[爆卦]Bottom-up approach是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Bottom-up approach鄉民發文沒有被收入到精華區:在Bottom-up approach這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 bottom-up產品中有219篇Facebook貼文,粉絲數超過1萬的網紅91 敏捷開發之路,也在其Facebook貼文中提到, 【從學員練習影片觀察到一個關於 TDD 的有趣現象】 極速開發的課後練習作業,雖說重點是放在極速開發要學習的技巧與刻意練習的模型,但開發的方式、順序也是刻意安排成類似 TDD 的進行方式,來讓生產力最大化(TDD 本來就是幫助開發的,不是幫助測試的) 我從2位第一次上我課的學員(當然就是 #極速...

 同時也有15部Youtube影片,追蹤數超過1,890的網紅Melinda Looi,也在其Youtube影片中提到,Since I am also a local Malaysian brand. I like to support local products from the local farmers, stores and brands. Today I have Ayam Kampung (villag...

bottom-up 在 ??????? Instagram 的最佳貼文

2021-08-16 13:06:07

好像從沒認真分享過在上海adidas的主管 雖然在她底下工作僅有短短一年的時間 卻改變了我很多職場上的做事手腕與態度 進公司時聽大家都叫她「姐姐」 起初我實在喊不出口(只能叫她英文名字) 後來做著做著,竟不自覺就也脫口而出了 我們一部分工作內容,是做深入的市場分析&research 其他team...

bottom-up 在 Melinda Looi Instagram 的最佳解答

2021-06-21 22:57:14

Since I am also a local Malaysian brand. I like to support local products from the local farmers, stores and brands. Today I have Ayam Kampung (villag...

  • bottom-up 在 91 敏捷開發之路 Facebook 的精選貼文

    2021-09-26 14:17:31
    有 57 人按讚

    【從學員練習影片觀察到一個關於 TDD 的有趣現象】

    極速開發的課後練習作業,雖說重點是放在極速開發要學習的技巧與刻意練習的模型,但開發的方式、順序也是刻意安排成類似 TDD 的進行方式,來讓生產力最大化(TDD 本來就是幫助開發的,不是幫助測試的)

    我從2位第一次上我課的學員(當然就是 #極速開發,代表他們沒上過#單元測試 跟 #TDD與持續重構),雖然他們是照著示範影片、上課教學用 TDD 在寫整個 tennis 的過程,但從他們執行測試的時間點就可以發現:

    「他是用測試來驗證 production code 的正確性」,即使他先寫了測試,也不先執行,沒有看到紅燈,每次都等到 production code 寫完了,應該要綠燈時,才執行測試。

    而其他上過 TDD 課的同學 ,或是上過單元測試的同學,知道測試是用來描述情境,如果現在「加入的這個情境是新的需求或需求異動,代表目前 production code 還不支援這個情境,執行測試跑出的紅燈,就是等等 production code 要完成的 #目標」

    test-frist 從來都只是 TDD 其中一個小小的衍生產物,而不是全貌。TDD, 測試驅動開發 從來都是一種開發方法,而不是測試方法。

    總有些人老愛把 TDD 拿來跟測試相提並論,就總是喜歡把 test-first 當作靶子打,覺得違反人性跟直覺,覺得先寫測試在很多情況下是浪費時間或是不 work,可能拿來跟一堆測試的方法論相提並論,或總是只拿回歸測試的效益來當作 TDD 的整體。抑或是陷入 isolation unit test 與 integration test (其實就是非 isolation 等級、有實際依賴的自動測試)之爭。

    ```
    註:TDD 事實上是可以不是單元測試等級的。
    ```

    要比較正確看待 TDD 的角度,首先要知道它是幫助開發的、它是一種開發方式(當然不是唯一一種,甚至也不會是最好的一種,因為根本沒有最好,只有剛好)

    接著要了解 TDD 可能用 IPO 模型還比較貼切,input-process-output,在你開發任何功能之前,你總要先想過這件事。而先想這件事,才是 TDD 的最基本精神。

    接著是怎麼把你想好的東西,變成可執行的 spec,我們只是用測試程式來「描述」你腦袋中的「IPO模型」,把 process 的過程當作一個黑箱子。

    而這個 IPO 模型在結合成「使用情境」,就會帶來「高易用性 API 的好處」,只有在一開始就先想好怎麼給別人用,最後才會好用。所謂的一開始想好,指的不是預先設計一堆 class,而是 input/output 想清楚期待(一般會結合實例化需求,搭配 Given/When/Then 的 gherkin style 來把前置條件、資料、前提想好,當發生什麼事,應該是怎樣的結果),然後描述它。在紅燈定義清楚目標,綠燈完成 input/output 關係且沒弄壞前面的所有情境後,來針對 process 進行重構(事實上 Kent Beck 的 TDD by Example 更多是用 refactor 來 #完成 process。

    ```
    註:所謂的 output 不一定只有回傳值,包含外部依賴狀態、資料的改變,甚至顆粒度小一點,針對物件導向設計的話,物件內部狀態的改變也算,只是物件內部狀態改變,驗證點要嘛是拿得到內部狀態,要嘛就是要驗證物件哪個行為會因這個內部狀態而有所不同。
    ```

    ## 戰 TDD 之前該先做好的功課
    要戰 TDD,是不是至少要把 Kent Beck 的 TDD by Example 看完?

    要戰 TDD,請不要拿它跟測試方法論來比,那只是一下就被人看破手腳。因為它是個開發方法論。

    要戰 TDD,請不要把它的好處只限縮在跟回歸測試、自動測試的比較,因為那只是它的衍生好處,當你試過在白海報紙上 TDD 就懂,TDD 是在釐清你的思緒的同時,又可以以終為始,確保你在 production code 的每一個動作都是為了滿足某個期待的情境。

    要戰 TDD,請不要去把 單元測試、整合測試捲進來,那是測試的顆粒度,那是測試的分類,TDD 從來都不是只能限於單元測試。

    要戰 TDD,請不要在那邊戰他是 bottom-up ,是直接從程式/class 的角度出發,事實上 TDD 既不是 bottom-up, 也不是 top-down, (書裡面就有講這件事咩),實務上的 TDD 結合倫敦派(GOOS)跟芝加哥派(Classic TDD),會更像 Outside-In 的進行方式,先定義好驗收情境,接著從最外部(也就是使用者看得到的部份)一路把依賴往另一邊的系統邊界推,直到推到系統以外的依賴資源(persistence 或 external API/service)

