[爆卦]Arbeiter是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇Arbeiter鄉民發文沒有被收入到精華區:在Arbeiter這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 arbeiter產品中有5篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, เมื่อญี่ปุ่น กำลังเต็มไปด้วย คนไม่ทำงาน /โดย ลงทุนแมน คนที่ไม่ทำงานทำการอะไรเลย จะถูกเรียกว่า “ชาวนีต” หรือ NEET หรือที่คนญี่ปุ่นจะนิยมเรียกว่า “นีตโต...

 同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...

arbeiter 在 每天德意一點 Instagram 的最讚貼文

2021-08-18 21:23:56

【#凱派德辭典】 🔅每個月的發薪日就是最爽的日子拉!! 在領薪水的時候有沒有想過薪水的德文是甚麼? ✍️大家應該看過很多相關字彙: ✔️das Einkommen 收入 ✔️das Gehalt 工資 ✔️der Lohn 薪資 ✔️der Gewinn盈利、獎金 ✔️das Verdienst...

  • arbeiter 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文

    2021-08-06 20:00:29
    有 12,470 人按讚

    เมื่อญี่ปุ่น กำลังเต็มไปด้วย คนไม่ทำงาน /โดย ลงทุนแมน
    คนที่ไม่ทำงานทำการอะไรเลย จะถูกเรียกว่า “ชาวนีต” หรือ NEET หรือที่คนญี่ปุ่นจะนิยมเรียกว่า “นีตโตะ”

    NEET มาจากคำภาษาอังกฤษว่า Not in Education, Employment or Training ซึ่งก็คือ บุคคลที่ไม่ได้อยู่ในสถานะเรียน ทำงาน หรือฝึกงานใด ๆ

    แล้วญี่ปุ่น กำลังมี ชาวนีต มากขนาดไหน
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ชาวนีตส่วนใหญ่ในญี่ปุ่นจะมีอายุอยู่ที่ราว 18-34 ปี ซึ่งจัดอยู่ในวัยนักศึกษา และวัยเริ่มทำงาน แต่คนเหล่านี้กลับเลือกที่จะเก็บตัวอยู่แต่บ้าน เล่นเกม หรือไม่ก็นั่ง ๆ นอน ๆ ไปวัน ๆ

    บางคนก็ถึงขนาดหลอกลวงคนที่บ้าน หรือหลอกเพื่อนฝูงว่ามีหน้าที่การงานที่ดี ออกจากบ้านแต่เช้าแล้วกลับค่ำ ๆ ทุกวัน
    แต่ความจริงไม่ได้ไปทำงาน กลับไปนั่งอยู่ร้านเกม หรือร้านปาจิงโกะ ใช้ชีวิตให้หมดไปหนึ่งวัน

    ชาวนีตเหล่านี้อาศัยอยู่บ้านกับพ่อแม่ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดก็มาจากเงินจากพ่อแม่ ครอบครัวไหนที่มีฐานะดี ลูกที่เป็นนีตก็มีเงินพอจะออกไปใช้ชีวิตนอกบ้าน

    แต่บางครอบครัวพ่อแม่เกษียณแล้วได้รับบำนาญไม่มาก หรือพ่อแม่ทำงานแต่มีเงินใช้ไม่พอ พ่อแม่ก็อาจจะต้องหางานเพิ่มเพื่อเลี้ยงดูลูกนีต

    สาเหตุของการเป็นชาวนีตมีได้หลากหลาย
    ทั้งจาก การเบื่อชีวิตการทำงานที่หนักหนาและเคร่งเครียดของสังคมญี่ปุ่น, ความรู้สึกสิ้นหวังในชีวิตวัยเรียน จากการถูกบุลลีในชั้นเรียน

    ทำให้หลายคนเลือกที่จะปลีกตัวออกจากสังคมมาตั้งแต่นั้น
    รวมถึงการเลี้ยงดูของบางครอบครัวที่ตามใจลูกมากจนเกินไป จนทำให้ลูกไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพชีวิตในสังคมได้

    ชาวนีตที่เก็บตัวอยู่ที่บ้านและไม่ออกไปไหนนาน ๆ เข้า มีแนวโน้มสูงที่จะกลายเป็น “ฮิคิโคโมริ” หรือบุคคลที่ไม่ออกจากบ้าน ไม่ออกไปพบปะกับใครเลยนอกจากคนในครอบครัว เป็นเวลานานกว่า 6 เดือน

    จำนวนชาวนีตในญี่ปุ่นไม่สามารถระบุได้แน่ชัด เพราะส่วนใหญ่มักไม่ยอมรับว่าตัวเองเป็นนีต
    แต่ก็ถูกคาดการณ์ว่าอาจมีไม่ต่ำกว่า 650,000 คน
    ส่วนองค์กร OECD มีการคาดการณ์ว่า อาจมีชาวนีตอยู่มากกว่า 1,000,000 คนทั่วประเทศญี่ปุ่น

    นอกจากชาวนีตแล้ว ในสังคมญี่ปุ่นยังมีคนอยู่อีกกลุ่มหนึ่ง ที่ถูกเรียกว่า “ฟรีเตอร์ (Freeter)” หรือที่คนญี่ปุ่นนิยมเรียกว่า ฟรีตะ..

