銀行(Euroclear)、瑞士銀行SEBA、國際諮詢機構埃森哲(Accenture)、IZNES 基金記帳平台、LiquidShare區塊鏈結算平台和ProsperUS。由此可見,法國央行正馬不停蹄地加快數碼貨幣的測試進程,務求在技術上保持領先位置。

    至於與法國隔海對望的英國,早在2014年就開始研究數碼貨幣。自2020年3月起,英國有不少商家因害怕被新冠病毒感染,只肯接受非接觸式支付,以致自動提款機的提款量大幅下降,促使英國央行加快對數碼貨幣的布局。

    2020年 6 月,英國央行發表一份關於央行數碼貨幣的討論文件,指出CBDC的用途除國內支付外,還適用於海外匯款,有助降低跨境支付的成本。

    2020年7月中,英國央行行長安德魯·貝利(Andrew Bailey)表示,正在評估應否建立央行數碼貨幣。他又認為,CBDC將對支付體系和社會產生巨大影響,所以央行會持續研究數碼貨幣。

    2020年7月30日,英國央行宣布斥資1.5億英鎊(約15.2億港元),重建實時通用結算系統(Real Time Gross Settlement,RTGS),預計於2022年啟用。新系統不但可為英國金融機構提供更高效率的即時結算服務,更可兼容央行數碼貨幣。日後假如英國真的要發行「數碼英鎊(Digital Pound)」,即可使用全新RTGS系統進行結算,可見英國央行已為CBDC發展積極鋪路。

    預計於今年稍後舉行的七大工業國集團(G7)峰會,有消息指美國、英國、法國、德國、意大利、加拿大、日本將在會上討論,如何合作推動央行數碼貨幣發展。國際支付機構VISA加密部門負責人謝菲爾德(Cuy Sheffield)亦表示,CBDC將會是未來10年貨幣與支付領域內最重要的發展趨勢之一。由是觀之,央行數碼貨幣已成為國際金融界一股不可輕忽的新勢力。

    #金融 #經濟 #科技

你可能也想看看

搜尋相關網站