雖然這篇ไพลิน 1 กะรัต ราคา鄉民發文沒有被收入到精華區:在ไพลิน 1 กะรัต ราคา這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 ไพลิน產品中有96篇Facebook貼文,粉絲數超過178萬的網紅ลงทุนแมน,也在其Facebook貼文中提到, อัฟกานิสถาน ประเทศที่มีขุมทรัพย์ 100 ล้านล้าน แต่ยังยากจน /โดย ลงทุนแมน รู้หรือไม่ว่าอัฟกานิสถาน ประเทศที่ความขัดแย้งกำลังทวีความรุนแรง มีทรัพยากรธรรม...
同時也有55部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅โต กีต้าร์,也在其Youtube影片中提到,คลิปนี้ทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่กำลังฝึกกีต้าร์นะครับ #ฝากกดติดตามด้วยนะครับ #คีย์_C#m ขอบคุณเจ้าของผลงานด้วยนะครับ เพลง : จากใจคนสวย ศิลป...
「ไพลิน」的推薦目錄
- 關於ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最佳貼文
- 關於ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最讚貼文
- 關於ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最佳貼文
- 關於ไพลิน 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
- 關於ไพลิน 在 วงมอซอ - ท๊อป มอซอ Facebook 的最佳解答
- 關於ไพลิน 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最讚貼文
- 關於ไพลิน 在 โต กีต้าร์ Youtube 的最佳解答
- 關於ไพลิน 在 Khakai Santanoi Youtube 的最讚貼文
- 關於ไพลิน 在 Khakai Santanoi Youtube 的最佳貼文
ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最佳貼文
2021-09-24 13:44:36
📌บ่ต้องขอโทษ จินตหรา พูนลาภ Jintara Poonlarp ft. แบม ไพลิน https://youtu.be/f2v4TtiMCjI...
ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最讚貼文
2021-08-18 09:33:02
📌บ่ต้องขอโทษ💔❤️🔥💓 จินตหรา พูนลาภ Jintara Poonlarp ft. แบม ไพลิน https://youtu.be/f2v4TtiMCjI...
ไพลิน 在 จินตหรา พูนลาภ Instagram 的最佳貼文
2021-08-18 09:33:02
📌บ่ต้องขอโทษ💔❤️🔥💓 ร้องเดี่ยว 19 สิงหาคม 2564 จินตหรา พูนลาภ Jintara Poonlarp ft. แบม ไพลิน https://youtu.be/f2v4TtiMCjI...
-
ไพลิน 在 โต กีต้าร์ Youtube 的最佳解答
2021-06-09 18:43:10คลิปนี้ทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่กำลังฝึกกีต้าร์นะครับ #ฝากกดติดตามด้วยนะครับ #คีย์_C#m
ขอบคุณเจ้าของผลงานด้วยนะครับ
เพลง : จากใจคนสวย
ศิลปิน : แบม ไพลิน
คำร้อง/ทำนอง : บิ๊กเสือ ปิยะพงษ์
เรียบเรียง : ยศดนัย ภู่ทอง
https://www.youtube.com/watch?v=6PkM0JZ9AVQ
ไพลิน 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
อัฟกานิสถาน ประเทศที่มีขุมทรัพย์ 100 ล้านล้าน แต่ยังยากจน /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ว่าอัฟกานิสถาน ประเทศที่ความขัดแย้งกำลังทวีความรุนแรง
มีทรัพยากรธรรมชาติ มูลค่ากว่า 100 ล้านล้านบาท
แต่ชาวอัฟกานิสถาน กลับยังจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่ประชากรมีรายได้ต่ำ
โดยประชากรมี GDP เฉลี่ยต่อหัวเพียง 15,814 บาทต่อปี
ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 177 จากการจัดอันดับทั้งหมด 195 ประเทศ
แล้วอะไรกัน ที่ทำให้ประเทศที่แม้จะมีทรัพยากรมูลค่ามหาศาล