    Freeter มาจากภาษาอังกฤษว่า Free รวมกับภาษาเยอรมัน Arbeiter ซึ่งแปลว่า คนทำงาน
    เมื่อรวมกันจึงแปลว่า คนที่รับงานเป็นจ๊อบ ๆ

    แต่งานสำหรับชาวฟรีเตอร์ ส่วนมากมักเป็นงานที่ต่ำกว่าวุฒิ และได้รับค่าแรงต่ำ เช่น งานในร้านสะดวกซื้อ งานแจกสินค้าทดลอง หรืองานในร้านอาหาร

    สาเหตุที่ทำให้ต้องมาเป็นชาวฟรีเตอร์ ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดจากการหลีกหนีชีวิตการทำงานประจำที่เคร่งเครียดและทำงานหนัก จึงลาออกมาทำงานเล็ก ๆ น้อย ๆ แทน และมักเปลี่ยนงานไปเรื่อย ๆ บางคนก็เฝ้ารองานในฝันที่ตัวเองอยากทำ จนไม่ยอมทำงานประจำอื่น ๆ เลย

    ชาวฟรีเตอร์บางส่วนก็ยังคงอาศัยอยู่บ้านกับพ่อแม่ แต่ก็มีไม่น้อยที่แยกไปหาห้องเช่าถูก ๆ เพราะยังพอมีรายได้อยู่บ้าง บางคนก็นิยมการย้ายที่พักไปเรื่อย ๆ ตามงานที่เปลี่ยนไปเรื่อย ๆ

    จำนวนของชาวฟรีเตอร์ในญี่ปุ่นก็ประมาณได้ยากเช่นกัน เพราะไม่ค่อยมีใครยอมรับว่าเป็นฟรีเตอร์ แต่ประมาณกันว่าในญี่ปุ่นปัจจุบันมีฟรีเตอร์อยู่ราว 10 ล้านคน

    หากลองรวมจำนวนของทั้งชาวนีตและชาวฟรีเตอร์ก็จะพบว่า
    จำนวนนี้มีอยู่สูงถึงเกือบ 11 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน 8% ของประชากรญี่ปุ่น
    และคิดเป็นสัดส่วนถึง 15% ของวัยแรงงานในประเทศญี่ปุ่น

    สภาพสังคมที่เต็มไปด้วยชาวนีตและฟรีเตอร์ ทำให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจหลายอย่าง

    ทั้งการทำให้ผู้ประกอบการหาแรงงานได้ยากยิ่งขึ้น ในภาวะขาดแคลนแรงงานที่รุนแรงขึ้น
    กิจการหลายแห่งก็อาจต้องปิดตัวลง หรือย้ายไปลงทุนยังต่างประเทศ
    มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางเศรษฐกิจของประเทศก็ลดต่ำลงเรื่อย ๆ

    ในปี 1995 GDP ของประเทศญี่ปุ่น อยู่ที่ 5.4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 178 ล้านล้านบาท
    ซึ่งเคยมากกว่า GDP ของทุกประเทศในทวีปเอเชียที่เหลือรวมกัน

    เวลาผ่านไปเกือบ 30 ปี GDP ของญี่ปุ่นในปี 2020 อยู่ที่ 5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
    แทบไม่แตกต่างจาก GDP ปี 1995

    เรียกได้ว่า เศรษฐกิจของญี่ปุ่นแทบไม่เปลี่ยนแปลงเลยตลอดเวลาเกือบ 30 ปี จนคนทั้งโลกรู้จักกันในชื่อ “3 ทศวรรษที่หายไป” ของญี่ปุ่น

    ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดทศวรรษที่หายไป มาจากจำนวนประชากรที่ลดลง และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ญี่ปุ่นมีคนสูงอายุมากกว่า 65 ปี คิดเป็นสัดส่วนถึง 28.4% ของประชากรทั้งหมด ในปี 2020

    แต่สังคมญี่ปุ่นยังมีปัญหาที่ซุกซ่อนอยู่มากกว่านั้น ก็เพราะมีคนในวัยทำงานจำนวนไม่น้อย ที่เป็นชาวนีต

    เมื่อไม่มีแรงงานประจำ รัฐบาลก็มีแนวโน้มเก็บภาษีมาใช้จ่ายในด้านต่าง ๆ ได้ลดลง โดยเฉพาะการเลี้ยงดูผู้สูงอายุของญี่ปุ่นที่นับวันมีแต่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

    การเป็นภาระของครอบครัวในการเลี้ยงดู ชาวนีตหลายคนมีอายุถึงวัยเลข 4 แล้ว แต่ยังคงพึ่งพาเงินจากพ่อแม่ บางคนพ่อแม่ก็เข้าสู่วัยเกษียณแล้ว เมื่อรายได้ไม่พอก็อาจเลือกก่อปัญหาอาชญากรรม จนกลายเป็นภาระให้สังคมต่อ

    ชาวนีตและฟรีเตอร์ส่วนมากมักอยู่ตัวคนเดียว ไม่มีครอบครัว และไม่คิดที่จะมีด้วย อัตราเกิดของญี่ปุ่นที่ตกต่ำอยู่แล้ว ก็ยิ่งมีแนวโน้มจะลดต่ำลงไปอีก

    รัฐบาลญี่ปุ่นพยายามแก้ไขปัญหาเพื่อไม่ให้คนรุ่นใหม่กลายเป็นชาวนีตและฟรีเตอร์ มาตั้งแต่ปี 2004

    ทั้งการจัดโปรแกรม “Job Education” ลงไปในหลักสูตรของโรงเรียน เพื่อให้เด็ก ๆ เข้าใจโลกของการทำงานหลังเรียนจบ และมีความคิดที่ดีต่อการทำงานในอนาคต