    ```
    註: ATDD by Example 中 ATDD by Example, Kent Beck 寫的序最後的一段話。

    Kent Beck:
    「就像我曾說過的,TDD的一個缺點是,它可能會退化為一種用來滿足開發人員需求的編程技能。某些開發人員從更廣泛的角度來看待TDD,輕易在他們測試的不同抽象級別間跳躍。然而在ATDD中不存在歧義,這是一種加強與非編程人員溝通的技術。我們之間良好的協作關係,以及作為這種關係基礎的溝通,能夠使軟件開發更有效率。採用ATDD是向著溝通更清晰這個目標邁進的重要一步,而此書是一本全面又平易近人的入門讀物。」
    ```

    要戰 TDD,請不要只關注在 test-frist,因為他只是用 test 來幫助你 think-first,不要邊寫邊想。然後不要過份依賴或相信你腦袋的能力,把你想好的東西具體化出來,最好可以被直接執行,最好除了你以外每個人執行出來的結果都會一樣(不管是對的,還是錯的)

    要戰 TDD, 請不要把論點放在見樹不見林,如果你有看 TDD by Example 的 Part 1, Part 2 那兩個加起來共 24 個章節,就知道一開始就得把當下想到的全貌紀錄在一個「紙本」的 backlog (所謂的紙本,只是要講這並不依賴於任何工具)

    而這個需求輪廓的全貌,會隨著你逐漸完成一部分一部分的情境,設計逐漸浮現後,而隨時跟著增減調整。

    但不代表 TDD 就是先想到一個測試案例,就直接先幹下去了,那根本是亂搞。

    以上這些,都還不是在列 TDD 的好處,而是針對那些從來沒搞懂 TDD 但又愛戰 TDD 的人一點提醒,你戰的很可能是「你誤解的 TDD」。

    TDD 還有許多實務上的用途,列上我在譯者序中的一小段:

    >> 測試驅動開發(Test-Driven Development, TDD)!一種以測試為開發輔助、以測試來描述需求情境、以測試來當作目標、以測試來表達期望、以測試來驗證疑問、以測試來實驗學習、以測試來溝通協作、以測試來協助設計高易用性 API 的「開發方法」。

    譯者序有開放給大家看,請見:https://tdd.best/book/tdd-by-example/

    拜託,要戰之前去看一下祖師爺 Kent Beck 對 TDD 的原始見解:https://www.tenlong.com.tw/products/9789864345618?list_name=srh

    如果你想正確的使用 TDD 來幫助你在實務上產生許多的價值,帶來許多的好處,尤其是需求釐清、持續重構、小步快跑的部份,最好理解的培訓課就在這:https://tdd.best/courses/classic-tdd-by-example-video-training/

    最後我想講一段話:
    TDD 從來都不該被導入到團隊中,但它是一種很好的自我鍛鍊與學習的方式,也是一種能用很低的成本來帶來很多好處的開發方法(見下方註腳),然而它也不是適用所有的情況,但它可以讓『完美』變成一個動詞,而非不變的形容詞。

    ```
    註:
    Kent Beck 在 DHH 靠腰:《TDD is Dead》 之後寫的一篇反串文:《RIP TDD》
    https://www.facebook.com/notes/1063422864115918/

    我幾年前的簡易翻譯,通常也是 TDD 可以幫助你解決的問題,如下:

    - Over-engineering (過度設計)
    - API feedback (改善API的設計與可用性)
    - Logic errors (想的跟寫的不一樣,寫的跟需求不一樣)
    - Documentation (寫跟維護文件是痛苦的)
    - Feeling overwhelmed (找不到切入點)
    - Separate interface from implementation thinking (抽象設計)
    - Agreement (確保已修正問題的證據)
    - Anxiety (改東壞西的擔心受怕)

    ```

    很久沒對 TDD 發表這種長篇大論了,因為不理解、不想理解、不同角度理解的人居多,能真的到各自的塔上用不同角度來看原義,以及實務上用它來幫助解決的問題有哪些的人,真的太少。

    大部分人只想針對這個詞彙來攻訐以博得流量跟吸引目光,而不是想著「我可以用它來幫助我什麼」

    問題跟需求是中性的,解決問題跟滿足需求的手段與方式有千萬種,不會只有一種,也不會有所謂的對錯,多點角度去了解不同的方法、方式,然後融會貫通,發揮綜效,在實務上用最少的成本與風險來產生最大的價值,這才是真正的目標。

    導入敏捷不該是目標,導入 TDD 也不該是目標,目標永遠都是在實務上產生價值、解決問題、滿足需求。

  • bottom-up 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答

    2021-09-20 13:00:33
    有 2,027 人按讚

    กองทุน KKP GNP โอกาสลงทุนในหุ้นต่างประเทศ แบบผู้ชนะระยะยาว
    เกียรตินาคินภัทร x ลงทุนแมน
    วิกฤติโควิด 19 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา หรือนโยบายภาครัฐจีน
    ล้วนเป็นปัจจัยมหภาคที่กำลังส่งผลต่อโลกการลงทุนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
    ทำให้การลงทุนหุ้นต่างประเทศในช่วงเวลานี้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย

    คำถามคือ หากเราไม่ใช่นักลงทุนมืออาชีพ
    แล้วเราจะเข้าสู่โลกการลงทุนหุ้นต่างประเทศในช่วงเวลานี้ ได้อย่างไร

    หนึ่งตัวเลือกในการลงทุนหุ้นต่างประเทศที่น่าสนใจในช่วงเวลานี้
    ก็คือ กองทุนเปิดเคเคพี โกลบอล นิว เพอร์สเปกทีฟ หรือ KKP GNP
    ที่มีรางวัลการันตีจากการจัดอันดับของ วารสารการเงินธนาคาร
    ว่าเป็น “กองทุนหุ้นต่างประเทศ ยอดเยี่ยมแห่งปี 2021” อีกด้วย

    ความน่าสนใจของกองทุน KKP GNP เป็นอย่างไร ?
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง

    กองทุน KKP GNP เป็นกองทุนประเภท Feeder Fund
    ที่มีนโยบายลงทุนในกองทุนรวมต่างประเทศเพียงกองทุนเดียว
    ที่มีชื่อว่า Capital Group New Perspective (LUX) (กองทุนหลัก) ไม่ต่ำกว่า 80% ของ NAV

    ซึ่ง Capital Group New Perspective (LUX) มีนโยบายลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลก
    ภายใต้การบริหารจัดการของ The Capital Group ที่มีประสบการณ์ลงทุนถึง 90 ปี

    พูดง่าย ๆ ว่า หากเราลงทุนในกองทุน KKP GNP
    ก็เท่ากับว่า เรากำลังลงทุนในหุ้นสามัญทั่วโลกที่น่าสนใจ ผ่านกองทุน Capital Group New Perspective (LUX) ภายใต้การบริหารของ The Capital Group นั่นเอง

    แล้ว The Capital Group คือใคร ?

