[爆卦]Ecclesiastical wiktionary是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Ecclesiastical wiktionary鄉民發文沒有被收入到精華區:在Ecclesiastical wiktionary這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 ecclesiastical產品中有9篇Facebook貼文,粉絲數超過3萬的網紅馮智政,也在其Facebook貼文中提到, //“It is impossible [to announce Choy],” the senior official close to the selection process in Rome told CNA this week. “After the comments of [Cardin...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

  • ecclesiastical 在 馮智政 Facebook 的精選貼文

    2020-07-26 00:28:07
    有 52 人按讚

    //“It is impossible [to announce Choy],” the senior official close to the selection process in Rome told CNA this week. “After the comments of [Cardinal] Tong and the protests, the faithful would never accept it - it would appear an act of support for the laws by the Holy Father.”//

  • ecclesiastical 在 Focus Taiwan Facebook 的精選貼文

    2020-07-19 13:00:33
    有 226 人按讚


    Taiwan's relations with the #Vatican are unlikely to be affected by upcoming negotiations between the ecclesiastical state and Beijing regarding an expiring bishop appointment agreement, according to new Taipei Archbishop Chung An-chu (鍾安住).
    https://focustaiwan.tw/politics/202007180014

  • ecclesiastical 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文

    2020-04-30 17:55:54
    有 19 人按讚

    กฎหมายของชาวโรมัน : รากฐานระบบกฎหมายซิวิลลอว์
    หมายเหตุ เรื่องนี้เคยลงเผยแพร่มาแล้ว ครั้งหนึ่ง ในปี 2558
    กฎหมายของชาวโรมัน (Roman Law) ที่มีอิทธิพลต่อกฎหมายปัจจุบันและมักนำมากล่าวกันอยู่สมอได้แก่ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables) และประมวลกฎหมายจัสเตียน (The Justinian Code)