    การเพิ่มความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคธุรกิจให้มากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกงาน และเรียนรู้ชีวิตการทำงานให้มากที่สุด รวมถึงการจัดค่ายเยาวชน ให้เยาวชนได้พบปะกับบุคคลอื่น เพื่อสร้างทักษะทางสังคมที่ดี

    แต่อย่างไรก็ตาม แนวโน้มปัญหานี้ก็ยังคงไม่คลี่คลายมากนัก เพราะค่านิยมการทำงานแบบญี่ปุ่น ที่ทุ่มเทให้กับองค์กร และการทำงานหนักยังคงมีอยู่มากในสังคมการทำงาน ซึ่งก็ยิ่งผลักดันให้คนรุ่นใหม่เลือกที่จะเป็นชาวนีตและชาวฟรีเตอร์กันมากขึ้น

    รัฐบาลญี่ปุ่นจึงต้องพยายามทุกวิถีทางเพื่อให้เศรษฐกิจเดินหน้าต่อไปได้ ทั้งการขยายอายุเกษียณไปจนถึง 65 ปี เพื่อให้มีวัยแรงงานมากเพียงพอที่จะเสียภาษี

    การเปิดรับแรงงานต่างชาติมากขึ้น เพื่อมาทดแทนแรงงานที่ขาดหายไป ทั้งแรงงานที่สูงวัย และแรงงานที่ไม่ยอมทำงาน

    ก็เป็นที่น่าคิดว่า สังคมญี่ปุ่นในวันข้างหน้าจะเป็นอย่างไรต่อไป

    โดยเฉพาะในปี 2050 หรืออีก 30 ปีข้างหน้า
    ที่ประเทศญี่ปุ่นจะมีผู้สูงอายุ ที่อายุมากกว่า 65 ปี คิดเป็นสัดส่วนถึง 37.6% ของจำนวนประชากรทั้งหมด

    ซึ่งดูเหมือนว่า “ทศวรรษที่หายไปของญี่ปุ่น” จะยังคงไม่กลับคืนมาง่าย ๆ..
    ╔═══════════╗
    Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
    ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
    แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
    Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
    ╚═══════════╝
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - longtunman.com
    Blockdit - blockdit.com/longtunman
    Facebook - facebook.com/longtunman
    Twitter - twitter.com/longtunman
    Instagram - instagram.com/longtunman
    Line - page.line.me/longtunman
    YouTube - youtube.com/longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
    Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
    References:
    -https://www.statista.com/statistics/263578/gross-domestic-product-gdp-of-japan/
    -https://jpninfo.com/11831
    -http://yabai.com/p/2715
    -https://www.oecd.org/newsroom/japan-should-do-more-to-help-young-people-take-part-in-the-labour-market.htm
    -https://www.populationpyramid.net/japan/2020/

  • arbeiter 在 元毓 Facebook 的最佳解答

    2021-07-03 10:56:48
    有 84 人按讚

    舊文重貼:

