[爆卦]CAMELS rating是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇CAMELS rating鄉民發文沒有被收入到精華區:在CAMELS rating這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 camels產品中有90篇Facebook貼文,粉絲數超過4,447的網紅摳媽與摳比,也在其Facebook貼文中提到, 環遊世界繪本 可愛動物篇 🎋免洗筷別丟·一起來餵熊貓🎋 製作影片這裡看 https://www.instagram.com/p/CRl4-HQqMY2/?utm_medium=copy_link 與Kobe共讀環遊世界立體繪本:可愛動物 我們聊著在世界各地代表性的動物 🐻‍❄️北極的北極熊(先前...

 同時也有6部Youtube影片,追蹤數超過82萬的網紅Filllykung,也在其Youtube影片中提到,Download: https://www.curseforge.com/minecraft/mc-mods/camels ✦ Subscribe บน YouTube : http://goo.gl/eSCxYc ✦ ติดตาม IG: https://www.instagram.com/fi...

camels 在 Jada Poon l Photographer Instagram 的最佳解答

2021-08-17 15:06:38

#1 lifestyle change that will change your life As I have previously shared, I have been experiencing some health challenges earlier this year. Thank ...

  • camels 在 摳媽與摳比 Facebook 的精選貼文

    2021-07-21 22:26:39
    有 26 人按讚

    環遊世界繪本 可愛動物篇
    🎋免洗筷別丟·一起來餵熊貓🎋

    製作影片這裡看
    https://www.instagram.com/p/CRl4-HQqMY2/?utm_medium=copy_link

    與Kobe共讀環遊世界立體繪本:可愛動物
    我們聊著在世界各地代表性的動物
    🐻‍❄️北極的北極熊(先前活動:北極考古鑿冰遊戲)
    Polar bears in Arctic
    🐧南極的企鵝
    Penguins in Antarctica
    🦒非洲的長頸鹿
    Giraffes in Africa
    🦘澳洲的袋鼠
    Kangaroos in Australia
    🐫埃及的駱駝(活動:認識埃及古文明)
    Camels in Egypt
    🐼中國的熊貓
    Pandas in China
    ⬇️⬇️⬇️
    剛好吃便當遺留下的免洗竹筷💡
    誒~熊貓不就是吃竹子嗎?
    開始著手跟Kobe做竹子bamboo~
    🎋🎋🎋🎋🎋🎋🎋🎋🎋🎋🎋
    材料
    免洗筷chopsticks
    水彩watercolor
    紙paper
    剪刀scissors
    白膠glue

    水彩上綠色在筷子上 趁濕濕的時候硬壓在紙上
    除了可以「做出」立體竹子還可以「畫出」竹子喔~

    把繪本讀得淋淋盡致 邊玩美術邊共讀
    摳媽咪華碩立體繪本開團之一
    網頁裡還有更多超棒的書籍
    真心推薦幫孩子好好挑選幾本 😊
    🛒🛒 https://meim.ai/96ee14

    👩‍🏫摳媽咪玩英文線上1對1
    週一 早上10:00 一名 下午14:00(🈵️)
    週三(🈵️)
    週六 早上10:00一名 下午14:00一名
    不拿筆 從玩中學美語

  • camels 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文

    2021-06-02 20:00:01
    有 1,288 人按讚

    “อูฐ” แนวทางสตาร์ตอัปช้าแต่ชัวร์ ขั้วตรงข้ามยูนิคอร์น /โดย ลงทุนแมน
    หนึ่งในการวัดความสำเร็จของสตาร์ตอัป นั่นก็คือการได้เป็น “ยูนิคอร์น”
    หรือการที่บริษัท ได้รับการประเมินมูลค่าตั้งแต่ 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
    หรือราว 3 หมื่นล้านบาทขึ้นไป

    ยูนิคอร์นได้กลายเป็นเป้าหมายของเหล่าสตาร์ตอัป
    โดยบริษัทเหล่านี้ต้องมีนวัตกรรมโดดเด่นมากพอ เพื่อดึงดูดนักลงทุน
    เพราะยิ่งบริษัทได้เงินทุนมาก ก็ยิ่งเร่งการเติบโตของธุรกิจ
    ให้เร็วขึ้นและบริษัทก็มีมูลค่าเพิ่มขึ้นตามไปด้วย