    1.1 กฎหมายสิบสองโต๊ะ

    กฎหมายสิบสองโต๊ะ อาณาจักรโรมัน ได้ถูกก่อตั้งขึ้น เมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราช และได้กลายเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทางอารยธรรมของทวีปยุโรปในระยะต่อมาในส่วนที่เกี่ยวกับความเจริญทางด้านกฎหมายนั้น ก็ได้มีวิวัฒนาการอย่างกว้างขวางและสอดคล้องกับรูปการปกครองของอาณาจักรโรมันในขณะนั้น เช่นบทบัญญัติแห่งกฎมายที่ตราขึ้นโดย Comitia Centuriata เรียกว่า “lex” ส่วนกฎหมายที่บัญญัติโดย Concilium Plebis เรียกว่า “Plebiscitum” แต่ในบางกรณีการใช้ถ้อยคำอาจเปลี่ยนไป เช่นเรียกว่า “lege” เป็นต้น
    บทบัญญัติของกฎหมายในรูปต่างๆ ดังกล่าวแล้ว มีความสำคัญต่อวิวัฒนาการของกฎหมายโรมันในยุคแรกพอสมควร แต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายซึ่งมีความสำคัญและรู้จักกันอย่างกว้างขวางได้แก่กฎหมายสิบสองโต๊ะ เพราะได้จัดทำขึ้นโดยการรวบรวมกฎหมายที่ใช้อยู่ให้รวมเข้าเป็นหมวดหมู่ในรูปของประมวลตั้งแต่ปี450 ก่อนคริสต์ศักราชและกล่าวไว้ว่ากฎหมายสิบสองโต๊ะนับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกฎหมายโรมันที่แท้จริงและทำให้กฎหมายลายลักษณ์อักษรเริ่มมีคุณค่าเหนือกว่าจารีตประเพณีซึ่งยังคงมีความสำคัญอยู่มากในสมัยก่อน เหตุที่มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะขึ้น เนื่องมาจากสมัยนั้นการบัญญัติกฎหมายและการใช้กฎหมายตกอยู่ในมือของพวกคนชั้นสูง ที่เรียกว่าพวก Patricians แต่เนื่องด้วยพวกชนชั้นสูงนี้เป็นเพียงชนกลุ่มน้อย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้อยู่ก่อนหน้านั้นเป็นที่รับรู้กันในหมู่ชนกลุ่มน้อยเท่านั้น แต่ชนชั้นกลางหรือพวก Plebeians ซึ่งเป้นชนกลุ่มใหญ่ไม่ได้ล่วงรู้ถึงบทบัญญัติปห่งกฎหมายที่มีผลใช้บังคับอยู่ในขณะนั้นเลย ดังนั้นพวก Plebeians จึงขอร้องให้มีการจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ที่มีลักษณะแน่นอน มีหลักฐานเพื่อสามารถเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปรับรู้และปฏิบัติตาม
    ดังนั้นในปี 452 ก่อนคริสต์ศักราช จึงมีการส่งผู้แทน 3คน ไปยังประเทศกรีซ เพื่อศึกษากฎหมายของ Solon ที่เรียกว่า “Solon’s Code of Laws ซึ่งมีชื่อเสียงมากในขณะนั้นเพื่อเป็นแบบอย่างในการจัดทำกฎหมายโรมัน ภายหลังที่คณะผู้แทนคณะนี้ได้เดินทางกลับถึงกรุงโรม ได้มีการแต่งตั้งบุคคลคณะหนึ่งจำนวนสิบคน ซึ่งประกอบด้วยพวก Patricians เป็นผู้จัดทำกฎหมายขึ้น โดยการจารึกไว้บนบรอนซ์จำนวน 10 โต๊ะ
    ในปี 451 ก่อนคริสต์ศักราช และได้รับการรับรองโดยสภา Senate และ Comitia Centuriata ในระยะต่อมา
    ในปี 450 ก่อนคริสต์ศักราช ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการอีกคณะหนึ่ง จำนวน 3 คน ซึ่งเลือกจากพวก Plebeians ให้ทำหน้าที่จัดทำกฎหมายเพิ่มเติมอีก 2 โต๊ะ เมื่อรวมกับที่ได้จัดทำไว้แล้ว 10 โต๊ะ จึงมีจำนวนทั้งสิ้น 12 โต๊ะ และรู้จักกันอย่างแพร่หลายในนามของกฎหมายสิบสองโต๊ะ (The Twelve Tables หรือ Lex Xll Tabularum)
    เป็นที่น่าเสียดายที่กฎหมายทั้งสิบสองโต๊ะได้ถูกทำลายในปี 390 ก่อนคริสต์ศักราช อันเนื่องมาจากชาวโรมถูกชาวโกล( Gauls) รุกราน และโรมเองถูกเผาโดยผู้รุกรานนี้ ทำให้กฎหมายสิบสองโต๊ะถูกเผาทำลายไปด้วย และม่เป็นที่เชื่อได้อย่างแน่นอนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายสิบสองโต๊ะที่ศึกษาอยู่ในภายหลังจะถูกต้องหรือไม่
    เมื่อพิจารณาถึงสาระสำคัญของกฎหมายสิบสองโต๊ะปรากฏตามหลักฐานที่ได้บัญญัติขึ้นจะพบว่ามีสาระสำคัญดังนี้
    โต๊ะที่ 1,2และ 3 ได้แก่ วิธีพิจารณาความแพ่งและการบังคับคดี (Civil Procedure and Excution)
    โต๊ะที่ 4 ได้แก่ อำนาจอิสระของบิดา (Patria Potestas)
    โต๊ะที่ 5,6,7 ได้แก่ อำนาจปกครอง มรดก ทรัพย์สิน (Guardianship,Inheritance and Property)
    โต๊ะที่ 8 ได้แก่ การลงโทษทางอาญา (Crimes)
    โต๊ะที่ 9 ได้แก่ กฎหมายมหาชน (Public Law)
    โต๊ะที่ 10 ได้แก่ กฎหมายศักดิ์ (Sacred Law)
    โต๊ะที่ 11,12 ได้แก่ กฎหมายเพิ่มเติม (Suplementary Laws)