    2020年7月5日 ·

    【我如何運用法律與經濟學在投資決策:營業中斷保險】

    2004年左右我就曾為文記錄如何從消費者保護法中的「科技抗辯(state of art)」判斷當年因止痛藥Vioxx瑕疵陷入集體訴訟法律風險、股價腰斬的默克藥廠,其實真正面臨的風險並不高,並大膽$26美元危機入市,兩年半後$50多美元陸續獲利了結。
    這部份可以參考後來2018年寫得更清楚的【效率市場假說是錯誤的】一文。
    這是一次靠法律專業知識的價值投資操作。
    近日因Covid-19在美國失控的疫情,我們又看到新一波影響更廣的法律爭議浮出抬面:營業中斷(business interruption)。
    美國各州政府的封城(lockdown)措施使得許多中小企業面臨無法營業、營收中斷、現金流鎖死的倒閉危機。原本這些中小企業購買的商業保險,幾乎都有「營業中斷條款」,此條款大概涵蓋範疇如下(以Allstate公司為例):
    1. 預期收入損失(For lost income from the destroyed merchandise (minus expenses you may have already paid, such as shipping).Your pre-loss earnings are the basis for reimbursement under business interruption coverage. Lost earnings, also known as the actual loss sustained, are typically defined as revenues minus ongoing expenses. )
    2. 額外支出( For extra expenses if you must temporarily relocate your business because of the fire (for example, the cost of rent at the temporary location).)
    然而近日上百萬家申請保險賠償的中小企業卻遭到保險公司拒付,理由是:「Covid-19疫情並未造成實質物理損失(actual physical loss)」。
    什麼?賠到當內褲還叫沒有損失?這是怎麼一回事?
    一、美國商業保險營業中斷(business interruption)條款法律爭議
    多數保險公司紛紛於近日在各自網站上強調「實質物理損失(actual physical loss)的存在是申請保險支付的先決條件」。實質物理損失在保險公司方面的定義為:真實損害(damage)造成營業設備、不動產失去部分或全部原本功能/效用,造成商業收入損失。
    換言之,目前美國保險公司的態度是 -- 病毒並未造成中小企業保戶物理上營業設備或不動產失去運作能力,病毒讓人致病又不讓機器廠房店面生病,當然不構成支付賠償金的條件。
    中小企業主的立場顯然相反 -- 病毒與政府封城措施造成營業上之不可能,我當初買保險不正是為了這種不可預期之風險?沒了收入但租金、工資與各項支出依然照付,損失哪裡不真實不存在?
    為何保險公司可以如此狹隘限縮解釋?這是因為此類商業保險的營業中斷條款最早源自於美國南北內戰時期,當時的商家因戰爭破壞或徵調的關係,其所擁有的商業設備或店面因此不再能持續生產失去收入,在此侷限條件下商界所應運而生的保險制度。故,美國保險法律與習慣上,對實質物理損失的看法是有歷史累積,而因循前例恰恰是普通法(common law)的核心邏輯。
    可是現代世界與南北戰爭相差100多年,難道法律上都沒有可以擴張或改變的突破口?
    有的,而此問題的法律突破口在一個我想台灣讀者大概都想不到的關鍵點 -- 「附著與污染」。
    ⟪附著與污染⟫
    附著概念在1980、1990年代都已經有州法院判決提供了初步概念,但最標誌性、最多後來者引用的則是2002年康乃迪克州聯邦地方法院的⟪Yale University v. CIGNA Ins. Co.⟫一案。
    此案中耶魯大學於1980年代的建築外牆塗漆後來證實含有重金屬鉛與石棉,造成第三人健康受損。耶魯大學根據產物保險條款,要求保險公司支付賠償金。保險公司稱:「塗漆又不影響建築物原本功用,不構成物理性實質損害。」拒絕賠償。
    官司先在康乃迪克州州法院打,州法院也是採取與保險公司相同的限縮解釋。
    但後來官司打到聯邦地方法院,聯邦地院卻採取擴張解釋:「附著」於耶魯大學建築物上的油漆,實質上「污染(contaminated)」了建築物,使其一部或全部失去了原本功用,因此構成實質物理損害。
    此觀點在2009年也於⟪Essex Ins. Co. v. BloomSouth Flooring Corp.⟫案得到位於麻州的聯邦第一巡迴法院支持,認為附著於財產上的「惡臭(odor)」也是種能造成實質物理損害的汙染。
    這也是為什麼目前我們看到針對Covid-19相關幾百個保險訴訟案中,最活躍的佛羅里達州律師John Houghtaling II主張:「『附著』於建築物、商業設施表面的冠狀病毒也是一種造成實質物理損害的汙染」。即便事實上多數公衛專家均指出目前科學證據顯示,Covid-19主要還是透過人傳人機制傳染,透過附著物體表面傳染案例屬於極少數特例。
    因為熟悉英美法的人都知道,common law的先例是一個比較可能勝訴的框架,律師多盡量把訴之主張想辦法塞進成功框架裡,即便看起來很彆扭。要是跳脫既有框架另創新法律見解,則勝訴機率很可能大減。
    但前述「附著與污染」見解並非每個法院都買單,例如紐約州州法院在2002年與2014年不同判決中都否定此擴張見解,堅持南北戰爭留下的狹義解釋。
    可這就進入我們第二個重點...
    二、經濟學角度切入:
    各州法院之間對於營業中斷(business interruption)的法律定義不同勢必會增加各州中小企業與保險公司各自在營運上的不確定性。當然,這也會增加再保險公司的不確定性。
    依據美國法架構,各州法律見解不同牽涉到跨州商務,是有高度可能最後進入聯邦最高法院以求一統一見解。然而法律訴訟程序的曠日廢時將使得中小企業不見得有足夠資金支撐到訴訟結果,但反之,希冀減少損失的保險公司們卻有相當高誘因要把戰場拖到最高法院。
    從經濟學競爭(competitiveness)的概念切入,中小企業方也必將嘗試繞過既有遊戲規則,即法律程序,試圖建立有利於自己的新遊戲規則。
    於是乎我們就見到美國知名四大主廚--Daniel Boulud (米其林兩顆星), Thomas Keller(米其林三顆星), Wolfgang Puck(米其林一顆星) 以及 Jean-Georges Vongerichten(米其林三顆星)-- 結盟,並於今年3月底去電美國總統川普,要求逼迫保險公司支付停業的商業損失。
    川普果然也在4月份內部會議上提出:「他知悉保險公司對多年支付保費的餐廳業者雨天收傘一事,雖然他也知道保險公司保單涵蓋範圍有限,但如果支付賠償金是公平的,則保險公司就應該支付。(... saying restaurateurs had told him they paid for business-interruption coverage for decades but now they need it and insurers don’t want to pay. He said he understood that some policies have pandemic exclusions, adding: “I would like to see the insurance companies pay if they need to pay, if it’s fair.)」
    熟悉制度經濟學的朋友都知道,當「無主收入」出現時,意味著租值消散(rent dissipation),也代表著整體社會的浪費。租值消散是整個經濟學最難掌握的高級概念,許多有名的經濟學家或教授,甚至某些諾貝爾獎得主,也不見得能正確理解並掌握此概念,本文並不打算詳談,請有興趣的讀者自行參考我過去幾篇舊文。