    แม้ว่าจะเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แต่สตาร์ตอัปส่วนใหญ่เติบโตมาจากผลการขาดทุนมหาศาล
    แต่ก็เป็นสิ่งที่นักลงทุนรับได้ เพราะความสามารถในการทำกำไร ยังไม่สำคัญเท่าความเร็วในการเติบโต

    แม้แนวทางแบบนี้จะใช้กันเป็นเรื่องปกติมานาน
    แต่ในปีที่ผ่านมา ภาวะสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ได้ทำให้นักลงทุนรวมถึงผู้ประกอบการ
    มองว่าแนวทางแบบยูนิคอร์นมีจุดอ่อนและเริ่มมองหาแนวทางการเติบโตอีกแบบ ที่เรียกว่า Camel หรือแปลว่า “อูฐ”
    แล้วแนวทางการเติบโตแบบอูฐคืออะไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    คุณ Aileen Lee เจ้าของบริษัทที่ลงทุนในสตาร์ตอัป หรือที่เรียกว่า Venture Capital
    ซึ่งได้นำคำว่า “ยูนิคอร์น” มาใช้กับวงการสตาร์ตอัปครั้งแรก
    ในปี 2013 ผ่านบทความที่เธอเขียน

    โดยเธอใช้คำว่า ยูนิคอร์น เพื่อเรียกกลุ่มธุรกิจสตาร์ตอัป
    ที่มีมูลค่าตั้งแต่ 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป
    ในตอนนั้นมีเพียง 39 บริษัท ที่จัดเป็นยูนิคอร์น
    คำดังกล่าวจึงเป็นเครื่องยืนยันถึง ความเป็นธุรกิจที่หาได้ยาก นั่นเอง

    แต่ในปัจจุบัน สตาร์ตอัปที่เป็นยูนิคอร์น ได้เพิ่มขึ้นมาเป็นเกือบ 500 บริษัท

    นั่นก็เพราะว่าคำว่ายูนิคอร์น ไม่ได้เป็นเพียงแค่เกณฑ์ในการวัดความสำเร็จของสตาร์ตอัปเท่านั้น
    แต่มันได้กลายเป็น “แนวทาง” ในการทำธุรกิจสตาร์ตอัปไปแล้ว

    ซึ่งเป็นแนวทางที่เน้น “ความเร็วในการเติบโต”
    มากกว่าความสามารถในการทำกำไร

    แต่การจะเติบโตได้เร็ว โดยเฉพาะในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ ก็ต้องแลกมาด้วยเงินลงทุนเป็นจำนวนมาก
    ซึ่งหลัก ๆ ก็เพื่อขยายฐานลูกค้า ดึงลูกค้าให้มาใช้ผลิตภัณฑ์ให้ได้มากที่สุด ในเวลาที่สั้นที่สุด

    เมื่อเวลาผ่านไป ถ้าการเติบโตเป็นไปได้ตามที่คาด มีฐานลูกค้าที่มากพอ
    ก็จะทำให้รายได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่เร็วกว่าค่าใช้จ่าย

    เมื่อผ่านจุดนั้นได้สำเร็จ
    รายได้ส่วนที่เกินมาทั้งหมดนั้น ก็จะไหลลงมาเป็นกำไร
    และจะทำให้กำไรของบริษัทเพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดในเวลาต่อมา
    ตัวอย่างธุรกิจที่เคยเป็นสตาร์ตอัปแบบนี้มาก่อน ก็เช่น Facebook, Uber, Airbnb

    อย่างไรก็ตาม มันก็มีบางสตาร์ตอัปที่ยังคงขาดทุนหนัก
    เพราะบริษัทยังต้องแลกการเติบโตมาด้วยเงินทุนมหาศาล เช่น การนำเงินทุนไปเป็นเงินอุดหนุนให้ส่วนลด เพื่อกดราคาค่าบริการตัวเองให้ต่ำ เพื่อแลกกับยอดการเติบโตทางธุรกรรม
    ธุรกิจประเภทนี้ก็เช่น อีคอมเมิร์ซและแอปพลิเคชันส่งอาหาร

