雖然這篇เดโช鄉民發文沒有被收入到精華區:在เดโช這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 เดโช產品中有5篇Facebook貼文,粉絲數超過1萬的網紅sittikorn saksang,也在其Facebook貼文中提到, ประกาศพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ 2560 สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ประกาศพระบรมราช...
เดโช 在 ????????? シ ???? Instagram 的最讚貼文
2021-09-16 03:53:40
ไ ม่ ใ ช่ ข อ ง โ ป ร ด . . . แ ต่ ป ร ะ โ ย ช น์ เ ร า เ ย อ ะ น ะ 😎.* • • • • #lightroom #lightroompresets #ligtroommobile #lightroomedits #cafetha...
เดโช 在 Honey Instagram 的最佳貼文
2021-09-03 22:59:31
" ห มู สั บ ผั ด ช ะ อ ม + ไ ข่ เ จี ย ว โ ห ร ะ พ า " . . #มื้อเช้า กินข้าวบ้าง 😊 . . . . #เมนูข้าวกล่อง #ทำเองกินเอง #กับข้าวกับปลา #เข้าครัว #กั...
เดโช 在 ตั๊กแตน ชลดา Instagram 的精選貼文
2021-03-04 14:39:52
เ ป็ ด น้ อ ย ผู้ เ ชื่ อ เ รื่ อ ง โ ช ค ล า ภ 😄👏🏻 รั ก นี้ วั ว ช น . .. เ ดี๋ ย ว เ จ อ กั น ใ น โ ร ง ภ า พ ย น ต ร์ .. 🥳 #ว่าแต่งวดนี้เลขอะไรน้าา...
เดโช 在 sittikorn saksang Facebook 的精選貼文
ประกาศพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญ 2560
สิทธิกร ศักดิ์แสง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ประกาศพระบรมราชโองการ (Royal Command) เดโช สวนานนท์ ได้อธิบายว่า พระบรมราชโองการ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า “Royal Command” ซึ่งหมายถึง คำสั่งของกษัตริย์ ซึ่งจะต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ประธานวุฒิสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานรัฐสภา หรือองคมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ จากความหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่าพระบรมราชโองการมีลักษณะของการอ้างอิงกับการใช้อำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ ได้มีรูปแบบและวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับบริบทประวัติศาสตร์การเมืองไทย อาจแบ่งออกได้ 2 ยุค คือ ยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ดังนี้
1. พระบรมราชโองการสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
เมื่อพิจารณาศึกษาถึงพระบรมราชโองการยุคสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์นับตั้งแต่การปฏิรูปการปกครองสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พระราชอำนาจในการออกกฎหมายเป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยตรง ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากพระราชดำรัสของรัชกาลที่ 5 ไว้ว่า “พระบรมราชโองการของพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยามนี้มิได้ปรากฏในกฎหมายอันใดด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นล้นพ้น ไม่มีสิ่งใดหรือผู้ใดจะบังคับขัดขวางได้” ด้วยเหตุนี้พระราชดำรัสหรือพระราชวินิจฉัย เมื่อมีการนำมาประกาศในราชกิจจานุเบกษาจึงเป็นพระบรมราชโองการที่ประกาศออกมาให้ปฏิบัติตามและมีสถานะเป็นกฎหมาย โดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ลงนามในการรับสนองพระบรมราชโองการ
2. พระบรมราชโองการสมัยการปกครองระบอบประชาธิปไตย
หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในปี พ.ศ. 2475 โดยระบบรัฐบาลแบบรัฐสภาที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญพระราชการใช้อำนาจอธิปไตยของพระมหากษัตริย์ต้องเป็นอำนาจที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้ไว้เท่านั้น ดังนั้นพระราชอำนาจอันล้นพ้นในอดีตก็ได้รับการจำกัดโดยรัฐธรรมนูญ ประกาศพระบรมราชโองการที่ออกโดยพระมหากษัตริย์ในการบริหารราชการแผ่นดินโดยทั่วไปจะเป็นบทบริหารบัญญัติยังคงมีสถานะทางกฎหมายในระดับกฎหมายบัญญัติ ต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519 ได้มีการยกเลิกการออกประกาศพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ที่มีสถานะทางกฎหมายและเป็นเพียงคำสั่งของกษัตริย์ซึ่งต้องมีนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี หรือประธานวุฒิสภาหรือประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานรัฐสภาหรือองคมนตรี โดยหลักการนี้ได้ใช้ตลอด