    就我所知,一般經濟學者未曾討論「準租值消散(rent dissipation on depend)」狀況 -- 在法律定義未由最高法院統一見解前,被保險人無從得知是否可以取得保險賠償金;保險人雖暫時對保費有所有權,但一旦訴訟發生依會計原則也必須劃出一部分作為賠償準備金。可是在真實世界,我們目前不存在比曠日廢時的司法或所費不貲的政治遊說(包含政治獻金/賄絡),更有效率且廣為接受的制度來安排這樣的權利衝突。
    (此處on depend概念類同於英美財產法中的on depend概念,我就不岔題解釋)
    這是說,從經濟分析角度看,在統一法律見解未出現前,此狀況是一種社會費用,以租值消散形式暫時存在。
    這就轉到本文的第三個重點,身為證券市場投資人,怎麼看怎麼應對?
    三、投資人角度
    在日常法律爭議上,此類「未有最終判決前,權利範圍或收入歸屬處於未定狀態」的狀況實屬常見。換個角度說,其實這些案件多屬於個體性風險,即便在系統內會產生一定權利範圍/未來收入預期影響,可幾乎都不會構成「系統性風險」。
    但此次對「營業中斷」定義爭議卻碰上歷史罕見的大規模被迫停業狀況,根據美國普查局 (United States Census Bureau)的資料顯示,截至今年5月8日,因被迫停業而申請Paycheck Protection Program (PPP)的中小企業高達360萬家,借款金額達$5370億美元。4月26日~5月2日該週資料更是超過51.4%企業受到疫情影響(見圖)。
    有保險公司代表說得清楚:保險原理是基於「大數法則」,亦即平時由多數人分別出資一小部分,於個別性風險實現時支付賠償金彌補其風險。但若「近乎所有出資者的風險都實現」,保險公司根本不可能同時支付所有被保險人賠償金,這已經不是個別性風險而是系統性風險,保險公司只能宣告破產。
    2008年金融風暴主因之一也是原本以為透過大數法則建立的CDOs,包裹大量不同債信的房貸債權很安全,結果不堪系統性風險實現而崩潰。
    我在今年五月份【美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?】一文中特別強調我們應該多關注CLOs(Collateralized Loan Obligation)潛在違約危機,也是著眼於此類別個別性風險轉為系統性風險的可能性激增。
    同樣的,前述營業中斷保險條款無論美國法院最終見解為何,都很可能發生二選一結果:「大規模中小企業因封城出現流動性枯竭引發的大規模倒閉風險」對上「保險公司支付如此大量賠償金恐陷大規模財務危機」。
    即便是繞過法律程序,透過政治遊說施壓美國行政單位,依然繞不開上述兩項風險必然實現其中一種的局面。
    根據富國銀行(Wells Fargo)的推估,美國目前含有營業中斷條款的保險金額約$8千億美元,其中50%透過再保險方式轉嫁。值得慶幸的是我並未查到此類保險有轉化為其他衍生性金融商品,這表示風險可能未如CDO、CLO般倍數放大。富國銀行認為美國商業保險公司應該有能力吸收$1500億左右的賠償,但根據美國普查局資料受影響商家超過5成,意味著假設$4千億索賠發生時,即便能移轉$2千億至再保險公司,依然還有約$500億的差額。
    我們要特別注意的是保險公司收到保險金後必須轉為投資方能獲利,這表示當股市下挫時保險公司的資產也會跟著縮水,償付能力也會隨之下降。例如巴菲特的Berkshire Hathaway旗下保險集團於今年第一季因支付保險賠償金淨損$4.89億美元,但同時集團資產卻也記入$550億資產減損。
    故,我前述二擇一風險實現時,會不會引發股市下挫傷害保險公司資產也值得注意。
    另一方面,有誘因把法律戰拖到聯邦最高法院的保險公司即便此策略成功執行,流動性短缺的中小企業恐怕提早實現第一種風險,對整體經濟乃至於股市同樣不利。
    身為投資人還要再小心的,是本屆Fed主席Jerome H. Powell屢破歷史紀錄的灑鈔救市風格,也很可能在前述因保險爭議而生之系統性風險可能實現時再度開啟瘋狂印鈔機制,而在經濟學上會有什麼效果,我在【美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?】一文已經講得清楚,簡言之:
    a. 證券資產價格將局部出現嚴重通貨膨脹。尤其這段時間持有美國資產者獲利率可能超越持有其他國家資產者。
    b. 各國因貨幣政策多少掛著美元,而將出現輸入性通膨。
    c. 寬鬆貨幣產生的貨幣幻覺(money illusion)將埋下更多錯誤投資地雷。
    d. 每次寬鬆貨幣救市都是以美元地位為代價。當美元地位跌破均衡點,人民幣等主要貨幣不再支撐美元,美國將出現全面性嚴重通貨膨脹,美國債券價格將大跌,許多州政府、市政府有破產可能。此時,持有美元與美國境內資產者恐受相當傷害。
    結論:
    我批評過很多次,坊間常見的「價值投資」多半只是拿幾個財務數字挪來搬去,從嚴謹的經濟學角度看這只是看圖說故事的自我欺騙行為。我認為真正有效的價值投資,是依據如經濟學這類具備科學解釋力的理論架構,蒐集真實世界的關鍵侷限條件與條件轉變從而預測未來,並嘗試從中獲利。
    掌握真實世界的關鍵侷限條件必須:a. 累積大量、多範圍的各種知識,其中法學、經濟學、基礎物理/化學/醫學乃至於某些工程實務等都是必須;與b. 有足夠的能力從無數侷限條件中分離出「關鍵」。
    我也談過,Benjamin Graham以降至巴菲特的傳統價值投資法最大缺失在於「忽略貨幣因素」,一旦出現極端貨幣現象時,價值投資幾乎失效。這部份價值投資者必須自行強攻以價格理論出發的貨幣學來彌補。
    巴菲特老夥伴Charlie Munger認為投資者需具備各種不同知識體系,吾人深以為然。此文為一又牛刀小試。
    參考資料:
    ✤ Yale University v. CIGNA Ins. Co., 224 F. Supp. 2d 402 (D. Conn. 2002)
    ✤ Matzner v. Seaco Ins. Co., 1998 WL 566658 (Mass. Super. Aug. 12, 1998)
    ✤ Arbeiter v. Cambridge Mut. Fire Ins. Co., 1996 WL 1250616, at *2 (Mass. Super. Mar. 15, 1996)
    ✤ Essex Ins. Co. v. BloomSouth Flooring Corp., 562 F.3d 399, 406 (1st Cir. 2009)
    ✤ Roundabout Theatre Co. v. Cont’l Cas. Co., 302 A.D. 2d 1, 2 (N.Y. App. Ct. 2002)
    ✤ Newman, Myers, Kreines, Gross, Harris, P.C. v. Great N. Ins. Co., 17 F. Supp. 3d 323 (S.D.N.Y. 2014)
    ✤ The Wall Street Journal, "Companies Hit by Covid-19 Want Insurance Payouts. Insurers Say No." June 30, 2020
    ✤ Steven N.S. Cheung, "A Theory of Price Control," The Journal of Law and Economics, Vol. XVII, April 1974, pp. 53-71
    ✤ Willam H. Meckling & Armen A. Alchian, "Incentives in The United States," American Economic Review 50 (May 1960), pp. 55-61
    ✤ Milton Friedman, "Money and the Stock Market," Journal of Political Economy, 1988, Vol. 96, no. 2
    ✤ Irving Fisher, "The Money Illusion," 1928
    文章連結
    https://bit.ly/3gsJK6l