    The Capital Group คือบริษัทจัดการกองทุนที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลก
    มีสินทรัพย์ภายใต้การจัดการ 81.9 ล้านล้านบาท และทีมนักวิเคราะห์กว่า 400 คนทั่วทุกมุมโลก
    สะท้อนถึงความเป็นมืออาชีพในโลกการลงทุนได้อย่างดี

    อีกหนึ่งจุดเด่นของ The Capital Group ที่น่าสนใจ
    ก็คือ ระบบการบริหารจัดการกองทุนที่เรียกว่า The Capital System
    ซึ่งเป็นรูปแบบบริหารกองทุนแบบผสมผสานระหว่างผู้จัดการกองทุน 7 คน
    ที่มีประสบการณ์การลงทุนสาขาต่าง ๆ ราว 30 ปีโดยเฉลี่ย มาทำงานร่วมกันอย่างเป็นอิสระ

    โดยยึดหลักเดียวกันคือ การคัดเลือกหุ้นรายตัว ที่มาจากการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานตามแนวคิดที่มั่นใจที่สุด (Highest-Conviction Ideas) ของผู้จัดการกองทุนคนนั้น ๆ

    ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้ Capital Group New Perspective (LUX) กลายเป็นกองทุนที่มีโอกาสลงทุนหุ้นในตลาดโลก จากหลากหลายมุมมองของผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุน นั่นเอง

    แล้วกองทุน KKP GNP มีความน่าสนใจอย่างไร ?

    เนื่องจาก Capital Group New Perspective (LUX) เป็นกองทุนหลักของ KKP GNP
    ที่มีกลยุทธ์ลงทุนเชิงรุกแบบ Active Management ที่จะสร้างผลตอบแทนสูงกว่าค่าเฉลี่ยตลาด

    ภายใต้แนวคิดการลงทุนแบบ Bottom Up
    หรือก็คือการค้นหาบริษัทที่มีโครงสร้างธุรกิจแข็งแกร่ง มีความได้เปรียบเชิงแข่งขันในอุตสาหกรรม
    และมีโอกาสที่จะเป็นผู้ชนะในระยะยาว จากนั้นจึงมาวิเคราะห์ถึงปัจจัยมหภาคต่อไป

    โดยมีเป้าหมายสำคัญคือ การลงทุนในหุ้นที่จะเป็นผู้ชนะในระยะยาว

    ดังนั้น หากเราลงทุนในกองทุน KKP GNP ก็เท่ากับว่า เรากำลังลงทุนในหุ้นที่จะมีโอกาสเป็นผู้ชนะระยะยาว
    ตามการวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุนระดับโลก นั่นเอง

    ซึ่งหนึ่งธุรกิจที่กำลังเติบโต และถูกจับตามองไม่น้อยในช่วงเวลานี้
    ก็คือ ธุรกิจเทคโนโลยี ที่กำลังได้รับประโยชน์จากสถานการณ์โควิด 19 และยังมีแนวโน้มเติบโตระยะยาว
    เราจึงเห็น 3 ธุรกิจที่มีสัดส่วนลงทุนสูงสุดในพอร์ตลงทุน (ณ 31 สิงหาคม 2564) คือ
    - Tesla Inc สัดส่วน 5.3%
    - Microsoft สัดส่วน 3.6%
    - Facebook สัดส่วน 3.2%

    นอกจากหุ้น 3 ธุรกิจเทคโนโลยีชั้นนำนี้แล้ว
    ก็ยังมีหุ้นกลุ่มธุรกิจน่าสนใจอื่น ๆ เกือบ 300 ตัวในพอร์ตลงทุน
    เพื่อช่วยกระจายความเสี่ยงการลงทุนให้เหมาะสมตามแต่สถานการณ์ อีกด้วย

    มาถึงตรงนี้ จะเห็นได้ว่า การลงทุนหุ้นต่างประเทศที่ดูจะเป็นเรื่องยากในช่วงเวลานี้
    ก็สามารถเป็นเรื่องง่าย ๆ ได้เพียงลงทุนในกองทุน KKP GNP ที่มีผู้เชี่ยวชาญระดับโลกมาคอยคัดเลือกหุ้นทั่วโลกที่มีโอกาสจะเป็นผู้ชนะระยะยาว และคอยบริหารพอร์ตลงทุนให้กับเรา นั่นเอง

    สำหรับผู้ที่สนใจลงทุนหุ้นต่างประเทศด้วยกองทุน KKP GNP สามารถขอรับหนังสือชี้ชวนและข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน) โทร. 0 2305 9559 หรือ ธนาคารเกียรตินาคินภัทรทุกสาขา หรือ https://am.kkpfg.com หรือ ผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืนหน่วยลงทุนอื่นที่ได้รับการแต่งตั้ง

    หมายเหตุ: การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนโปรดทำความเข้าใจลักษณะสินค้า เงื่อนไขผลตอบแทน และความเสี่ยงก่อนตัดสินใจลงทุน / ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต / เนื่องจากกองทุนมีการลงทุนในต่างประเทศ กองทุนอาจมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงในเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม รวมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากกฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศที่กองทุนไปลงทุนด้วย / กองทุนมีนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนตามดุลยพินิจผู้จัดการกองทุน ดังนั้น ผู้ลงทุนอาจขาดทุนหรือได้รับกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน หรือได้รับเงินคืนต่ำกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกได้ / โปรดศึกษาคำเตือนที่สำคัญอื่นได้ในหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลกองทุนรวม

  • bottom-up 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文

    2021-08-23 18:00:14
    有 4,553 人按讚

    สรุปประเด็นจากกองทุนบัวหลวง “กางกลยุทธ์ พิชิตหุ้นสหรัฐฯ”
    BBLAM x ลงทุนแมน
    ช่วงเวลาที่ผ่านมา คงไม่มีตลาดหุ้นไหนสามารถทำผลงานได้โดดเด่น อย่างตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกา
    ที่ทำให้นักลงทุนสัมผัสได้ถึงความร้อนแรง จนเกิดคำถามว่า หลังจากนี้ โอกาสของหุ้นสหรัฐอเมริกาจะเป็นอย่างไร ?

