雖然這篇Fileupload size鄉民發文沒有被收入到精華區:在Fileupload size這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 fileupload產品中有15篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, ผู้สนับสนุน.. กรณีศึกษา การปรับตัวและยกระดับอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาล สู่ BCG Economy ด้วยนวัตกรรมของมิตรผล รู้หรือไม่ น้ำตาลเป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที...
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過36萬的網紅iLoveToGoDotCOM,也在其Youtube影片中提到,อ่านรายละเอียดเต็มๆ ที่นี่ค่า http://www.ilovetogo.com/Article/82/2429/Buffet-Chatuchak-Cafe-Sofitel-Centara-Grand พากิน Sunday Brunch ที่ จตุจักร ...
-
fileupload 在 iLoveToGoDotCOM Youtube 的精選貼文
2011-05-04 05:43:47อ่านรายละเอียดเต็มๆ ที่นี่ค่า http://www.ilovetogo.com/Article/82/2429/Buffet-Chatuchak-Cafe-Sofitel-Centara-Grand
พากิน Sunday Brunch ที่ จตุจักร คาเฟ่ บุฟเฟ่ต์โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทาราแกรนด์ ลาดพร้าว.. Let's enjoy eating at Sunday Brunch Buffet at Sofitel Centara Grand Ladprao.
ราคาปกติ 1,190++ สำหรับผู้ใหญ่, เด็ก 6-12 ขวบลดครึ่งราคา เด็กต่ำกว่า 6 ขวบฟรีค่ะ
เวลา 12.00-15.00
Promotion ลด 20% ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 Download ตาม Link นี้ได้ค่ะ
http://www.ilovetogo.com/FileUpload/Editor/DocumentUpload/WebContent/ChatuchakSundayBrunchPro_exp31-05-11.pdf
fileupload 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ผู้สนับสนุน..
กรณีศึกษา การปรับตัวและยกระดับอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาล สู่ BCG Economy ด้วยนวัตกรรมของมิตรผล
รู้หรือไม่ น้ำตาลเป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศ
โดยไทยถือเป็นผู้ส่งออกน้ำตาลมากสุดอันดับ 2 ของโลก
คิดเป็น 11.6% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด
อย่างไรก็ตามหากดูข้อมูลการผลิตอ้อยที่เข้าสู่กระบวนการทางอุตสาหกรรมย้อนหลังของไทย
ปี 2559 94 ล้านตัน
ปี 2560 92 ล้านตัน
ปี 2561 134 ล้านตัน
และล่าสุดในปี 2562 130 ล้านตัน
จะเห็นได้ว่าปริมาณผลผลิตอ้อยในแต่ละปีมีความไม่แน่นอน
ซึ่งเรื่องนี้ก็มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ตั้งแต่สถานการณ์ภัยแล้ง น้ำท่วม ไปจนถึงราคาอ้อยที่ผันผวนที่อาจทำให้เกษตรกรหันไปปลูกพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ในส่วนของน้ำตาลเองก็มีความผันผวนด้านราคาในตลาดโลกเช่นเดียวกัน
และยังมีปัญหาจากการเผาอ้อยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
พอเรื่องเป็นแบบนี้ กลุ่มมิตรผล จึงได้เล็งเห็นและก่อตั้งศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยขึ้นที่ อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ ในปี พ.ศ. 2540
เนื่องจากกลุ่มมิตรผลมองเห็นความสำคัญของอ้อย ซึ่งเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ และมีศักยภาพสามารถนำไปต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้สินค้าได้ ด้วยการนำนวัตกรรมมาใช้ในการดึงประโยชน์จากอ้อย น้ำตาล และสิ่งที่เหลืออยู่ในกระบวนการผลิตน้ำตาลให้ได้ประโยชน์มากที่สุด
โดยเฉพาะการนำไปผ่านกระบวนการทางชีวภาพ (Biorefinery) เพื่อแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้น
ซึ่งเรื่องนี้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 3 มิติ BCG ของรัฐบาลไทย
ที่เน้นเกี่ยวกับ เศรษฐกิจฐานชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว
ปัจจุบัน ศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมิตรผล ดำเนินงานวิจัยที่หลากหลายตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ด้วยทีมนักวิจัย 70 คน และงบประมาณสนับสนุนปีละกว่า 250 ล้านบาท
นอกจากนั้นยังมีการทำงานร่วมกับองค์กรชั้นนำ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐอย่าง กระทรวงเกษตร, กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม, กระทรวงพาณิชย์, กระทรวงอุตสาหกรรม ไปจนถึงภาคเอกชน อย่างบริษัทชั้นนำระดับโลก เช่น IBM
โดยศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมีการรองรับงานทั้งหมด 4 สาขา