  • arbeiter 在 元毓 Facebook 的精選貼文

    2020-07-05 11:16:16
    有 238 人按讚

    【我如何運用法律與經濟學在投資決策:營業中斷保險】

    2004年左右我就曾為文記錄如何從消費者保護法中的「科技抗辯(state of art)」判斷當年因止痛藥Vioxx瑕疵陷入集體訴訟法律風險、股價腰斬的默克藥廠,其實真正面臨的風險並不高,並大膽$26美元危機入市,兩年半後$50多美元陸續獲利了結。

    這部份可以參考後來2018年寫得更清楚的【效率市場假說是錯誤的】一文。

    這是一次靠法律專業知識的價值投資操作。

    近日因Covid-19在美國失控的疫情,我們又看到新一波影響更廣的法律爭議浮出抬面:營業中斷(business interruption)。

    美國各州政府的封城(lockdown)措施使得許多中小企業面臨無法營業、營收中斷、現金流鎖死的倒閉危機。原本這些中小企業購買的商業保險,幾乎都有「營業中斷條款」,此條款大概涵蓋範疇如下(以Allstate公司為例):

    1. 預期收入損失(For lost income from the destroyed merchandise (minus expenses you may have already paid, such as shipping).Your pre-loss earnings are the basis for reimbursement under business interruption coverage. Lost earnings, also known as the actual loss sustained, are typically defined as revenues minus ongoing expenses. )

    2. 額外支出( For extra expenses if you must temporarily relocate your business because of the fire (for example, the cost of rent at the temporary location).)

    然而近日上百萬家申請保險賠償的中小企業卻遭到保險公司拒付,理由是:「Covid-19疫情並未造成實質物理損失(actual physical loss)」。

    什麼?賠到當內褲還叫沒有損失?這是怎麼一回事?

    一、美國商業保險營業中斷(business interruption)條款法律爭議

    多數保險公司紛紛於近日在各自網站上強調「實質物理損失(actual physical loss)的存在是申請保險支付的先決條件」。實質物理損失在保險公司方面的定義為:真實損害(damage)造成營業設備、不動產失去部分或全部原本功能/效用,造成商業收入損失。

    換言之,目前美國保險公司的態度是 -- 病毒並未造成中小企業保戶物理上營業設備或不動產失去運作能力,病毒讓人致病又不讓機器廠房店面生病,當然不構成支付賠償金的條件。

    中小企業主的立場顯然相反 -- 病毒與政府封城措施造成營業上之不可能,我當初買保險不正是為了這種不可預期之風險?沒了收入但租金、工資與各項支出依然照付,損失哪裡不真實不存在?

    為何保險公司可以如此狹隘限縮解釋?這是因為此類商業保險的營業中斷條款最早源自於美國南北內戰時期,當時的商家因戰爭破壞或徵調的關係,其所擁有的商業設備或店面因此不再能持續生產失去收入,在此侷限條件下商界所應運而生的保險制度。故,美國保險法律與習慣上,對實質物理損失的看法是有歷史累積,而因循前例恰恰是普通法(common law)的核心邏輯。

    可是現代世界與南北戰爭相差100多年,難道法律上都沒有可以擴張或改變的突破口?

    有的,而此問題的法律突破口在一個我想台灣讀者大概都想不到的關鍵點 -- 「附著與污染」。

    ⟪附著與污染⟫

    附著概念在1980、1990年代都已經有州法院判決提供了初步概念,但最標誌性、最多後來者引用的則是2002年康乃迪克州聯邦地方法院的⟪Yale University v. CIGNA Ins. Co.⟫一案。

    此案中耶魯大學於1980年代的建築外牆塗漆後來證實含有重金屬鉛與石棉,造成第三人健康受損。耶魯大學根據產物保險條款,要求保險公司支付賠償金。保險公司稱:「塗漆又不影響建築物原本功用,不構成物理性實質損害。」拒絕賠償。

    官司先在康乃迪克州州法院打,州法院也是採取與保險公司相同的限縮解釋。

    但後來官司打到聯邦地方法院,聯邦地院卻採取擴張解釋:「附著」於耶魯大學建築物上的油漆,實質上「污染(contaminated)」了建築物,使其一部或全部失去了原本功用,因此構成實質物理損害。