    เมื่อวันที่ 18 สิงหาคมที่ผ่านมา ลงทุนแมน ร่วมพูดคุยกับ 2 ผู้เชี่ยวชาญจากกองทุนบัวหลวง
    คือ คุณพูนสิน เพ่งสมบูรณ์ AVP, Portfolio Solutions
    และ คุณนวรัตน์ เจียมกิจรุ่ง SVP, Product Development
    ถึงประเด็นสำคัญในการลงทุนหุ้นสหรัฐอเมริกาในช่วงเวลานี้

    เรื่องราวสำคัญที่นักลงทุนควรรู้ จะมีอะไรบ้างนั้น ?
    ลงทุนแมนจะสรุปให้ฟังเป็นข้อ ๆ แบบเข้าใจง่าย

    1. ภาพรวมของเศรษฐกิจและตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกา ?

    ความร้อนแรงของตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกาในช่วงที่ผ่านมา เป็นผลมาจาก 2 ปัจจัยหลัก คือ
    - นโยบายการเงินการคลัง ที่สามารถส่งต่อไปยังภาคธุรกิจ และภาคการบริโภคได้จริง
    - การกลับมาของภาคธุรกิจ ทั้งจากกลุ่มธุรกิจที่เติบโต และกลุ่มธุรกิจที่ฟื้นตัวจากปีก่อน

    ประเด็นที่ต้องจับตาต่อจากนี้คือ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกากำลังเข้าสู่ช่วง Mid Cycle ซึ่งแปลว่า เราอาจจะไม่ได้เห็นการปรับตัวขึ้นแรง ๆ ของตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกาเหมือนในช่วงที่ผ่านมา

    ดังนั้น กลยุทธ์การลงทุนจากนี้ไป จึงต้องมีการคัดเลือกหุ้นรายตัว รายกลุ่มอุตสาหกรรมให้มากขึ้น

    2. ความน่าสนใจของตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกา อยู่ที่ตรงไหน ?

    ย้อนกลับไปช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา สหรัฐอเมริกาพบปัญหาระหว่างทางมาโดยตลอด
    ไม่ว่าจะเป็น สงครามการค้ากับจีน หรือผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 ประกอบกับการเติบโตของตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกาที่เริ่มตั้งแต่ปี 2009 ก็ดูเหมือนจะจบรอบไปแล้วในปีที่ผ่านมา

    ถ้าดูตัวเลข GDP ไตรมาส 2 ปี 2020 ออกมา -30% แต่ที่น่าสนใจก็คือ สหรัฐอเมริกาฟื้นตัวกลับมาได้ค่อนข้างเร็ว โดยเห็นได้จาก GDP ไตรมาส 3 ปี 2020 ปรับตัวขึ้นกลายเป็น +33%

    และถ้าหากสังเกตดัชนี S&P 500 ก็ยิ่งฟื้นตัวแรงไม่แพ้กัน
    โดยใช้เวลาฟื้นตัวจากวิกฤติโควิด 19 แค่ 1 เดือนเท่านั้น และก็ยังทำ New High ต่อเนื่อง อย่างในปี 2021 นี้ก็ +20% จากต้นปีอีกด้วย

    ซึ่งต่างไปจากวิกฤติซับไพรม์ปี 2007 ที่ต้องใช้ระยะเวลาฟื้นตัวกว่า 18 เดือน แต่เมื่อฟื้นตัวกลับมาได้ ก็ไปต่อได้ดีเช่นกัน

    ดังนั้น จุดที่น่าสนใจของตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกา เมื่อสังเกตจาก 2 วิกฤติที่ผ่านมาก็คือ เมื่อสหรัฐอเมริกาประสบภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจแล้ว มักจะกลับมาฟื้นตัวได้เร็ว และก็ดีกว่าเดิมเสมอ

    3. แล้วจุดขับเคลื่อนสำคัญ ที่ทำให้เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาฟื้นตัวได้เร็ว คืออะไร ?

    ปัจจัยที่ 1 คือ อำนาจทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ผ่าน 2 เครื่องมือสำคัญ นั่นคือ

    - นโยบายทางการเงิน ที่จะช่วยให้ตลาดการเงินของสหรัฐอเมริกายังคงดำเนินต่อไปได้ โดยการซื้อสินทรัพย์ต่าง ๆ ในตลาด เพื่อพยุงราคาไม่ให้ถูกเทขาย

    เช่น พันธบัตรรัฐบาล, Mortgage-Backed Securities (ตราสารทางการเงินที่มัดรวมสินเชื่อบ้านเข้าด้วยกัน โดยมีสถาบันการเงินเป็นคนกลางจับคู่ระหว่างผู้กู้ยืมและนักลงทุน), หุ้นกู้ในกลุ่ม Fallen Angels ที่ถูกปรับลดระดับเครดิตต่ำกว่า BBB (Non-Investment Grade)

    - นโยบายการคลัง ที่จะช่วยเข้ามากระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา

    เช่น การอัดฉีดเงินกว่า 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐไปให้ชาวอเมริกันที่ได้รับผลกระทบจากการว่างงาน
    เนื่องจากโครงสร้าง GDP สหรัฐอเมริกามาจากภาคการบริโภค 70%
    ดังนั้น หากชาวอเมริกันกลับมาบริโภคได้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจก็จะกลับคืนมาด้วย

    แต่ก็ต้องยอมรับว่า ทั้ง 2 นโยบายที่ว่านี้ คงจะมีแต่สหรัฐอเมริกาเท่านั้น ที่สามารถทำได้
    หากเป็นประเทศอื่น ๆ เราคงเห็นปัญหาตามมาอีกมากมาย เช่น ประเทศไทยที่มีสัดส่วนการบริโภคแค่ 1 ใน 4 ถ้าหากเราอัดฉีดเม็ดเงินเช่นนั้นก็จะเกิดปัญหาค่าเงินบาทอ่อนหรือปัญหาเงินเฟ้อปรับตัวขึ้นแรง เป็นผลมาจากการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่มากเกินไป

    โดยเหตุผลที่สหรัฐอเมริกาสามารถทำเช่นนี้ได้ เพราะความเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจโลกครองสัดส่วน 1 ใน 4 ของมูลค่า GDP โลก และเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ก็ยังเป็นเงินสกุลหลักของการค้าระหว่างประเทศ

    ปัจจัยที่ 2 คือ โครงสร้างธุรกิจที่แข็งแกร่งและหลากหลาย ส่งผลให้ภาพรวมฟื้นตัวได้เร็วขึ้น