1. งานวิจัยด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการไร่อ้อยสมัยใหม่ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาพันธุ์อ้อยที่มีศักยภาพ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและ AI เพื่อการทำเกษตรแบบแม่นยำ
2. งานวิจัยด้านการเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำตาล ผ่านการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำตาลให้มีประสิทธิภาพ และทันสมัยตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค เช่น น้ำตาลเพื่อสุขภาพ
3. งานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต โดยเน้นการแปรรูปเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Circular Economy) ต่อยอดสู่ธุรกิจใหม่ในด้านเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio-economy) และเพิ่มการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Economy)
4. ศูนย์ข้อมูลงานวิจัยระดับโลก ซึ่งรวบรวมข้อมูลการวิจัยและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทั้งการร่วมมือระหว่างองค์กร เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ
ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่าศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมิตรผล ต้องการผลักดันให้เกิดการต่อยอดเพิ่มมูลค่า เพื่อสร้างความมั่นคงและยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล
ช่วยให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันกับนานาชาติได้อย่างมีเสถียรภาพมากขึ้น
โดยเน้นที่การวิจัยและพัฒนาเป็นหลัก ซึ่งจะยั่งยืนกว่าการแข่งขันด้วยราคา
อ่านมาถึงตรงนี้เราคงจะเห็นแล้วว่า การวิจัยและพัฒนาของมิตรผล ส่งผลดีทั้งชาวไร่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ
ภาคเกษตรกรรม ผ่านการส่งเสริมให้ชาวไร่มีอาชีพที่มั่นคงและรายได้ที่ดีขึ้น
ภาคเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ
ภาคสังคม ผ่านการนำเสนอสินค้าที่มีคุณภาพ
รวมถึงด้านสิ่งแวดล้อม โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำเกษตร ลดการเผาอ้อย และกระบวนการผลิตที่เน้นการแปรรูปเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ และลดของเสียให้ได้มากที่สุด
ซึ่งทั้งหมดนี้ ถือเป็นกุญแจสำคัญในการสร้างคุณค่าให้แก่ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน..
อ่านบทความนี้บนเว็บไซต์ได้ที่ www.longtunman.com/20478
References:
-http://www.ocsb.go.th/upload/journal/fileupload/923-3254.pdf
-https://www.khaosod.co.th/economics/news_2538870
-http://www.worldstopexports.com/sugar-exports-country/
fileupload 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
ผู้สนับสนุน..
กรณีศึกษา การปรับตัวและยกระดับอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาล สู่ BCG Economy ด้วยนวัตกรรมของมิตรผล
รู้หรือไม่ น้ำตาลเป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศ
โดยไทยถือเป็นผู้ส่งออกน้ำตาลมากสุดอันดับ 2 ของโลก
คิดเป็น 11.6% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด
อย่างไรก็ตามหากดูข้อมูลการผลิตอ้อยที่เข้าสู่กระบวนการทางอุตสาหกรรมย้อนหลังของไทย
ปี 2559 94 ล้านตัน
ปี 2560 92 ล้านตัน
ปี 2561 134 ล้านตัน
และล่าสุดในปี 2562 130 ล้านตัน
จะเห็นได้ว่าปริมาณผลผลิตอ้อยในแต่ละปีมีความไม่แน่นอน
ซึ่งเรื่องนี้ก็มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ตั้งแต่สถานการณ์ภัยแล้ง น้ำท่วม ไปจนถึงราคาอ้อยที่ผันผวนที่อาจทำให้เกษตรกรหันไปปลูกพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ในส่วนของน้ำตาลเองก็มีความผันผวนด้านราคาในตลาดโลกเช่นเดียวกัน
และยังมีปัญหาจากการเผาอ้อยที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
พอเรื่องเป็นแบบนี้ กลุ่มมิตรผล จึงได้เล็งเห็นและก่อตั้งศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยขึ้นที่ อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ ในปี พ.ศ. 2540
เนื่องจากกลุ่มมิตรผลมองเห็นความสำคัญของอ้อย ซึ่งเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศ และมีศักยภาพสามารถนำไปต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้สินค้าได้ ด้วยการนำนวัตกรรมมาใช้ในการดึงประโยชน์จากอ้อย น้ำตาล และสิ่งที่เหลืออยู่ในกระบวนการผลิตน้ำตาลให้ได้ประโยชน์มากที่สุด