    此觀點在2009年也於⟪Essex Ins. Co. v. BloomSouth Flooring Corp.⟫案得到位於麻州的聯邦第一巡迴法院支持,認為附著於財產上的「惡臭(odor)」也是種能造成實質物理損害的汙染。

    這也是為什麼目前我們看到針對Covid-19相關幾百個保險訴訟案中,最活躍的佛羅里達州律師John Houghtaling II主張:「『附著』於建築物、商業設施表面的冠狀病毒也是一種造成實質物理損害的汙染」。即便事實上多數公衛專家均指出目前科學證據顯示,Covid-19主要還是透過人傳人機制傳染,透過附著物體表面傳染案例屬於極少數特例。

    因為熟悉英美法的人都知道,common law的先例是一個比較可能勝訴的框架,律師多盡量把訴之主張想辦法塞進成功框架裡,即便看起來很彆扭。要是跳脫既有框架另創新法律見解,則勝訴機率很可能大減。

    但前述「附著與污染」見解並非每個法院都買單,例如紐約州州法院在2002年與2014年不同判決中都否定此擴張見解,堅持南北戰爭留下的狹義解釋。

    可這就進入我們第二個重點...

    二、經濟學角度切入:

    各州法院之間對於營業中斷(business interruption)的法律定義不同勢必會增加各州中小企業與保險公司各自在營運上的不確定性。當然,這也會增加再保險公司的不確定性。

    依據美國法架構,各州法律見解不同牽涉到跨州商務,是有高度可能最後進入聯邦最高法院以求一統一見解。然而法律訴訟程序的曠日廢時將使得中小企業不見得有足夠資金支撐到訴訟結果,但反之,希冀減少損失的保險公司們卻有相當高誘因要把戰場拖到最高法院。

    從經濟學競爭(competitiveness)的概念切入,中小企業方也必將嘗試繞過既有遊戲規則,即法律程序,試圖建立有利於自己的新遊戲規則。

    於是乎我們就見到美國知名四大主廚--Daniel Boulud (米其林兩顆星), Thomas Keller(米其林三顆星), Wolfgang Puck(米其林一顆星) 以及 Jean-Georges Vongerichten(米其林三顆星)-- 結盟,並於今年3月底去電美國總統川普,要求逼迫保險公司支付停業的商業損失。

    川普果然也在4月份內部會議上提出:「他知悉保險公司對多年支付保費的餐廳業者雨天收傘一事,雖然他也知道保險公司保單涵蓋範圍有限,但如果支付賠償金是公平的,則保險公司就應該支付。(... saying restaurateurs had told him they paid for business-interruption coverage for decades but now they need it and insurers don’t want to pay. He said he understood that some policies have pandemic exclusions, adding: “I would like to see the insurance companies pay if they need to pay, if it’s fair.)」

    熟悉制度經濟學的朋友都知道,當「無主收入」出現時,意味著租值消散(rent dissipation),也代表著整體社會的浪費。租值消散是整個經濟學最難掌握的高級概念,許多有名的經濟學家或教授,甚至某些諾貝爾獎得主,也不見得能正確理解並掌握此概念,本文並不打算詳談,請有興趣的讀者自行參考我過去幾篇舊文。

    就我所知,一般經濟學者未曾討論「準租值消散(rent dissipation on depend)」狀況 -- 在法律定義未由最高法院統一見解前,被保險人無從得知是否可以取得保險賠償金;保險人雖暫時對保費有所有權,但一旦訴訟發生依會計原則也必須劃出一部分作為賠償準備金。可是在真實世界,我們目前不存在比曠日廢時的司法或所費不貲的政治遊說(包含政治獻金/賄絡),更有效率且廣為接受的制度來安排這樣的權利衝突。

    (此處on depend概念類同於英美財產法中的on depend概念,我就不岔題解釋)

    這是說,從經濟分析角度看,在統一法律見解未出現前,此狀況是一種社會費用,以租值消散形式暫時存在。

    這就轉到本文的第三個重點,身為證券市場投資人,怎麼看怎麼應對?

    三、投資人角度

    在日常法律爭議上,此類「未有最終判決前,權利範圍或收入歸屬處於未定狀態」的狀況實屬常見。換個角度說,其實這些案件多屬於個體性風險,即便在系統內會產生一定權利範圍/未來收入預期影響,可幾乎都不會構成「系統性風險」。

    但此次對「營業中斷」定義爭議卻碰上歷史罕見的大規模被迫停業狀況,根據美國普查局 (United States Census Bureau)的資料顯示,截至今年5月8日,因被迫停業而申請Paycheck Protection Program (PPP)的中小企業高達360萬家,借款金額達$5370億美元。4月26日~5月2日該週資料更是超過51.4%企業受到疫情影響(見圖)。

    有保險公司代表說得清楚:保險原理是基於「大數法則」,亦即平時由多數人分別出資一小部分,於個別性風險實現時支付賠償金彌補其風險。但若「近乎所有出資者的風險都實現」,保險公司根本不可能同時支付所有被保險人賠償金,這已經不是個別性風險而是系統性風險,保險公司只能宣告破產。

    2008年金融風暴主因之一也是原本以為透過大數法則建立的CDOs,包裹大量不同債信的房貸債權很安全,結果不堪系統性風險實現而崩潰。

    我在今年五月份【美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?】一文中特別強調我們應該多關注CLOs(Collateralized Loan Obligation)潛在違約危機,也是著眼於此類別個別性風險轉為系統性風險的可能性激增。