    ซึ่งถ้านักลงทุนยังมองเห็นว่าในอนาคต
    ธุรกิจนั้นยังมีโอกาสเติบโตเร็ว ก็จะยังให้เงินลงทุนต่อไป
    จึงเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมสตาร์ตอัปเหล่านี้จึงยังดำเนินต่อไปได้ แม้จะไม่เคยมีกำไรเลยก็ตาม

    สำหรับความสำเร็จอีกขั้นของสตาร์ตอัปก็คือ การเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์
    ซึ่งก็จะเป็นผลดีต่อทั้งเจ้าของบริษัทและผู้ที่มาให้เงินระดมทุน

    เจ้าของบริษัทเข้าถึงเครื่องมือทางการเงินที่มากขึ้น มีต้นทุนที่ต่ำลง
    ส่วนผู้ที่มาให้เงินระดมทุน ก็สามารถขายเงินลงทุนในตลาดหลักทรัพย์เพื่อทำกำไรได้

    อย่างไรก็ตาม แนวทางแบบยูนิคอร์นที่ยอมให้สตาร์ตอัปขาดทุนหนักมาตลอด
    และทำให้สตาร์ตอัปเติบโตได้เร็วจริง จะใช้ได้ดีในช่วงที่เศรษฐกิจเติบโตอย่างแข็งแกร่ง

    แต่ในปีที่ผ่านมา โควิด 19 ที่ทำให้ทั่วโลกเผชิญภาวะเศรษฐกิจขาลง มีความไม่แน่นอนสูง
    นักลงทุนจึงเริ่มมาทบทวนว่า แนวทางแบบยูนิคอร์น มีความเสี่ยงสูงเมื่อเกิดวิกฤติและไม่มีความยั่งยืน

    นักลงทุน Venture Capital อีกคนหนึ่ง ที่ชื่อว่า Alex Lazarow
    ได้ศึกษาสตาร์ตอัปที่ประสบความสำเร็จในหลายประเทศ
    และพบว่ายังมีแนวทางการเติบโตอีกแบบหนึ่ง นอกเหนือไปจากยูนิคอร์น
    เขาเรียกแนวทางนั้นว่า “Camel” หรือ “อูฐ”

    สตาร์ตอัปแบบอูฐนั้น ยังคงจุดแข็งในเรื่องไอเดียนวัตกรรมเปลี่ยนโลกเหมือนเดิม
    แต่เรื่องแนวทางในการดำเนินธุรกิจ จะมองภาพในระยะยาวมากขึ้น

    โดยเน้นที่การเติบโตแบบมั่นคง ช้าแต่ชัวร์ เพื่อให้ธุรกิจมีความยืดหยุ่น
    ผ่านพ้นได้ทั้งช่วงเศรษฐกิจขาขึ้นขาลง และอยู่ต่อไปได้นานที่สุด

    นั่นจึงทำให้ อูฐ ไม่ได้เน้นไปที่ความเร็วในการเติบโต
    แต่จะหันมาใส่ใจ “ความสามารถในการทำกำไร” แทน

    โดยเริ่มจากคอนเซปต์แรก ก็คือ การเพิ่มความสมดุลระหว่างเงินลงทุนกับรายได้

    เป็นเรื่องปกติที่ตอนเริ่มต้นธุรกิจจะต้องใช้เงินลงทุนเยอะเกินกว่ารายได้ที่ทำได้
    แต่สตาร์ตอัปต้องไม่ลงทุนหนักจนเกินไป หรือห้ามไม่คิดค่าบริการในตอนแรกเพื่อเร่งโกยฐานลูกค้า

    แม้การยอมขาดทุนเพื่อชิงฐานลูกค้าจะเป็นสูตรสำเร็จในอดีต
    และถือเป็นกลยุทธ์การเติบโตที่ได้รับการพิสูจน์มาแล้ว
    แต่นั่นก็ไม่ใช่กลยุทธ์เพียงอย่างเดียวที่ทำให้สตาร์ตอัปประสบความสำเร็จได้

