[爆卦]โง่อวดฉลาด是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇โง่อวดฉลาด鄉民發文沒有被收入到精華區:在โง่อวดฉลาด這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 โง่อวดฉลาด產品中有2篇Facebook貼文,粉絲數超過7萬的網紅Appdays,也在其Facebook貼文中提到, จากประเด็นล่าสุดที่มีคนบอกว่า โง่อวดฉลาด โชว์โง่ บลา ๆ ในเรื่องของการแจ้งเตือนสีแดง เอาจริง ๆ เลยนะ รู้จ้าว่ามันคืออะไร แต่ประเด็นที่จะเล่าคือ ม...

  • โง่อวดฉลาด 在 Appdays Facebook 的精選貼文

    2018-06-18 23:05:35
    有 194 人按讚


    จากประเด็นล่าสุดที่มีคนบอกว่า โง่อวดฉลาด โชว์โง่ บลา ๆ

    ในเรื่องของการแจ้งเตือนสีแดง
    เอาจริง ๆ เลยนะ

    รู้จ้าว่ามันคืออะไร แต่ประเด็นที่จะเล่าคือ มันมีหลายอย่างที่จะทำให้เกิดสัญลักษณ์สีแดง

    - ติดโทษแบน
    - ทำฟาวโดนใบแดง
    - บาดเจ็บ

    แต่ล่าสุดในคลิปคือ ไม่ได้ทำอะไรเลย
    แล้วประเด็นต้องการบอกว่า เกมมีอะไรมาใหม่มากกว่า

    ด่ามาไม่ด่ากลับ แต่บล็อก และคุณจะไม่ได้อะไรจากผมอีกเลย (ในกรณีที่ด่าหยาบคายเสียหาย)

  • โง่อวดฉลาด 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文

    2013-12-08 10:22:46
    有 2 人按讚

    ผมคนหนึ่งที่ติดตามทางการเมือง ควบคู่ไปกับเป็นอาจารย์สอนหนังสือ สอนวิชา "กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง" แต่ละวันที่สอนพบว่า มีนักศึกษา ถามในหลายๆเรื่องเกี่ยวกับการเมือง ทั้งอธิบายและเขียนบทความลงเฟสและลงวารสารวิชาการ มีบางครั้งผมเขียนเสนอ ที่มีความคิดเห็นกับตรงกันข้ามกับอีกกลุ่มหนึ่ง กลับได้รับคำพูดว่า "ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญเลย ให้ไปอ่านหนังสือเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญเยอะๆๆ" (คือผมโง่ ที่คิดเห็นไม่เหมือนกับเขา) เช่น
    ผมวิพากษ์ว่าศาลรัฐธรรมวินิจฉัยเกี่ยวกับคดีแก้ไขที่มา สว. ขัดกับรัฐธรรมนูญก้าวก่ายอำนาจนิติบัญญัติ ด้วยเหตุที่ว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2550 ตามมาตรา 291 เขาให้ "รัฐสภา" เป็นผู้พิจารณาแก้ไข การแก้ไขมีการเสียบบัตรแทน ในการลงมติ แล้วมีคนร้องว่าเป็นการกระทำความผิดลบล้างระบอบประชาธิปไตย ตามมาตรา 68 ศาลรัฐธรรมนูญ รับพิจารณา ตามมาตรา 215 ซึ่งผมเห็นว่า ไม่น่าจะเป็นการกระทำที่ขัดกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับที่มา สว. เพราะมาตรา 291 (1) วรรคสอง บอกว่า ห้ามแก้ไขรัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับรูปแบบของรัฐกับรูปแบบการปกครองของรัฐ แล้วการแก้ไขที่มา สว.มันขัดตรงไหน ส่วนเรื่องที่เขาเสียบบัตรแทนกันนั้น เห็นว่ามีความผิด ควรใช้กระบวนการถอดถอนและดำเนินคดีอาญาต่อศาลฎีกาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ตามมาตรา 270-274 ไป คือ ยื่นเรื่องถอดถอนต่อประธานวุฒิ แล้วประธานวุฒิส่งเรื่องไปที่ ปปช. เพื่อพิจารณาชี้มูลความผิด ปปช. มี 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแรกส่งเรื่องให้วุฒิฯดำเนินการถอดถอน เส้นทางที่สอง ส่งเรื่องให้อัยการสูงสุดดำเนินฟ้องต่อศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
    และผมพูดว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ศาลรัฐธรรมนูญก็เป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาที่เกิดขึ้นในครั้งนี้
    (ประเด็นนี้ผมวิพากษ์ไป กลับโดนกลุ่มคิดเห็นด้วยกับศาลว่าผมไม่มีความรู้เรื่องรัฐธรรมนูญเลย ให้ไปอ่านหนังสือเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญให้เยอะมากกว่านี้ (โง่อวดฉลาด))
    ประเด็นต่อมาอธิบายว่าแต่อย่างไรก็ตามเมื่อศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยไปแล้วก็ต้องยอมรับคำวินิจของศาลรัฐธรรมนูญเป็นที่สิ้นสุดผูกพันทุกองค์กร ตามมาตรา 27 บวกมาตรา 216 ก็ต้องปฏิบัติตามที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ถึงแม้ฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหารไม่เห็นด้วยต้องปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 216 แล้วแก้ไขรัฐธรรมนูญสร้างกรอบให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยเพื่อไม่ให้เกินกรอบของรัฐธรรมนูญกำหนดไว้
    (ประเด็นนี้ผมก็โดนวิพากษ์จากกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับศาล ว่าผมเข้าข้างกลุ่มท่านสุเทพ เทือกสุบรรณ)