แต่ประชากรยังมีรายได้ต่ำ ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
อัฟกานิสถาน คือประเทศที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นทะเลทรายที่แห้งแล้ง และพื้นที่ภูเขาหินที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ
ประเทศแห่งนี้มีสภาพภูมิอากาศที่สุดโต่ง กล่าวคือในหน้าร้อนอุณหภูมิอาจสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส
ในขณะที่หน้าหนาวจะมีหิมะปกคลุมเกือบทั่วประเทศและอุณหภูมิบางพื้นที่ อาจจะติดลบ 10 ถึง 20 องศาเซลเซียส
อย่างไรก็ตาม อัฟกานิสถาน ก็ถือเป็นอีกหนึ่งในประเทศที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติจำนวนมหาศาลอยู่ใต้ผืนดิน
โดยมีการประเมินกันว่าอัฟกานิสถานมีปริมาณน้ำมันดิบประมาณ 3,800 ล้านบาร์เรล ซึ่งเป็นแหล่งที่ยังไม่ถูกค้นพบกว่า 1,600 ล้านบาร์เรล และก๊าซธรรมชาติอีกกว่า 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร
นอกจากขุมทรัพย์ธรรมชาติในรูปแบบของเชื้อเพลิงแล้ว
ประเทศอัฟกานิสถาน ยังมีแหล่งแร่ กว่า 100 ล้านล้านบาท
โดยเฉพาะแร่ที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมในปัจจุบันที่สกัดได้ยากกว่าแร่อื่น ๆ ซึ่งถูกคาดการณ์ว่าอาจมีมากถึง 1.4 ล้านตัน ถือว่ามีปริมาณมากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
ยกตัวอย่างเช่น “ลิเทียม” เป็นแร่ที่ใช้ผลิตแบตเตอรี่คุณภาพสูง
โดยปริมาณแร่ลิเทียมในประเทศแห่งนี้มีมากถึงขนาดที่ว่าเอกสารภายในกองทัพสหรัฐฯ
ใช้คำว่า “ซาอุดีอาระเบียแห่งลิเทียม” เพื่อกล่าวถึงประเทศอัฟกานิสถาน
รวมถึงยังมีแร่ “นีโอดิเมียม” ที่ใช้สำหรับผลิตมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นชิ้นส่วนสำคัญในรถยนต์ไฟฟ้า ที่กำลังเป็นเมกะเทรนด์ของโลก
นอกจากนี้ อัฟกานิสถานยังมีโลหะมีค่าจำนวนมาก เช่น ทองคำ ทองแดง เงิน และเหล็ก ซึ่งจากการสำรวจของสำนักงานธรณีวิทยาของสหรัฐอเมริกาพบว่าอัฟกานิสถานอาจมีทองแดง 60 ล้านเมตริกตัน และแร่เหล็ก 2.2 พันล้านตัน
หรือแม้กระทั่งอัญมณีอย่าง ทับทิม ไพลิน ไพฑูรย์ ที่มีคุณภาพสูงก็สามารถพบได้ในอัฟกานิสถาน เช่นกัน
เมื่อมีขุมทรัพย์มากมายขนาดนี้ ประเทศอัฟกานิสถานก็น่าจะเป็นประเทศที่มีฐานะร่ำรวยเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่ในความเป็นจริง กลับไม่เป็นเช่นนั้น..
และกลับกลายเป็นว่าประชากรส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่ในพื้นที่ระหว่างหุบเขาเพื่อทำการเกษตรและเลี้ยงแกะซึ่งให้ผลผลิตต่ำ โดยชาวอัฟกานิสถานมี GDP เฉลี่ยต่อหัวอยู่ที่เพียง 15,814 บาทต่อปี
ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 177 จากการจัดอันดับทั้งหมด 195 ประเทศ
สาเหตุที่เป็นแบบนี้ก็เพราะว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ชาวอัฟกานิสถานเผชิญกับปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศที่จำกัดการเจริญเติบโตของภาคเอกชน
ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตคอร์รัปชัน ความไม่มั่นคงทางการเมือง โครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอ และที่รู้จักกันดีคือ ความขัดแย้งของรัฐบาลกับกลุ่มตอลิบาน
