雖然這篇Incapacitation 中文鄉民發文沒有被收入到精華區:在Incapacitation 中文這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 incapacitation產品中有3篇Facebook貼文,粉絲數超過1萬的網紅家醫/職醫_陳崇賢醫師,也在其Facebook貼文中提到, 【家庭醫學】~ 冷水浸泡四階段 (CWI, 4 phases) 好的,我們不拖稿,今天就來談談泡在冷水裡面太久,會有什麼問題。 因為發現寫得太學術,基本上沒人有興趣,今天換個寫法,反正醫療專業的再點最後的文獻進去看就好,學得更多、更紮實...XD 先來定義一下冷水,其實只要比體溫低,就可以算是...
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
incapacitation 在 家醫/職醫_陳崇賢醫師 Facebook 的最佳解答
【家庭醫學】~ 冷水浸泡四階段 (CWI, 4 phases)
好的,我們不拖稿,今天就來談談泡在冷水裡面太久,會有什麼問題。
因為發現寫得太學術,基本上沒人有興趣,今天換個寫法,反正醫療專業的再點最後的文獻進去看就好,學得更多、更紮實...XD
先來定義一下冷水,其實只要比體溫低,就可以算是冷水,長時間泡著身體為了保持體溫,需要一直耗能;一般而言,25°C以下的水會比較有感。
再來講四個階段:(如果有看過鐵達尼號的,應該更能理解)
1. 冷驚嚇反應 (Cold shock response)
可以想像自己突然掉到冰水中,一定會非常驚恐,手足無措;瞬間的溫度變化,可能讓你覺得是不是快死了,慘了...人生跑馬燈就開始轉起來。
其實剛進到冷水中,只有表皮會被冷卻,會造成溺水,往往都是嚇到之後,過度換氣,嗆水造成。一般這個階段,大概就在落水後的3分鐘內,只要能冷靜下來,存活機率就大增。
(所以電影鐵達尼中的ROSE和JACK,落水之後,互相扶持,安撫恐慌的情緒,過了這一關。)
2. 冷失能 (Cold incapacitation)
因為持續在冷水中,為了維持核心溫度,所以手腳的血管收縮,開始影響到活動的靈活度。
一般來說,10-15分鐘會開始出現活動不靈活;當撐過落水後慌張的階段後,要開始考慮的是,有沒有可能在10-15分鐘內,可以離開冷水,如果不行,那就要開始找一些能讓自己浮起來的東西,例如:救生衣。
不然開始游不動後,就會溺水了;最好也不要找需要出力抓著的,後半段手也可能凍僵抓不住東西。
(電影中,就是找了一塊大木板,還是門板之類的東西。)
3. 失溫開始 (Onset of hypothemia)
回想之前談過失溫的那一篇,核心溫度已經開始掉了,基本上你在水裡又不可能有熱水可以喝,有隔熱毯可以蓋;這時只能希望有人快點來發現你,並把你救上岸。
這個情況,大約發生在入水後的30分鐘。
因為失溫持續下去,一些心律不整等急性病症的機率就會上升,即便沒發生,最後也會失去意識,造成溺水。所以至少找個可以讓頭浮出水面的東西,失去意識後,不會直接溺水,爭取多一些被發現的時間。
(而電影中,JACK是直接凍死在大木板旁...最後沈入大海)
4. 救援前後的虛脫 (Circum-rescue collapse)
不是看到救難隊就真的得救了!
救起來之後,還沒回暖前,仍然有可能因為失溫的相關病症而死亡。另外,有些案例是突然心情放鬆下來,血管放鬆,血壓突然下降;或是移動的過程中,造成週邊冰冷的血液突然灌流進心臟,產生急性心率不整。
※ 小結:
最後總結一下比較重要的資訊:
1. 剛掉進冷水中不會讓你凍死,緊張才會。
2. 在10-15分鐘內上不了岸,就找東西讓自己浮起來。
3. 水域活動請結伴同行,救生衣記得帶。
至於昨天講的運動後的冷水浸泡,還記得口訣嗎?