    หากสังเกตดัชนี S&P 500 จะพบว่า Market Cap. ของกลุ่มเทคโนโลยี 27% สูงเป็นอันดับที่ 1 ถัดมาจะเป็นกลุ่ม Health Care 13% และกลุ่มสินค้าฟุ่มเฟือย 12% ล้วนเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีแนวโน้มเติบโต

    ที่น่าสนใจคือ เทคโนโลยีของสหรัฐอเมริกา เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเราขึ้นเรื่อย ๆ เสมือนเป็นปัจจัยที่ 5 ของชีวิตคนเรา และหลากหลายกลุ่มเทคโนโลยีอนาคตอย่าง Innovation, FinTech, Digital Advertising ยังมีส่วนสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจ การจ้างงาน และการแข่งขันในอนาคตอีกด้วย

    นอกจากนี้ วิกฤติโควิด 19 ยังเป็นปัจจัยผลักดันการเติบโตของสินค้าเทคโนโลยี และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เช่น การช็อปปิงออนไลน์, การดูวิดีโอสตรีมมิงแทนการเข้าโรงภาพยนตร์

    ขณะที่ภาคธุรกิจเอง ก็หันมาให้ความสนใจ Digital Advertising มากกว่าป้ายบิลบอร์ดเดิม ๆ ส่งผลให้ลดต้นทุน, ลดขั้นตอน Supply Chain ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ทั้งหมดนี้ จึงทำให้เชื่อว่า หุ้นเทคโนโลยีสหรัฐอเมริกาจะยังเติบโตตามผลประกอบการต่อไปได้

    4. หลังจากการฟื้นตัว ก้าวต่อไปคือการเข้าสู่ Mid Cycle ?

    เมื่ออัตราการว่างงานลดลง ซึ่งคาดว่า 8-10 เดือนข้างหน้า ก็จะสามารถกลับเข้าสู่ระดับปกติก่อนเกิดวิกฤติโควิด 19 ได้ ขณะเดียวกัน Fed ก็เริ่มส่งสัญญาณถอนคันเร่งมาตรการกระตุ้น ด้านสวัสดิการว่างงานก็เริ่มลดลง สะท้อนได้ว่า สหรัฐอเมริกากำลังเข้าสู่ช่วง Mid Cycle

    ดังนั้น เราน่าจะไม่ได้เห็นสภาพคล่องท่วมตลาดเหมือนอย่างเคยอีกต่อไป
    กลยุทธ์การลงทุนในช่วง Mid Cycle จึงต้องเลือกลงทุนหุ้น Growth เช่น หุ้นเทคโนโลยี
    หรือลงทุนหุ้นที่จะได้รับผลประโยชน์จากนโยบายภาครัฐ ในโครงการที่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน กำลังผลักดันอยู่ในขณะนี้ เช่น

    - American Rescue Plan วงเงิน 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็นสวัสดิการชดเชยการว่างงาน
    - Infrastructure Bill วงเงิน 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานประเทศ
    - American Families Plan วงเงิน 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมนุษย์
    - American Jobs Plan วงเงิน 2.3 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน, Health Care, อุตสาหกรรม EV, พลังงานสะอาด
    - U.S. Innovation and Competition Act วงเงิน 2.5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแข่งขันกับจีน

    หากโครงการเหล่านี้ได้รับการอนุมัติทั้งหมด จะกลายเป็นเม็ดเงินพัฒนาเศรษฐกิจที่เยอะที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ที่จะช่วยพัฒนาประเทศระยะยาว 5-10 ปี เลยทีเดียว

    5. ตอนนี้ Master Fund ระดับโลก มองการลงทุนหุ้นสหรัฐอเมริกาอย่างไร ?

    หลังจากที่กองทุนบัวหลวงได้พูดคุยกับผู้จัดการกองทุน J.P. Morgan หนึ่งใน Master Fund ระดับโลก
    พบว่า หากเป็นการลงทุนระยะกลาง J.P. Morgan กำลังพุ่งเป้าไปที่กลุ่มธุรกิจที่จะได้ประโยชน์จากการเปิดเศรษฐกิจหลังจากผ่านวิกฤติโควิด 19 เช่น

    - กลุ่มธุรกิจ Reopening ที่เชื่อว่าจะกลับมาฟื้นตัว และได้รับประโยชน์จากความต้องการซื้อที่อัดอั้นมาจากวิกฤติโควิด 19 เช่น การจองโรงแรม, การเช่ารถ, ร้านอาหาร

    - กลุ่ม Health Care ทั้งในแง่ของการรับมือกับโควิด 19, การพัฒนาวัคซีน, การวิจัยเชื้อกลายพันธุ์ และพฤติกรรมพร้อมจ่ายของคนเราเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง จึงมองว่ากลุ่มยา และกลุ่ม Biotech ยังเติบโตได้ดี

    - กลุ่มพลังงานสะอาด จากการผลักดันนโยบาย EU Green Deal ขณะที่ต้นทุนของพลังงานลม และพลังงานโซลาร์เซลล์ ที่ถูกลงมากเมื่อเทียบกับพลังงานดั้งเดิม รวมทั้งกลุ่มยานยนต์ไฟฟ้าและอุปกรณ์กักเก็บพลังงานก็น่าสนใจ

    ขณะเดียวกัน หากเป็นการลงทุนระยะยาว J.P. Morgan กำลังจับตากลุ่มธุรกิจที่สอดรับกับมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาในระยะ 5-10 ปีข้างหน้า

    ซึ่งนอกจาก 3 กลุ่มข้างต้นแล้ว ก็ยังมีกลุ่มเครื่องจักรอัตโนมัติ หรือกลุ่ม Smart ต่าง ๆ เช่น Smart Home, Smart TV ที่กำลังเติบโตตามโลกอนาคต อีกด้วย

    6. กลยุทธ์การลงทุนหุ้น Growth ในช่วงเวลานี้ ?