โดยกลุ่มตอลิบาน ก็ถือเป็นผู้ที่เข้ามาหาประโยชน์จากการขุดเหมืองในอัฟกานิสถานที่มีปริมาณมากและสามารถทำเหมืองแร่ได้ง่าย ไม่ซับซ้อน
ทำให้ทั่วประเทศมีเหมืองเถื่อนกว่า 2,000 แห่ง และในแต่ละเหมืองก็จะมีกลุ่มติดอาวุธหรือชุมชนในพื้นที่เป็นเจ้าของเหมือง
ซึ่งเหมืองเหล่านี้เองที่เป็นแหล่งรายได้สำคัญของกลุ่มตอลิบานจากการดำเนินการขุดเหมืองเอง หรือการรับจ้างคุ้มครองเหมือง
ในขณะที่คู่ขัดแย้งอย่างรัฐบาลอัฟกานิสถาน ไม่สามารถเข้าไปใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีค่าจำนวนมากที่มีอยู่ในประเทศได้อย่างเต็มที่
สะท้อนให้เห็นจากรายได้ทรัพยากรแร่ที่รัฐบาลอัฟกานิสถานทำได้มีไม่ถึง 2% เมื่อเทียบกับรายได้รวมของรัฐบาลต่อปี หรือคิดเป็นมูลค่าเพียง 1,300 ล้านบาท
โดยมีรายงานว่ารัฐบาลต้องสูญเสียรายได้อย่างน้อยปีละ 9,000 ล้านบาท
ให้กับเหมืองเถื่อนเหล่านี้มาตั้งแต่ปี 2001 คิดเป็นมูลค่าความสูญเสียถึงปัจจุบัน มากถึง 180,000 ล้านบาท
ซึ่งรายได้จากเหมืองเถื่อนที่กลุ่มติดอาวุธได้ไปจากจังหวัด Badakhshan อาจมีมูลค่าใกล้เคียงกับรายได้จากทรัพยากรธรรมชาติทั้งประเทศของรัฐบาลเลยทีเดียว
นอกจากความไม่สงบภายในประเทศจะทำให้รายได้ของอัฟกานิสถานหดหายไปแล้ว เรื่องดังกล่าวยังทำให้ค่าใช้จ่ายของภาครัฐฯ สูงขึ้นอีกด้วย
โดยในปี 2019 อัฟกานิสถานมีค่าใช้จ่ายด้านความมั่นคงสูงถึง 28% ของ GDP ซึ่งประเทศที่มี GDP ใกล้เคียงกัน มีตัวเลขนี้แค่ 3%
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สถานการณ์ทางด้านการเงินของประเทศยิ่งย่ำแย่ลง โดยอัฟกานิสถานเป็นประเทศที่มีการพึ่งพาเงินช่วยเหลือจากองค์กรภายนอกจากต่างประเทศในสัดส่วนที่สูงมาก
อีกทั้งการถอนกำลังทหารของประเทศพันธมิตร ที่นอกจากจะทำให้เงินสนับสนุนลดลงแล้ว
ยังทำให้รายได้จากภาคบริการภายในประเทศหดตัวลงอีกด้วย
ถึงแม้ในปัจจุบัน แร่ในประเทศอัฟกานิสถาน จะเป็นที่ต้องการของประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา ที่ต้องการนำไปใช้ในการเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีของโลก หรือแม้แต่จีนในฐานะผู้ผลิตและส่งออกแร่หายากอันดับหนึ่งของโลก
แต่จากสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงที่เราเห็นในปัจจุบัน
ก็ดูเหมือนว่าทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศอัฟกานิสถาน
มูลค่าระดับ 100 ล้านล้านบาท จะเป็นเพียงขุมทรัพย์ที่ต้องใช้เวลาอีกนาน กว่าผู้คนที่เกิดและเติบโตขึ้นที่นี่ จะได้ประโยชน์จากมัน..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References
-https://www.worldatlas.com/articles/what-are-the-major-natural-resources-of-afghanistan.html
-https://kids.nationalgeographic.com/geography/countries/article/afghanistan#:~:text=respectful%20of%20copyright.-,Afghanistan%20is%20located%20in%20Central%20Asia%20with%20Iran%20to%20the,for%20most%20of%20the%20year.