    และอีกครั้งจะแสดงความคิดเห็นในอนาคตอีกสองวันข้างหน้าว่าจะเป็นเช่นไร ผมคิดว่าน่าจะเกิด 3 ทาง ดังนี้
    1.ทางแรก คือ แก้ไขรัฐธรรมนูญ 291 ให้มี " บทเฉพาะกาล" ให้มี สสร.(สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนู) ซึ่งประกอบ ด้วย สภาประชาชน (ที่ท่านสุเทพ เทือกสุบรรณ เสนอตามมาตรา 69) นักวิชาการ ด้านการเมือง ด้านกฎหมายมหาชน นักการเมือง เป็นต้น เพื่อทำหน้าที่ ร่างรัฐธะรมนูญใหม่ โดยที่กลุ่มท่านสุเทพ เทือกสุบรรณ ต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรม
    และที่สำคัญรัฐบาลต้องแสดงคำขอโทษต่อประชาชนที่ทำผิดพลาด เช่น การผลักดัน ร่าง พรบ.นิโทษกรรม ถึงแม้อ้างว่าเป็นเรื่องของฝ่ายนิติบัญญัติ แต่ก็เป็นคนในพรรคเดียวกันกับรัฐบาลเป็นผู้ผลักดันไม่สามารถปฏิเสธเรื่องนี้ได้ เป็นต้น
    ในกรณีเช่นนี้ จะมีปรัชญาทางความคิดที่ว่า ท่านไม่เห็นด้วยกับว่าผิดกฎหมาย เพื่อพิสูจน์ท่านใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 69 แต่มีบุคคล บางคลที่มีอำนาจ ซึ่งศาลได้พิพากษาให้มีความผิด แต่ไม่รับในกระบวนการยุติธรรมดังเช่นกลุ่มท่านสุเทพ เทือกสุบรรณกระทำ สังคมไทยจะทำอย่างไร
    2. ทางที่สอง คือ รัฐบาลยุบสภา เกิดนายกรักษาการ ตามมาตรา 183 แล้วนายกปฏิเสธที่ดำรงรับตำแหน่งนายกรักษาการ ก็จะเกิดสุญญากาศทางรัฐธรรมนูญ คือ เมื่อไม่มีบทบัญญัติธรรมนูญเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่งของนายกรัฐมตรี ก็คืนอำนาจให้ประชาชน ตามมาตรา 3 แล้ใช้มาตรา 7 ในการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีที่เป็นคนนอกมาดำเนินการแก้ไขปัญหา ในกรณีเช่นนี้ ต้องมีการบีบบังคับนายกรัฐมนตรีกับกลุ่มที่อยู่เคียงข้างนายกรัฐมนตรีอย่างหนัก
    3. ทางที่สาม คือ ดำเนินการใช้อำนาจตามกฎหมายปราบปรามกลุ่มประท้วง ซึ่งอาจจะมีการต่อสู้ล้มตายเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจเกิดการรัฐประหารขึ้นได้ครับ
    ซึ่งในความเห็นผม อยากมันเป็นในแนวทางแรกครับ ซึ่งเป็นตามรัฐธรรมนูญที่กำหนดไว้ครับ
    หมายเหตุในการให้ความเห็นผมครั้งนี้ อาจจะมีการวิพากษ์วิจารณ์ ผม ว่าผมโง่อวดฉลาด อีกก็ได้ซึ่งผมน้อมรับการวิพากษ์วิจารณ์ครับ ด้วยความเคารพ

你可能也想看看

搜尋相關網站