    กลยุทธ์การวิเคราะห์ลงทุนหุ้น Growth ของ J.P. Morgan จะออกเป็น 2 รูปแบบ นั่นคือ

    - รูปแบบ Bottom Up คือการวิเคราะห์หุ้นรายตัวเป็นหลัก
    - รูปแบบ Micro Focus คือการวิเคราะห์ลงรายละเอียดเล็ก ๆ เพราะเชื่อว่าจุดเล็ก ๆ จะนำไปสู่ความแตกต่างจากบริษัทอื่นอย่างมีนัยสำคัญได้ เช่น Facebook ที่กำลังได้รับประโยชน์จากโฆษณาออนไลน์อย่างต่อเนื่อง

    เป้าหมายคือ การค้นหาหุ้นสหรัฐอเมริกาที่กำลังเติบโตมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ ภายใต้ 3 ลักษณะสำคัญคือ

    - ธุรกิจที่มีผลต่อการบริโภค หรือการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
    - ธุรกิจที่มีความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว มีกำไรที่แข็งแกร่ง
    - ธุรกิจที่มีการเคลื่อนไหวของราคาหุ้น (Momentum) ทิศทางเชิงบวก ดังนั้นต้องรู้จักทำใจให้นิ่งเพื่อรอจังหวะ Momentum ที่ดีได้

    อีกหนึ่งกลยุทธ์การลงทุนที่สำคัญก็คือ การปรับพอร์ตลงทุนอยู่เสมอ โดยจะลดน้ำหนักหุ้นที่มีราคาปรับตัวขึ้นมานานหลายปี และตลาดรับรู้ข่าวทั้งหมดแล้ว

    เช่น กลุ่มเทคโนโลยีชั้นนำอย่าง Microsoft, Apple ถูกลดสัดส่วนตั้งแต่ปีที่แล้ว เพื่อนำเงินไปลงทุนหุ้นที่จะเป็น “Big Winner” ตัวต่อไป แต่ก็ไม่ได้ขายหมดทั้งพอร์ต เพราะยังมองว่าเป็นธุรกิจที่ดีระยะยาว

    นอกจากนี้ ด้วยความเป็นกองทุนแบบ Active ของ J.P. Morgan ยังมองเห็น 2 กลุ่มธุรกิจที่น่าสนใจคือ

    - กลุ่มการเงิน โดยจะลงทุนทั้งสถาบันการเงินขนาดใหญ่ที่ได้ประโยชน์จากแนวโน้มดอกเบี้ยขาขึ้น และกลุ่ม Online Payment

    - กลุ่มเทคโนโลยี 5G และ EV โดยที่มองลงลึกไปถึง “ทองแดง” ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของกลุ่มเทคโนโลยี จึงเข้าไปลงทุนบริษัท Freeport-McMoRan หนึ่งในธุรกิจเหมืองแร่ทองแดงที่ใหญ่ที่สุดในโลก

    7. ตัวอย่างธุรกิจที่เข้าข่ายหุ้น Growth ที่น่าสนใจ ?

    ธุรกิจในกลุ่ม Digital Advertising เช่น Snap Inc. เจ้าของแอปพลิเคชัน Snapchat ที่มียอดผู้ใช้งานเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว

    นอกจากนี้ยังมีการขยายฐานผู้ใช้งานไปยังประเทศอินเดีย ทำให้มีโอกาสเติบโตในเรื่องของเม็ดเงินโฆษณาได้อีกมาก ซึ่ง 2 ปีที่ผ่านมา รายได้ของ Snapchat ก็เติบโตเฉลี่ยปีละ 46%

    ธุรกิจในกลุ่มต่อมาก็คือ Online Payment เช่น PayPal ที่ได้ประโยชน์จากการใช้ชีวิตในยุค New Normal และตอบโจทย์ในการชำระเงินยุคใหม่

    ซึ่งจากผลการดำเนินงานในไตรมาสล่าสุด PayPal มีจำนวนบัญชี Active User เติบโต 16% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ในขณะที่จำนวนธุรกรรมเติบโต 40% จากปีก่อนหน้า

    ธุรกิจในกลุ่มสุดท้ายก็คือ ธุรกิจนอกกลุ่มเทคโนโลยี เช่น John Deere ผู้ผลิตและจำหน่ายรถแทรกเตอร์ อุปกรณ์การเกษตรที่นำเทคโนโลยีมาใช้กับการเกษตร ตอบโจทย์การเกษตรสมัยใหม่และเทรนด์ความยั่งยืน
    หากสหรัฐอเมริกามีการเก็บภาษีจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก็จะเป็นประโยชน์โดยตรงกับ John Deere

    ซึ่งหุ้น 3 ตัวนี้ ก็เป็นหุ้นที่ J.P. Morgan ลงทุนเป็น Top Holding อีกด้วย

    8. ตอนนี้หุ้น Growth แพงไปหรือยัง ?

    ในมุมมองของกองทุนบัวหลวง คิดว่าหุ้น Growth ยังไม่แพงเกินไป ถึงแม้ว่าจะผ่านช่วงสูงสุดไปแล้ว แต่ก็ยังมีโอกาสเติบโตได้อยู่

    โดยหากมาดูในส่วนของค่ากลางของ P/E Ratio S&P 500 พบว่า อยู่ที่ 20 เท่า สะท้อนให้เห็นว่า ยังมีโอกาสที่เรายังสามารถหาหุ้นที่มีแนวโน้มเติบโตในราคาที่สมเหตุสมผลได้อยู่

    และที่ผ่านมาดัชนี S&P 500 ก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ P/E ทยอยปรับลดลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากกำไรของบริษัทเติบโตอย่างรวดเร็ว

    โดยในปี 2021 มีการคาดการณ์ว่ากำไรของบริษัทใน S&P 500 จะโต 60% ในขณะที่ในปี 2022 S&P มีการคาดการณ์ว่ากำไรจะโตต่ออีก 15% จากปี 2021
    จากตรงนี้ก็จะเห็นได้ว่า ยังมีอีกหลายธุรกิจที่ผลการดำเนินงานยังมีแนวโน้มที่จะเติบโตได้อยู่

    9. ผลตอบแทนการลงทุน ด้วยกลยุทธ์แบบ J.P. Morgan เป็นอย่างไร ?

    จากกลยุทธ์ Active Management ที่เน้น Micro Focus ทำให้กองทุน JPM US Growth ที่มีนโยบายลงทุนในหุ้นสหรัฐอเมริกา มีผลการดำเนินงานที่ค่อนข้างดีมาอย่างต่อเนื่อง

    หากเรามาดูผลการดำเนินงานของกองทุน JPM US Growth จะพบว่า ถ้าดูย้อนหลังไป 3 ปี เฉลี่ยต่อปีแล้ว ผลตอบแทนจะเท่ากับ 27% สูงกว่าเมื่อเทียบกับ Benchmark ที่เป็น Russell 1000 ที่เน้นเฉพาะหุ้นเติบโต ซึ่งถ้าย้อนหลัง 5 ปี ผลการดำเนินงานก็ดีกว่าเช่นกัน

    เมื่อมาดูการจัดอันดับของ Morningstar พบว่ากองทุน JPM US Growth อยู่ใน First Quartile คือเป็นหนึ่งในกองทุนที่ทำผลการดำเนินงานได้ดีอยู่ในเกณฑ์ดีที่สุดในกลุ่มอีกด้วย

    หากมาดูด้าน Valuation ของกองทุน JPM US Growth จะเห็นว่า กองทุนนี้มี P/E Ratio ที่ต่ำกว่า Benchmark แต่มีอัตราการเติบโตของกำไร (%EPS Growth) สูงกว่า Benchmark และ S&P 500

    10. เราจะลงทุนหุ้นสหรัฐอเมริกาในรูปแบบกองทุน ได้อย่างไร ?