    同樣的,前述營業中斷保險條款無論美國法院最終見解為何,都很可能發生二選一結果:「大規模中小企業因封城出現流動性枯竭引發的大規模倒閉風險」對上「保險公司支付如此大量賠償金恐陷大規模財務危機」。

    即便是繞過法律程序,透過政治遊說施壓美國行政單位,依然繞不開上述兩項風險必然實現其中一種的局面。

    根據富國銀行(Wells Fargo)的推估,美國目前含有營業中斷條款的保險金額約$8千億美元,其中50%透過再保險方式轉嫁。值得慶幸的是我並未查到此類保險有轉化為其他衍生性金融商品,這表示風險可能未如CDO、CLO般倍數放大。富國銀行認為美國商業保險公司應該有能力吸收$1500億左右的賠償,但根據美國普查局資料受影響商家超過5成,意味著假設$4千億索賠發生時,即便能移轉$2千億至再保險公司,依然還有約$500億的差額。

    我們要特別注意的是保險公司收到保險金後必須轉為投資方能獲利,這表示當股市下挫時保險公司的資產也會跟著縮水,償付能力也會隨之下降。例如巴菲特的Berkshire Hathaway旗下保險集團於今年第一季因支付保險賠償金淨損$4.89億美元,但同時集團資產卻也記入$550億資產減損。

    故,我前述二擇一風險實現時,會不會引發股市下挫傷害保險公司資產也值得注意。

    另一方面,有誘因把法律戰拖到聯邦最高法院的保險公司即便此策略成功執行,流動性短缺的中小企業恐怕提早實現第一種風險,對整體經濟乃至於股市同樣不利。

    身為投資人還要再小心的,是本屆Fed主席Jerome H. Powell屢破歷史紀錄的灑鈔救市風格,也很可能在前述因保險爭議而生之系統性風險可能實現時再度開啟瘋狂印鈔機制,而在經濟學上會有什麼效果,我在【美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?】一文已經講得清楚,簡言之:

    a. 證券資產價格將局部出現嚴重通貨膨脹。尤其這段時間持有美國資產者獲利率可能超越持有其他國家資產者。

    b. 各國因貨幣政策多少掛著美元,而將出現輸入性通膨。

    c. 寬鬆貨幣產生的貨幣幻覺(money illusion)將埋下更多錯誤投資地雷。

    d. 每次寬鬆貨幣救市都是以美元地位為代價。當美元地位跌破均衡點,人民幣等主要貨幣不再支撐美元,美國將出現全面性嚴重通貨膨脹,美國債券價格將大跌,許多州政府、市政府有破產可能。此時,持有美元與美國境內資產者恐受相當傷害。

    結論:

    我批評過很多次,坊間常見的「價值投資」多半只是拿幾個財務數字挪來搬去,從嚴謹的經濟學角度看這只是看圖說故事的自我欺騙行為。我認為真正有效的價值投資,是依據如經濟學這類具備科學解釋力的理論架構,蒐集真實世界的關鍵侷限條件與條件轉變從而預測未來,並嘗試從中獲利。

    掌握真實世界的關鍵侷限條件必須:a. 累積大量、多範圍的各種知識,其中法學、經濟學、基礎物理/化學/醫學乃至於某些工程實務等都是必須;與b. 有足夠的能力從無數侷限條件中分離出「關鍵」。

    我也談過,Benjamin Graham以降至巴菲特的傳統價值投資法最大缺失在於「忽略貨幣因素」,一旦出現極端貨幣現象時,價值投資幾乎失效。這部份價值投資者必須自行強攻以價格理論出發的貨幣學來彌補。

    巴菲特老夥伴Charlie Munger認為投資者需具備各種不同知識體系,吾人深以為然。此文為一又牛刀小試。

    參考資料:
    ✤ Yale University v. CIGNA Ins. Co., 224 F. Supp. 2d 402 (D. Conn. 2002)
    ✤ Matzner v. Seaco Ins. Co., 1998 WL 566658 (Mass. Super. Aug. 12, 1998)
    ✤ Arbeiter v. Cambridge Mut. Fire Ins. Co., 1996 WL 1250616, at *2 (Mass. Super. Mar. 15, 1996)
    ✤ Essex Ins. Co. v. BloomSouth Flooring Corp., 562 F.3d 399, 406 (1st Cir. 2009)
    ✤ Roundabout Theatre Co. v. Cont’l Cas. Co., 302 A.D. 2d 1, 2 (N.Y. App. Ct. 2002)
    ✤ Newman, Myers, Kreines, Gross, Harris, P.C. v. Great N. Ins. Co., 17 F. Supp. 3d 323 (S.D.N.Y. 2014)
    ✤ The Wall Street Journal, "Companies Hit by Covid-19 Want Insurance Payouts. Insurers Say No." June 30, 2020
    ✤ Steven N.S. Cheung, "A Theory of Price Control," The Journal of Law and Economics, Vol. XVII, April 1974, pp. 53-71
    ✤ Willam H. Meckling & Armen A. Alchian, "Incentives in The United States," American Economic Review 50 (May 1960), pp. 55-61
    ✤ Milton Friedman, "Money and the Stock Market," Journal of Political Economy, 1988, Vol. 96, no. 2
    ✤ Irving Fisher, "The Money Illusion," 1928

    文章連結
    https://bit.ly/3gsJK6l

  • arbeiter 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文

    2021-10-01 13:19:08

  • arbeiter 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答

    2021-10-01 13:10:45

  • arbeiter 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文

    2021-10-01 13:09:56

你可能也想看看

搜尋相關網站