-https://www.nbcnews.com/science/science-news/rare-earth-afghanistan-sits-1-trillion-minerals-n196861
-https://edition.cnn.com/2021/08/18/business/afghanistan-lithium-rare-earths-mining/index.html
-https://www.worldbank.org/en/country/afghanistan/overview
-https://thediplomat.com/2020/02/afghanistans-mineral-resources-are-a-lost-opportunity-and-a-threat/
-https://www.aa.com.tr/en/asia-pacific/illegal-mining-costs-afghanistan-millions-annually-un/1952838
-https://www.longtunman.com/29086
ไพลิน 在 วงมอซอ - ท๊อป มอซอ Facebook 的最佳解答
มันแซบกว่าลาบงัวอยู่บ้อ ผู้สาวใหม่เธอนั่น 🙄🙄🙄
https://youtu.be/7RUQE-GUkuE
ไพลิน 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最讚貼文
อ่าวไทยในมุมที่ไม่เคยรู้จัก
ที่ผมอยู่ตรงนี้ ห่างจากชายฝั่งสงขลาประมาณ 200 กิโลเมตร ใต้ท้องเรือที่ลอยลำอยู่ตรงนี้ คือ ตรงจุดตรงกลางระหว่างแหล่งก๊าซธรรมชาติ (Gas field) ขนาดใหญ่ของเมืองไทย 2 แหล่ง คือ แหล่งบงกชเหนือ (Greater Bongkot North) และ แหล่งอาทิตย์ (Arthit) สองแหล่งนี้เป็นฐานการขุดเจาะก๊าซธรรมชาติที่สำคัญของอ่าวไทย
ที่ผ่านมาเข้าใจเสมอว่า การขุดเจาะมีเพียงแต่แท่นใหญ่ๆแบบที่เห็นในทีวี แต่ของจริงๆที่มองด้วยตาคือ เนื่องจากแหล่งก๊าซในเมืองไทยมีขนาดใหญ่ และมีหลุมที่อยู่ใต้พื้นทะเลกระจายเป็นกระเปาะหลายๆแห่ง จึงต้องมีการสร้างแท่นที่ไว้ขุด (Wellhead platform) แล้วต่อสายจากแท่นขุดเข้าไปที่ แท่นผลิตกลางที่เรียกว่า Central Processing Platform (CPP) ซึ่งตัว CPP คือกลุ่มอาคารกลางทะเลหลายๆหลังที่เชื่อมต่อกัน แบบที่เราเห็นในทีวีนั่นเองครับ ตัวแท่นขุดจะไม่มีคนอาศัยครับ คนจะอยู่ที่ CPP เท่านั้นและทำงานผ่านระบบออนไลน์จากที่นี่ทั้งหมด ที่ๆคนอยู่อาศัยจะเรียกว่า Living Quarter ครับ มีสนามกีฬา มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆมากมาย
จากจุดที่ผมอยู่มองไปทางทิศใต้ คือ แท่นของบงกชเหนือ ซึ่งขนาดมองจากระยะไกลยังเห็นได้อย่างชัดเจน รอบๆแท่นบงกชเหนือ มีแท่นขุดนับด้วยสายตาเกือบ 20 แห่ง (ยังไม่นับที่ไม่เห็นอีกสิบกว่าแห่ง) กระจายอยู่รอบๆ มองไปอีกด้าน คือ แท่นอาทิตย์ ก็มีแท่นขุดเจาะกระจายอยู่รอบเช่นเดียวกัน เรียกว่าภาพตระการตามาก เหมือนกับอาณานิคมกลางทะเลแบบนั้นครับ 555+ ไม่รู้จะถ่ายรูปยังไง ต้องมองจากบนฟ้าเท้านั้นครับ
แหล่งก๊าซธรรมชาติทางทะเลของเมืองไทยนอกจากแหล่งบงกชเหนือ และอาทิตย์ แล้วถัดลงไปทางใต้ไม่ไกลก็คือ แหล่งบงกชใต้ (Greater Bongkot South GBS) ครับ แหล่งบงกชแหล่งเดียวก็ผลิตก๊าซได้สูงถึง 900 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (คิดเป็นปริมาณการใช้ราวๆ 20% ของประเทศ) ซึ่งถือว่ามีปริมาณสำรองเยอะที่สุดในเมืองไทย และอีกแหล่งที่ดังและคนน่าจะรู้จักมากที่สุดก็คือ แหล่งเอราวัณ (Erawan) ซึ่งเป็นสถานที่ขุดเจาะก๊าซธรรมชาติลางทะเลแห่งแรกของไทย นอกจากนี้ก็มีแหล่งต่างๆ เช่น ปลาทอง ไพลิน สตูล ฟูนาน
โดยหลังจากที่ก๊าซขุดได้จากแต่ละหลุมก็จะถูกส่งผ่านท่อเข้าสู่ CPP แล้วก็จะต่อเข้าท่อความยาวนับพันกิโลเมตรใต้ทะเลเข้าสู่ที่ระยองหรือนครศรีธรรมราชครับ
ข้อมูลทางเทคนิค พยายามเขียนจากความเข้าใจ ถ้ามีข้อผิดพลาดใดๆ ผู้รู้สามารถชี้แนะได้เลยครับ