โดยเฉพาะการนำไปผ่านกระบวนการทางชีวภาพ (Biorefinery) เพื่อแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้น
ซึ่งเรื่องนี้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 3 มิติ BCG ของรัฐบาลไทย
ที่เน้นเกี่ยวกับ เศรษฐกิจฐานชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว
ปัจจุบัน ศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมิตรผล ดำเนินงานวิจัยที่หลากหลายตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ด้วยทีมนักวิจัย 70 คน และงบประมาณสนับสนุนปีละกว่า 250 ล้านบาท
นอกจากนั้นยังมีการทำงานร่วมกับองค์กรชั้นนำ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐอย่าง กระทรวงเกษตร, กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม, กระทรวงพาณิชย์, กระทรวงอุตสาหกรรม ไปจนถึงภาคเอกชน อย่างบริษัทชั้นนำระดับโลก เช่น IBM
โดยศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมีการรองรับงานทั้งหมด 4 สาขา
1. งานวิจัยด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการไร่อ้อยสมัยใหม่ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาพันธุ์อ้อยที่มีศักยภาพ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและ AI เพื่อการทำเกษตรแบบแม่นยำ
2. งานวิจัยด้านการเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์น้ำตาล ผ่านการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำตาลให้มีประสิทธิภาพ และทันสมัยตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค เช่น น้ำตาลเพื่อสุขภาพ
3. งานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต โดยเน้นการแปรรูปเพื่อให้เกิดการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Circular Economy) ต่อยอดสู่ธุรกิจใหม่ในด้านเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bio-economy) และเพิ่มการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Economy)
4. ศูนย์ข้อมูลงานวิจัยระดับโลก ซึ่งรวบรวมข้อมูลการวิจัยและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รวมทั้งการร่วมมือระหว่างองค์กร เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ
ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นว่าศูนย์นวัตกรรมและการวิจัยมิตรผล ต้องการผลักดันให้เกิดการต่อยอดเพิ่มมูลค่า เพื่อสร้างความมั่นคงและยกระดับศักยภาพอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาล
ช่วยให้ประเทศไทยสามารถแข่งขันกับนานาชาติได้อย่างมีเสถียรภาพมากขึ้น
โดยเน้นที่การวิจัยและพัฒนาเป็นหลัก ซึ่งจะยั่งยืนกว่าการแข่งขันด้วยราคา
อ่านมาถึงตรงนี้เราคงจะเห็นแล้วว่า การวิจัยและพัฒนาของมิตรผล ส่งผลดีทั้งชาวไร่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศ
ภาคเกษตรกรรม ผ่านการส่งเสริมให้ชาวไร่มีอาชีพที่มั่นคงและรายได้ที่ดีขึ้น
ภาคเศรษฐกิจ โดยการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ
ภาคสังคม ผ่านการนำเสนอสินค้าที่มีคุณภาพ
รวมถึงด้านสิ่งแวดล้อม โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำเกษตร ลดการเผาอ้อย และกระบวนการผลิตที่เน้นการแปรรูปเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ และลดของเสียให้ได้มากที่สุด
ซึ่งทั้งหมดนี้ ถือเป็นกุญแจสำคัญในการสร้างคุณค่าให้แก่ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน..
อ่านบทความนี้บนเว็บไซต์ได้ที่ www.longtunman.com/20478
References:
-http://www.ocsb.go.th/upload/journal/fileupload/923-3254.pdf
-https://www.khaosod.co.th/economics/news_2538870
-http://www.worldstopexports.com/sugar-exports-country/
fileupload 在 林秉君 Facebook 的最佳貼文
浪漫臺三線 暢遊竹縣應該更大器
今天秉君上午參加縣府的記者會,因為臺三線的觀光是重大政策!
但發現整個遊程只有3條路線(是我眼花嗎?),並且1天的遊程,每人收費1100元(1000元限定新竹民眾,但我們應該要吸引外地遊客)
秉君不禁憂心,我們新竹縣在台三線地區應該不只這些遊憩點!
再者,本案預算規模超過250萬元,雖然遊程的收費價格是1600元,補貼之後還要民眾花費超過1000元進行所謂的1日遊?
其次,秉君認真查閱了交通部觀光局統計國人平均國內消費不到1500元,這次的遊程費用原單價高於國內消費的平均價格,也表示在成本估算是否合理的問題?
相關業務單位在執行預算的細節上,必須更加謹慎,不能陷縣長於不義!
因為,我們楊縣長上任之後,致力推動觀光產業,藉由觀光捲動經濟乘數效益:加碼補助500元住房,共1200間,就是最好的例證。
#觀光行銷科要加油
#250萬一下花光光
#台3線不能只有3條路線
http://www.lrm.chu.edu.tw/hsinchu_travel/?page_id=1365
https://admin.taiwan.net.tw/FileDownLoad/FileUpload/20180807101024524329.pdf