水溫攝氏11-15度,泡11-15分鐘。
所以不會失溫的,請大家不要為我擔心。
當然,你如果在長天數縱走的中間想恢復的快一些,又剛好有高山溪流,那就泡泡腳就好,記得不要把衣物弄溼,以免弄巧成拙,真的搞成失溫事件。
※ 參考文獻:
Tipton, M. J., et al. "Cold water immersion: kill or cure?." Experimental physiology 102.11 (2017): 1335-1355.
https://doi.org/10.1113/EP086283
incapacitation 在 Charles Mok 莫乃光 Facebook 的最讚貼文
【一個香港需要展開的討論】警察是否不應該採用人面辨識技術?
Facial recognition may never be appropriate for police use, says ethics board
Axon – the company best known for the Taser incapacitation device – has announced that it will not be adding facial recognition technology to its police body cameras, based on the recommendations of its AI and ethics board.
https://eandt.theiet.org/…/facial-recognition-may-never-be…/
incapacitation 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
"กระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลักหรือกระบวนการยุติธรรมปกติที่ดูเหมือน คสช.ให้ความสำคัญเป็นอย่างมากในเวลานี้"
รศ.สิทธิกร ศักดิ์แสง
กระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก (Main Stream Criminal Justice) เป็นกระบวนการยุติธรรมในการดำเนินคดีอาญาปกติ มีวัตถุประสงค์หลัก คือ การที่มุ่งเน้นที่จะหาตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษตามที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดแต่ละข้อหา การดำเนินการพิจารณาคดีอาญาเริ่มตั้งแต่ชั้นเจ้าพนักงานตำรวจ อัยการ และศาล ในการสืบสวนสอบสวนว่าได้มีการกระทำตามที่มีการกล่าวหาเกิดขึ้นจริงหรือไม่ การกระทำดังกล่าวเป็นการกระทำที่ครบองค์ประกอบความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้หรือไม่ จำเลยหรือผู้ต้องหาเป็นผู้กระทำความผิดดังกล่าวหรือไม่ มีเหตุอื่นใดที่จะทำให้การกระทำของผู้กระทำความผิดไม่เป็นความผิดตามกฎหมายหรือมีเหตุที่จะทำให้ผู้กระทำความผิดนั้นไม่ต้องรับโทษ และสุดท้ายหากเป็นกรณีที่ผู้กระทำความผิดนั้นจะต้องรับโทษในความผิดที่ได้กระทำ สมควรจะลงโทษผู้กระทำความผิดสถานใด กระบวนการต่างๆทั้งหมดนี้ มีผู้กระทำความผิดเป็นบุคคลที่อยู่ ณ จุดศูนย์กลางของกระบวนการ
กระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก เป็นการคุ้มครองและให้หลักประกันแก่ผู้กระทำความผิด ให้สิทธิขั้นพื้นฐานต่างๆ ที่จะทำให้สามารถต่อสู้พิสูจน์การกระทำของตนในกระบวนการต่างได้อย่างเป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นสิทธิที่จะไม่ให้การปรักปรำตนเอง สิทธิที่จะพบทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมาย สิทธิที่จะให้มีการสืบพยานต่อหน้าจำเลยตลอดจนมาตรฐานการพิสูจน์ความผิดของผู้กระทำความผิดในคดีอาญา ที่จะมีมาตรฐานการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานที่เข้มงวดกว่าคดีแพ่ง โดยผู้กล่าวหาต้องนำพยานหลักฐานมาพิสูจน์จนปราศจากความสงสัยตามสมควรว่าผู้กระทำความผิดได้กระทำความผิดจริง มิฉะนั้นอาจจะต้องยกผลประโยชน์ให้แก่ผู้กระทำความผิดไป มาตรการคุ้มครองสิทธิต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นต้องมีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก เนื่องจากผลของการดำเนินการทั้งหมดอาจจะทำให้ผู้กระทำความผิดนั้นต้องรับโทษทางอาญาตามที่กฎหมายกำหนดไว้ ซึ่งเป็นการโต้ตอบผู้กระทำความผิด เพื่อให้ผู้กระทำความผิดได้รับความเจ็บปวดในลักษณะความยุติธรรมแก้แค้นทดแทนที่เป็นสิทธิของรัฐ การลงโทษได้เป็นการควบคุมสังคมและอาชญากรรม การกำหนดโทษถือเป็นการปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิด
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาในกระแสหลัก มีรูปแบบการลงโทษอยู่ 4 ประการดังนี้
1.กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อการแก้แค้นทดแทน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อการแก้แค้นทดแทน (Retribution) เป็นกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก (Main Stream Criminal Justice) โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานความคิดที่ว่าเมื่อบุคคลใดกระทำความผิดขึ้น บุคคลนั้นสมควรจะต้องชดใช้ต่อการกระทำของตนให้เหมาะสมกับความผิดที่ตนได้ก่อขึ้น หากความผิดที่ก่อขึ้นเป็นเรื่องเล็กน้อย การชดใช้ที่บุคคลนั้นจะต้องรับก็อาจจะมีไม่มากนัก แต่หากความร้ายแรงของความผิดที่ก่อขึ้นมีมาก บุคคลนั้นก็สมควรจะต้องรับความทุกข์ทรมานให้สาสมกับสิ่งที่ตนกระทำ หากผู้เสียหายต้องทนทุกข์ทรมานจากการกระทำของบุคคลนั้นเพียงใด บุคคลผู้กระทำความผิดก็สมควรต้องประสบเคราะห์กรรมในระดับที่ใกล้เคียงกัน
2.กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อป้องปรามความผิด
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อป้องปรามความผิด (Deterrence) เป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดซึ่งทำให้บุคคลนั้นต้องได้รับความทุกข์ไม่ว่าในเชิงทรัพย์สิน เสรีภาพ หรือชีวิตร่างกาย ย่อมจะส่งผลประการหนึ่ง คือ การทำให้บุคคลนั้นต้องยั้งคิดมากขึ้นว่า หากตนคิดจะกระทำความผิดอีกในอนาคต อาจจะมีผลให้ตนเองต้องได้รับความทุกข์ทรมานของการต้องโทษทางอาญาอีก ทำให้บุคคลที่เกิดความยั้งคิดเหล่านี้เกิดความยับยั้งชั่งใจและอาจจะไม่กระทำความผิดซ้ำอีกในอนาคต นอกจากนั้นการลงโทษผู้กระทำความผิดอาญารายหนึ่ง ยังเป็นการส่งสัญญาณไปยังบุคคลอื่นในสังคมอีกด้วย คือ หากบุคคลอื่นๆเหล่านั้น คิดที่จะกระทำความผิดในลักษณะเดียวกันอีก อาจจะเป็นเหตุให้บุคคลอื่นๆเหล่านั้นต้องรับโทษในลักษณะเช่นเดียวกับผู้ที่ได้รับโทษไปแล้ว การลงโทษผู้กระทำความผิดรายหนึ่งจึงเปรียบเสมือน “ตัวอย่าง” ของผู้กระทำความผิดที่ต้องรับโทษชดใช้ความผิดที่ตนก่อ ซึ่งอาจจะทำให้บุคคลอื่นที่คิดจะทำสิ่งที่คล้ายกันอาจจะยับยั้งชั่งใจไม่กระทำความผิดในลักษณะเดียวกัน
3.กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อกันผู้กระทำความผิดออกจากสังคม
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อกันผู้กระทำความผิดออกจากสังคม (Incapacitation) เป็นการลงโทษผู้กระทำความผิด เช่น การจำคุกในลักษณะลงโทษต่อเสรีภาพของบุคคล ทำให้บุคคลที่ต้องรับโทษนั้นไม่สามารถไปกระทำการต่างๆได้ตามปกติที่บุคคลนั้นอาจจะต้องกระทำหากตนไม่ต้องรับโทษอยู่ มีผลที่ตามมาคือ