    กองทุน B-USALPHA เป็นกองทุน Feeder Fund ที่ลงทุนในกองทุนหลัก คือ JP Morgan US Growth Fund ไม่ต่ำกว่า 80%

    ซึ่ง JP Morgan US Growth Fund เป็นกองทุนแนว Active Management เน้นลงทุนในหุ้นที่เติบโตสูงกว่าที่ตลาดมองไว้

    และในส่วนที่เหลือผู้จัดการกองทุนของบัวหลวง ก็อาจลงทุนในหุ้นสหรัฐอเมริกาที่น่าสนใจเป็นรายตัว
    ซึ่งน่าจะให้ผลตอบแทนที่ดีระยะยาวได้ เหมือนที่ทำกับ B-FUTURE และ B-CHINE-EQ

    กองทุนนี้ ยังมีนโยบายการจ่ายเงินปันผล เพราะปัจจุบันอยู่ในภาวะอัตราดอกเบี้ยต่ำ
    ผู้ลงทุนส่วนใหญ่จึงหันมาหาสินทรัพย์เสี่ยง หรือหุ้น กันมากขึ้น การจ่ายเงินปันผลจะช่วยให้ผู้ลงทุนมีเงินระหว่างทาง ไม่ต้องคอยดูจังหวะการขายทำกำไร และสามารถลงทุนได้นานขึ้น

    11. สุดท้ายแล้ว แนวทางของกองทุน B-USALPHA จะช่วยบริหารพอร์ตการลงทุนภาพรวมของคุณได้อย่างไร ?

    ในมุมมองการจัดพอร์ตลงทุน การกระจายสินทรัพย์เสี่ยงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก
    ในมุมมองของกองทุนบัวหลวงคือ การจัดพอร์ตให้เหมาะสมกับระดับความเสี่ยง ทั้งในส่วนสินทรัพย์เสี่ยงต่ำและเสี่ยงสูง

    ในส่วนสินทรัพย์เสี่ยงสูงที่เป็นหุ้นทั่วโลก ส่วนใหญ่จะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ การเอามาเป็นแกนหลักของพอร์ต (Core Port) กับเอาเป็นตัวเร่งในแต่ละธีม (Thematic) โดยส่วนที่เป็นแกนหลัก ควรที่จะให้มีการกระจายหลายประเทศ และหลายกลุ่มอุตสาหกรรม

    แล้วควรลงทุนในหุ้นสหรัฐอเมริกาเท่าไร ? หากอ้างอิงจาก MSCI Index มีสัดส่วนบริษัทในสหรัฐอเมริกา กว่า 58% อย่างไรก็ตามก็ขึ้นอยู่กับความชอบ ความเสี่ยงที่รับได้ และความเข้าใจของแต่ละคนด้วย

    เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเป็นตลาดใหญ่ที่พัฒนาแล้ว มีผลการดำเนินงานดีที่สุดใน 10 ปีที่ผ่านมา คือปีละ 14% และมีความผันผวนต่ำ เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ

    สรุปได้ว่า การลงทุนหุ้นสหรัฐอเมริกา ถือว่าเป็นของต้องมีในพอร์ต และกลยุทธ์การลงทุนแบบ Active ในหุ้นเติบโต ย่อมมีแนวโน้มให้ผลตอบแทนที่ดีด้วย นั่นเอง..

  • bottom-up 在 Melinda Looi Youtube 的精選貼文

    2021-06-19 18:02:27

    Since I am also a local Malaysian brand. I like to support local products from the local farmers, stores and brands. Today I have Ayam Kampung (village free range chicken) from Ah Lau @Ahlaufking the famous violinist @dennisviolin .. Very healthy looking chicken. Not much fat and affordable, NICE!

    So I thought of sharing this recipe with you all. My Poh Poh used to make us stuffed mackerel fish, stuffed chicken and stuffed veggie, which I plan to show soon in the next IGTVs.

    You need to prepare this a day ahead. Debone the chicken from the bottom up (by still keeping the whole chicken in shape, don't cut the body), marinate it overnight before you stuff the fillings the next day.

    Ingredients :
    . one whole chicken

    MARINATION-
    . 4 Cloves garlic
    . lemon juice
    . small piece galangal
    . 3 tsp soya sauce
    . black pepper
    . ginger juice

    - Grind them to a smooth paste -

    FOR THE STUFFING-
    . 1kg of minced chicken, it is also depending on the size of your chicken
    . Cut spring onions
    . Chop 1 big red onion
    . Shredded carrot
    . Green peas
    . 2 cloves chopped garlic
    . Sesame Oil
    . Salt
    . Black Pepper
    . Pounded curry leaves
    . Chopped coriander

    -Mix them all up and leave overnight or at least few hours before using-

    FOR ROASTING- You will need some oil or butter , baking paper, black pepper and Thyme.

    FOR GARNISHING - use any type of vegetable, or fruits like berries and pineapple or orange.

    You may also prepare a sauce of your choice to serve. I like to eat them with my own Mel's Kidnap Me Hot Sauce (you want to know how I make it?)

    Alright, have a good cooking time!

    #Melindalooi #Melindalooirtw #Melcooks #laiyeekitchen #SupportLocal #Buylocal #EatLocal #WearLocal #BeALocal #MelCares #IdoCare #WeAreAllINThisTogether #WeMustHelpEachOther #JustHelpingHands  #TogetherWeWillBeatThis

    This is not a sponsor video,  I do care and want to support local products.  Me as a local brand finds it difficult too. But I want to be hopeful and think positive. I love to help local small businesses and brands to promote their products. So do whatsapp Ray at 0122940298 and we will try to use whatever may come. Bring on the challenge! Let's help each other in this difficult time.