    สิ่งที่สตาร์ตอัปแบบอูฐทำก็คือ ตั้งราคาสินค้าและบริการที่เหมาะสมไปเลยตั้งแต่แรก
    เพื่อให้ราคาสื่อไปถึงลูกค้า ทั้งในเรื่องคุณภาพผลิตภัณฑ์และกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
    เพราะแม้ว่าการยอมไม่คิดเงินในตอนแรกอาจดูดดึงลูกค้าได้มาก
    แต่มันก็อาจจะเป็นผลดีในระยะสั้นและไม่ได้ทำให้ลูกค้าหรือผู้ใช้งานอยู่กับเราอย่างยั่งยืน

    สำหรับมุมมองในเรื่องของการลงทุน
    อูฐจะพิจารณาจากเรื่องที่จำเป็นและมีโอกาสสร้างประโยชน์ให้ธุรกิจมากที่สุดเท่านั้น

    อูฐจะมองที่ให้เงินที่ลงทุนไป งอกเงยกลับมาเป็นรายได้ที่มากกว่า
    ไม่ใช่ลงทุนแบบสูญเปล่า ได้ไม่คุ้มเสีย

    เรื่องแหล่งที่มาของเงินทุน อูฐจะนำกำไรมาลงทุนต่อยอดเป็นหลัก
    ซึ่งถ้าถามว่าทำไมถึงมีกำไรมาต่อยอดได้
    ก็ต้องย้อนกลับไปที่การเลือกลงทุนได้ถูกจุดตั้งแต่แรก

    หรือถ้าจะระดมทุน ก็จะทำเมื่อจำเป็นเท่านั้น
    และจะระดมทุนมาเท่าที่ต้องการใช้ ซึ่งต้องมีเป้าหมายและแผนงานชัดเจน
    ว่าเอาเงินไปทำให้เกิดการเติบโตได้อย่างไร ไม่ใช่เร่งระดมทุนแบบยิ่งมากยิ่งดี

    ตัวอย่างอูฐที่โดดเด่นในเรื่องนี้ก็คือ “Zoom”

    Zoom เป็นบริษัทผู้ให้บริการแพลตฟอร์มการประชุมออนไลน์
    ที่เริ่มมาจากสตาร์ตอัปและเพิ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
    ซึ่งเป็นเพียงไม่กี่บริษัท ที่ทำกำไรได้มานานแล้ว

    นอกจากนี้ ก่อนจะเข้าตลาด Zoom ยังผ่านการระดมทุนมาน้อยมากเมื่อเทียบกับบริษัทส่วนใหญ่
    โดย Zoom ระดมทุนไปเพียง 4,500 ล้านบาท เมื่อเทียบกับบริษัทที่มีมูลค่าใกล้เคียงกันอย่าง Snapchat
    ที่ระดมทุนไปถึง 83,000 ล้านบาท และผลประกอบการยังคงขาดทุนอยู่จนถึงปัจจุบัน

    คอนเซปต์ถัดมาของอูฐ ก็คือ การเพิ่มความยืดหยุ่นให้ธุรกิจหรือกระจายความเสี่ยงให้กับธุรกิจนั่นเอง

    เพราะว่าภาวะเศรษฐกิจมีขึ้นมีลง
    แต่ละประเภทธุรกิจก็มีช่วงขาขึ้นและขาลงแตกต่างกันไป
    บริษัทส่วนใหญ่จึงมักสร้างระบบนิเวศให้กับธุรกิจตัวเอง
    โดยแตกธุรกิจออกไปหลายประเภท แต่ยังคงเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน

    นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการขยายธุรกิจออกไปในต่างประเทศด้วย
    เพราะแต่ละประเทศก็มีช่วงขึ้นลงของเศรษฐกิจต่างกันไป

    ตัวอย่างอูฐที่โดดเด่นในเรื่องนี้ก็คือ Amazon
    Amazon ที่นอกจากจะลงทุนในระบบธุรกิจอื่น
    ที่เกื้อหนุนธุรกิจหลักอย่างอีคอมเมิร์ซแล้ว
    ยังขยายไปทำ Amazon Web Services หรือ บริการประมวลผลบนคลาวด์
    ให้กับบริษัทต่าง ๆ ในหลากหลายประเภทธุรกิจ
    จนปัจจุบัน ได้กลายมาเป็นแหล่งรายได้สำคัญของ Amazon ไปแล้ว