    1.2 ประมวลกฎหมายจัสติเนียน

    หลังจากได้มีการจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะ ของชาวโรมันก่อน 753 ปี คริสต์ศักราช และได้ถูกพวกชาวโกลได้เผาทำลายไปในยุคต่อมาได้ทำมีการจัดทำกฎหมายขึ้นอีกหลายฉบับ เช่น Edictum โย Savius Julianus ในปี ค.ศ. 130 Codex Gregorianus โดย Gregorianus ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 3 Codex Theodosianus โดย Emperor ในปี ค.ศ. 435 กฎหมายฉบับนี้มี 16 บรรพ มีทั้งเรื่อง กฎหมายเอกชน (Private Law) กฎหมายมหาชน (Public Law) กฎหมายอาญา (Criminal Law) กฎหมายเทศบาล (Municipal) กฎหมายทหาร (Military) และกฎหมายศาสนา (Ecclesiastical Law) แต่อย่างไรก็ตาม กฎหมายที่มีความสำคัญและเป็นแบบอย่างแก่กฎหมายของภาคพื้นยุโรปใน คริสต์ศตวรรษที่ 12-13 คือ ประมวลกฎหมายจัสติเนียน (The Justinian Code) จัดทำโดย Emperor Justinian ในประมาณปี ค.ศ. 528-529 และมีชื่อเรียกในภายหลังว่า “Copus Juris Civilis” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายแม้กระทั่งในปัจจุบัน เพราะการจัดทำและรวบรวมกฎหมายขึ้นในรูป Code ของจัสติเนียน จึงทำให้กฎหมายโรมันมีความแน่นอนและมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้สามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง รวมทั้งนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางและทำให้กฎหมายที่ใช้อยู่ดั้งเดิมในยุคเก่าหมดสิ้นความหมายลงไปด้วย
    ความเป็นมาของ“Copus Juris Civilis” ในปี คศ.528 จัสติเนียนได้มีความประสงค์ให้คนในอาณาจักรโรมัน พูดภาษาเดียวกัน นับถือศาสนาเดียวกันและใช้กฎหมายเดียวกัน จึงได้แต่งตั้งกรรมการคณะหนึ่งจำนวน 10 คน นำโดย Tribonian ซึ่งเป็นนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงในขณะนั้นเป็นประธานให้มีหน้าที่รวบรวมและจัดทำกฎหมายขึ้นใหม่ จนในที่สุดสามารถประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ในปี ค.ศ. 529 .ในปี ค.ศ. 530 จัสติเนียนได้มอบให้ Tribonian จัดทำกฎหมายขึ้นใหม่อีกครั้งให้มีลักษณะกว้างขวางสามารถใช้บังคับทั่วๆไป มีคณะกรรมการจำนวน 16 คน คณะกรรมการชุดนี้ใช้เวลา 3 ปี ได้จัดทำกฎหมายขึ้น 2,000 บรรพ (book) ขนาด -3,000,000 บรรทัด แต่ในที่สุดถูกตัดทอนลงเหลือ 150,000 บรรทัดและได้ประกาศใช้เป็นกฎหมายในปี ค.ศ. 533