1)ทำให้บุคคลที่ต้องรับโทษปราศจากเสรีภาพ ต้องรับทุกข์ทรมานจากการที่ต้องทนอยู่ในบริเวณจำกัด อยู่ในสภาพที่ไม่สุขสบายเช่นที่ตามปกติตนใช้ชีวิตอยู่และไม่สามารถทำสิ่งต่างๆได้ตามที่ตนต้องการ
2)บุคคลเหล่านี้จะไม่สามารถไปทำความผิดและสร้างความเดือดร้อนเสียหายให้แก่ชุมชนหรือสังคมได้อีก ในระหว่างที่ตนต้องถูกทำให้ปราศจากเสรีภาพตามปกติ
การกันบุคคลที่มีโอกาสจะก่อให้เกิดอันตรายนี้ออกจากชุมชนหรือสังคม จึงเป็นหลักประกันประการหนึ่งที่กระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลักจะให้แก่ชุมชนหรือสังคมได้ ว่าจะไม่ได้รับอันตรายหรือความเดือดร้อนจากการกระทำของบุคคลเหล่านั้นอีก อย่างน้อยก็ในช่วงระยะเวลาที่บุคคลเหล่านั้นถูกทำให้ปราศจากเสรีภาพอยู่ จะทำให้ชุมชนหรือสังคมมีความปลอดภัยขึ้นมาบ้างตามสัดส่วนของบุคคลที่มีแนวโน้มจะก่อให้เกิดอันตรายที่ถูกทำให้ปราศจากเสรีภาพเหล่านี้
4.กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อแก้ไขฟื้นฟู
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อแก้ไขฟื้นฟู (Rehabilitation) เป็นแนวคิดที่มีต่อมนุษย์ด้วยกัน มองว่าบุคคลผู้กระทำความผิดเป็นผู้ที่ชั่วร้าย ซึ่งอาจจะเป็นมาแต่กำเนิดหรือโดยสันดานของบุคคลเหล่านี้ ซึ่งเป็นลักษณะที่ไม่อาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงใดๆได้ แต่อีกส่วนหนึ่งมองว่ามนุษย์โดยรากเหง้าตามธรรมชาติ ไม่ได้เป็นผู้ที่ชั่วร้ายมาแต่กำเนิด ลักษณะโดยสันดานหรือการกระทำต่างๆเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาภายหลัง อาจจะขึ้นอยู่กับภูมิหลัง สภาพแวดล้อม สถานะทางเศรษฐกิจ การศึกษา หรือการเลี้ยงดูหรือแม้แต่สภาพสังคมที่บุคคลนั้นอาศัยอยู่ การที่บุคคลหนึ่งเป็นผู้กระทำความผิดอาญา จึงไม่ได้หมายความว่าบุคคลนั้นจะต้องเป็นเช่นนั้นตลอดไป หากมีกระบวนการที่เหมาะสมและเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านี้แก้ไขปรับปรุงตนเอง บุคคลเหล่านี้อาจจะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองจากผู้กระทำความผิดอาญาให้กลายเป็นบุคคลที่สามารถใช้ชีวิตและประกอบอาชีพในชุมชนและสังคมได้
สรุปได้ว่ากระบวนยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก (Main Stream Criminal Justice) หรือกระบวนการยุติธรรมทางอาญาปกติเป็นการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐที่มุ่งเน้นการลงโทษ คือ การนำตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษโดยมุ่งผลการแก้แค้นทดแทนต้องการสร้างความข่มขู่ยับยั้งและต้องการตัดโอกาสไม่ให้ผู้กระทำความผิดได้กระทำอีก เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ไม่ได้มีวัตถุประสงค์หลักที่จะเยียวยาหรือฟื้นฟูให้กับผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรม จึงทำให้ไม่เป็นธรรมแก่ผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรมเท่าใดนัก และที่สำคัญกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลักนั้นเน้นไปทางพิจารณาคดีขึ้นสู่ศาลทำให้คดีล้นศาลและเน้นแต่ลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างเดียวเป็นภาระของรัฐที่ต้องดูแล