    และแม้ในช่วงที่ Amazon เพิ่งเริ่มต้น จะยังขาดทุนนาน
    แต่ไม่ได้ขาดทุนแบบมหาศาล และเป็นการขาดทุน
    เพราะนำเงินไปลงทุนวิจัยพัฒนา เพื่อต่อยอดการเติบโตของรายได้

    ซึ่งสุดท้ายแล้ว ถ้าความสำเร็จของสตาร์ตอัป
    วัดกันที่มูลค่าบริษัท ที่สะท้อนความคาดหวังของนักลงทุน

    ทั้งแนวทางแบบยูนิคอร์นและอูฐ
    ต่างพิสูจน์แล้วว่าทำให้บริษัทเติบโตและเพิ่มมูลค่าให้บริษัทได้
    อยู่ที่แนวทางการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการว่าต้องการใช้กลยุทธ์แบบไหน

    ส่วนในมุมมองของนักลงทุน ก็คงต้องมาทบทวนอีกครั้งว่า
    เราจะให้น้ำหนักกับการเติบโตอย่างรวดเร็วและยอมให้บริษัทขาดทุนก่อน
    หรือการเติบโตไปช้า ๆ แต่ตั้งต้นมาจากความสามารถในการทำกำไร มากกว่ากัน

    คำถามที่น่าสนใจปิดท้าย
    หากเรามีแนวทางการเติบโตให้เลือก
    ระหว่าง “อูฐ” และ “ยูนิคอร์น”
    เราจะเลือกแนวทางอะไร ?
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References
    -https://hbr.org/2020/10/startups-its-time-to-think-like-camels-not-unicorns#
    -https://techcrunch.com/2013/11/02/welcome-to-the-unicorn-club/
    -https://www.entrepreneur.com/article/347659
    -https://marker.medium.com/the-new-hot-startups-will-be-camels-not-unicorns-53d480535916
    -https://uxdesign.cc/camels-not-unicorns-are-the-new-darlings-of-silicon-valley-b438d1dd661a
    -https://jeffreyleefunk.medium.com/only-6-of-73-unicorn-startups-are-profitable-and-none-did-recent-ipos-287d5c7ac8d0
    -https://www.crunchbase.com/organization/zoom-video-communications
    -https://www.crunchbase.com/organization/snapchat

  • camels 在 Molly ~南半球生活日記~ Facebook 的最佳貼文

    2020-10-05 10:57:39
    有 31 人按讚

    Summer Land Camels在我的口袋名單也有一小段時間,正好朋友剛去過評價也不錯,趁著假期結束前相約帶孩子一起去餵駱駝。

    這裡離Ipswich很近,從Brisbane南區開車過去也是不到一小時車程,沿路的景色優美,開車也是種享受。

    早上10點,11點各有一場farm tour,也可以騎駱駝,可惜我們的時間無法配合,人數又太多,所剩下的空位並不多,建議要體驗騎駱駝的朋友先至官網預訂以免敗興而歸。

    雖然這些活動都做不了,不過孩子們還是可以餵駱駝,一包駱駝乾草飼料$2,一群孩子僅僅是餵個駱駝都覺得有趣。

    裡面還有間Cafe,school holiday冰淇淋只要$1,每個孩子一杯冰淇淋,在樹下找個位子享用,欣賞著周遭景色,在樹蔭下吹著徐徐微風,幾個父母聊天,相當舒適。

    Cafe旁的小建築裡賣的是Camel Milk的周邊商品,我試用了評價不錯的身體乳液,很滋潤味道也自然,適合乾燥受損肌膚。裡面成份除了camel milk還有Jojoba & macadamia seed oil, Avocado and olive fruit oils, Aloe vera, Vitamin E等等⋯味道是甜橙加薰衣草精油。

    在這裡待了一個多小時,我們便前往下一站-薰衣草花園

    《Summer Land Camels》
    8 Charles Chauvel Drive
    Harrisville QLD 4307
    +61 7 5467 1707
    https://summerlandcamels.com.au
    Open 9am to 3pm every day