  • bottom-up 在 ezManager Youtube 的精選貼文

    2021-05-17 10:46:33

    陳時中部長這兩天直播也說到的topdown這是什麼概念??
    :: Bottom-Up、Top-Down的策略用在投資 , 教育, 企業管理上,分別會如何呈現?
    (投資採用Bottom-Up的策略更關注選股;教學採用Top-Down的策略更適合學英文或外語)
    ::IBM,FB,紐約時報都在用的Bottom Up Approach由下往上管理法,與 相反的Top Down由上往下方法 各自的優缺利弊, 適合哪一種團隊組織呢?我們個人又可以如何應用?
    ::增加我們看事情的角度與思考邏輯
    ::鼓勵員工多參與決策,幫助團隊信任感與士氣up!

    #國外商管類 讀書會,Great Managers are made, not born. 管理職人、熱愛學習的夥伴們,用一杯茶的時間,減少眼力腦力轉換成本,內化成你的獨門攻略。

    ★ 本集私語:
    歡迎加入我們讀書會一起交流分享 (FB私密社團加入需填email,若被拒絕請再寫一次即可)

    ★ 優惠活動:
    感謝先樂音響商品贊助 [佳樂CAROL-920s] 外銷品動圈式超心型麥克風 (本集使用)。有興趣可參考-不專業三款mic實測與 團購優惠85折 youtu.be/rUovXlLWftQ (RODE podmic / CAROL 920s / 鐵三角 ATR 2100x-USB )

    ★ 本集重點摘錄:
    這個名詞Top Down vs Bottom-Up Approach 早期主要是用在程式設計 與解決問題的技巧。
    「由上而下Top Down 」或「由下而上Bottom Up」這兩種解題方法,有時個別套用便可解決問題,有時則是在思考模式採取「由上而下」,把問題先分析、拆解之後,再採取「由下而上」的方式完成整體實作。

    我們今天來看這種邏輯應用到了投資策略 以及 教學模式與 管理模式上,三種不同面向/三種維度的應用案例,
    最後我們會分享這兩種應用在管理上的利弊,這樣幫助我們活絡自己的管理思維,商業思維,以及看事情的角度!

    主管們也可以想想怎樣的搭配是對自己的組織最好的,也會舉出個人過往的案例分享。
    每家公司都是獨一無二的,並具有自己的文化,在做出任何範圍的決策時都需要考慮這一文化。


    以下問題可以幫助您得出以下結論:
    貴公司如何實施目標設定?
    各級員工是否感到與公司的總體使命和目標聯繫在一起?
    員工對工作和職責擁有什麼所有權?
    領導層如何與團隊溝通?

    這些問題可以指導您選擇最適合您的組織及其需求的管理風格。

    ★ 本集提到的過往重點:,
    Ep25.讀書會 的 00:11:30
    Ep19.管理學名詞 微觀管理


    ★ 本集分點章節:

    (00:00:14) 本集大綱
    (00:01:03) Hans168199聽友留言
    (00:01:29) 本集開始
    (00:05:09) 應用在管理領域,兩者優缺點
    (00:12:21) 使用哪種管理法的自評問題/兩者混合模式
    (00:13:00) 面對不想參與決策的員工,事後又很多抱怨


    ★ 本集補充資料

    Top Down vs Bottom Up Approach: Which is Best for Your Organization?|Task https://reurl.cc/9ZjaMn

    =====================
    Music C.C. by Chester Bea Arthur -Folk Physics / Free Sound Effects https://lihi1.cc/QIOep

    @同步更新至
    Spotify|Google podcast|Firstory|KKbox|SoundOn|Pressplay| Youtube |TuneIn|MixerBox|Himalaya|CastBox ....等28平台

    @節目鼓勵與反饋請到Apple Podcast 給五顆星留言& 記得訂閱
    :: 如果您喜歡,請贊助鼓勵我們繼續製作節目💰 https://lihi1.cc/s1mES (50秒影片教學, lihi1.cc/N8vYt )
    @活動: 一日之星|報名當來賓|Podcaster聯盟接案推廣計畫 https://lihi1.cc/C3EEF
    @如果你也想開始做自己的podcast ,歡迎使用 Firstory 的邀請碼W-B23W9K可得小額啟動基金

    ★ 本集快問快答:

    如果你已有你個人的優勢識別答案,歡迎加入我們讀書會一起交流分享、彼此砥礪喔
    以上都來這網址分享 https://lihi1.cc/tZCUD 或 FB社團

    @ 歡迎分享

    1. 你為何會當上主管?

    2. 你是幾歲當上主管?

    3. 留下一句主管真心話



    @你也想要有一個公司以外的交流成長小組、經驗轉換&彼此支持嗎? 免費加入 讀書會群組

    :: IG:www.instagram.com/ezmanagergo

    :: FB社團: https://lihi1.cc/NOlrM



    @合作接洽 ezmanagerGo@gmail.com (不分大小寫)



    :: 上Youtube搜尋「怎麼給星評分」一分鐘教學影片,或點這 https://lihi1.cc/N8vYt (分享給你沒在聽podcast的親友)

  • bottom-up 在 Mark Sir 教室 Youtube 的最佳解答

    2020-09-09 18:21:13

    影片攝於 2020 年 5 月

    【一個啞鈴、兩個循環、三個男人、四種動作】

    新一輪的 《#與區議員一齊運動》 我們找來了 梁晃維 Fergus Leung 與 方浩軒 Willis Fong 與大家去到大學堂,一起操練腹肌

    與較早前袁嘉蔚示範的全自體重鍛煉不一樣,今次我們增加了提升強度的一項簡單練習工具: 啞鈴

    溫故知新,腹肌三大功能包括:Spinal Flexion 屈曲脊椎 ( Bottom Up 從下向上、 Top Down 從上向下)、 旋轉傾側 / 反旋轉 ( Rotational / Anti-Rotational ) 、 Stabilizing 穩定身體

    一般而言,從下向上的能力比較弱,從上向下最強,所以練習順序上亦係以 Bottom Up 動作先行,課表如下:

    1. Weighted Leg Raise 負重舉腳 (一分鐘)
    2. Russian Twist 俄式扭轉 (一分鐘)
    3. Power Up (Weighted Sit-up) 負重仰臥起坐 (一分鐘)
    4. Leg Raise Hold 舉腳維持 (三十秒)
    [如有餘力者,可以置放啞鈴於腿上變成 Weighted Leg Raise Hold ,或者手提啞鈴,同時使肩胛骨離地,變成 Weighted Hollow Hold 負重空腹維持]

    然後,休息三十秒,把上述動作重覆一輪

    一般而言,十公斤以下的重量已足夠普通人使用,如果第一輪太疲累,可以在第二輪選用輕兩公斤左右的啞鈴。 練習可以每周做六日,休息一日,一、兩個月下來就可以提升到腹部的力量和線條了

你可能也想看看

搜尋相關網站