    วิเคราะห์อิทธิพลของกฎหมายโรมันในยุโรปและประเทศอื่นๆทั่วโลก

    เมื่อพิจารณาศึกษาถึงบรรดาประเทศต่างๆ ในยุโรปจะมีกฎหมายของตนเองใช้อยู่แล้วก็ตาม แต่กฎหมายของประเทศเหล่านั้นก็ไม่ใช่เป็นกฎหมายประจำชาติที่สามารถนำไปใช้บังคับได้ทั้งประเทศ กล่าวคือ ยังคงเป็นกฎหมายจารีตประเพณีหรือกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ใช้บังคับได้เฉพาะถิ่นนั้นๆ เท่านั้น ดังนั้นกฎหมายโรมันจึงเป็นประโยชน์แก่ประเทศต่างๆเหลานี้มาก เพื่อนำไปอุดช่องโหว่ หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างกฎหมายท้องถิ่นต่างๆ รวมทั้งนำไปเป็นแบบอย่างในการบัญญัติกฎหมายต่อไปด้วย
    แต่การยอมรับกฎหมายโรมันไปใช้เป็นไปในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือในยุโรปภาคใต้ได้แก่ อิตาลี สเปน และภาคใต้ของฝรั่งเศส ได้รับกฎหมายโรมันไปใช้โดยไม่มีปัญหามากมายนัก เพราะเป็นประเทศที่ใช้กฎหมายลายลักษณ์อักษรอยู่แล้ว แต่ในยุโรปตอนเหนือ การยอมรับกฎหมายโรมันเป็นไปอย่างช้าๆ เพราะประเทศเหล่านี้ต่างมีจารีตประเพณีของตนเองอยู่แล้ว เช่น เยอรมัน และเนเธอร์แลนด์ แต่ในที่สุดก็ได้รับอิทธิพลของกฎหมายโรมันไปใช้ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่สิบห้า และการยอมรับนี้เป็นไปโดยสมบูรณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เช่นเดียวกับภาคเหนือของฝรั่งเศส
    ในระยะต่อมาเมื่อประเทศต่างๆ ได้จัดทำกฎหมายของตนขึ้นตามแบบใหม่ ประมวลกฎหมายเหล่านี้ต่างก็รับเอาอิทธิพลของกฎหมายโรมันเป็นหลัก หรือเป็นแนวทางในการจัดทำกฎหมายประจำชาติ เช่น ในการจัดทำกฎหมายบาวาเรีย (Bavaria) ในปี ค.ศ.๑๗๕๖และประมวลกฎหมายปรัสเซีย (Prussia) ในปี ค.ศ. ๑๗๙๔ แต่ประมวลกฎหมายที่มีความสำคัญอย่างยิ่งได้แก่ประมวลกฎหมายนโปเลียน ในปี ค.ศ. 1804 เพราะประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้มีอิทธิพลในประเทศต่างๆมาก เช่น ฮอลันดา สเปน อิตาลี เบลเยี่ยม หลุยเซียนา ควิเบก อียิปต์ และประเทศต่างๆในอเมริกาใต้ ซึ่งเหมือนกับว่ากฎหมายโรมันได้แผ่อิทธิพลเข้าไปในประเทศต่างๆ เหล่านี้ด้วย
    สำหรับประเทศเยอรมนี แม้ว่าจะได้รับอิทธิพลมาจากประมวลกฎหมายนโปเลียนอย่างมากก็จริง ในฐานะต้นสกุลกฎหมาย โรมาโน-เยอรมานิค แต่เนื่องด้วยอิทธิพลของ Savigny (1779-1861) นักนิติศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงของประเทศเยอรมนี จึงไม่ได้ยอมรับเอาประมวลกฎหมายนโปเลียนไปใช้เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่กล่าวมาแล้ว แต่ได้ศึกษากฎหมายโรมันอย่างกว้างขวาง ในที่สุดได้มีการจัดทำประมวลกฎหมายเยอรมันขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ซึ่งกล่าวได้ว่าประมวลกฎหมายฉบับนี้ได้รับอิทธิพลของกฎหมายโรมันมากกว่าประมวลกฎหมายฝรั่งเศส และในที่สุดประมวลกฎหมายเยอรมันได้ถูกใช้เป็นแบบอย่างในการจัดทำประมวลกฎหมายของญี่ปุ่น และบราซิล รวมทั้งมีอิทธิพลต่อประมวลกฎหมายของสวิสด้วย

  • ecclesiastical 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:19:08

  • ecclesiastical 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:10:45

  • ecclesiastical 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:09:56