2.1 พระบรมราชโองการภายใต้บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
พระบรมราชโองการภายใต้บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จะพบว่า ประกาศพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ มีอยู่ 2 รูปแบบ คือรูปแบบที่ 1 ประกาศพระบรมราชโองการโดยที่ไม่จำเป็นต้องมีผู้รับสนองบรมราชโองการ กับ รูปแบบที่ 2 ประกาศพระบรมราชโองการที่มีผู้รับสนองบรมราชโองการ ดังนี้
รูปแบบที่ 1 ประกาศพระบรมราชโองการโดยที่ไม่จำเป็นต้องมีผู้รับสนองบรมราชโองการ มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะที่ 1 ประกาศพระบรมราชโองการโดยที่ไม่จำเป็นต้องมีผู้รับสนองบรมราชโองการอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 15 เป็นการใช้พระราชอำนาจตามอัธยาศัย เช่น ประกาศพระราชบรมราชโองการให้นายทหารสัญญาบัตรแต่งตั้งเป็นราชองค์รักษ์ในพระองค์ ประกาศพระราชบรมราชโองการแต่ตั้งนายทหารพิเศษ ประกาศพระราชบรมราชโองการให้นายทหารสัญญาบัตรและตำรวจชั้นสัญญาบัตรแต่งตั้งเป็นทหารราชองค์รักษ์พิเศษและนายตำรวจราชองค์รักษ์พิเศษ เป็นต้น
ลักษณะที่ 2 ประกาศพระราชบรมราชโองการที่ไม่มีผู้รับสนองบรมราชโองการที่อยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 15 คือ ประกาศสถาบันพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จะเห็นได้ว่าพระราชบรมราชโองการนี้ไม่ได้อาศัยอำนาจตามที่ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 15 แต่อาศัยอำนาจตามจารีตประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญมาตรา 5 วรรค 2
รูปแบบที่ 2 ประกาศพระบรมราชโองการที่มีผู้รับสนองบรมราชโองการ ถือเป็นการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาลและองค์กรอิสระ โดยมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ประธานวุฒิสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานรัฐสภา หรือองคมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรโดยมีนายกรัฐมนตรีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานและรองประธานวุฒิสภาโดยมีนายกรัฐมนตรีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ เป็นต้น
เมื่อพิจารณาสรุปถึงความหมายประกาศพระบรมราชโองการตามที่ได้อธิบายกันมานี้ผู้เขียนเห็นว่าไม่น่าจะถูกต้องนักถ้านำมาอธิบายประกาศพระบรมราชโองการภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประกาศพระบรมราชโองการ ควรมีความหมายดังนี้ “พระบรมราชโองการ คือ คำสั่งของกษัตริย์ ที่มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการและมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ประธานวุฒิสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร หรือประธานรัฐสภา หรือองคมนตรี”
เดโช 在 Gluta Story Facebook 的最佳解答
หน้าโหด แต่ใจมุ้งมิ้ง
Pick of the day จากกลุ่ม
Gluta Story Club / มาเข้ากลุ่มกัน 👇🏿
สายพันธุ์ไม่ให้ แต่ใจมันรักครับ 💓😛 #เดโช
👉🏼 https://m.facebook.com/MrChomark/ 👈🏼
เดโช 在 Mossster Facebook 的精選貼文
ประกาศรายชื่อผู้ที่ได้รับแป้ง Cezanne ทั้ง 52 ชิ้นนะคะ
รอรับเลยน้า แป้งกำลังมุ่งตรงไปที่บ้านทุกคนแล้ว สวยเผื่อมอสซี่ด้วยน้า เลิฟ เลิฟ จุ๊บ จุ๊บ <3
cezanne
1.อำภา พ่วงสร้อย
2.ขวัญรัชญ์ กฤษสรัลกร
3.สาธิดา เอื้อวิศาลสิน
4.นางสาว อารีรัตน์ อ่ำโพธิ์
5. ชนิกานต์ จุฬพุฒิพงษ์
6.ฐิติภัสร์ รัตนพรพิทักษ์
7.ดวงกมล กมลสินธุ์
8.น.ส ณิมินตรา ภัทรสุนทรวงศ์
9.นลินี ทัตตานนท์
10.วีรนันท์ ฟักทอง
11.สิโรทัย มะตนเด
12.รุ่งนภา บูรณสิริ
13.น.ส.สุนิสา แหงมดี
14.ณัชชา คงสมุทร
15.สุกานดา เส็งสมาน
16.Pattharanit Kleangbunjong Furn Kavin
17.น.ส กฤษณิญา มูลธิทา
18.วรรณราญา จันทอง
19.น.ส.วนัสวี กุศล
20.โยธิยา อนุรักษ์
21.น.ส. วิไลวรรณ บำรุงศักดิ์
22. สุนิตย์ แดงบุญ
23.กัญญาพร โตวัน
24.เดโช ยิ้มแก้ว
25.ภัทรพร คุณพันธ์
26.กรณิกฐ์ นาคเปรม
27.สุธิดา มานะงาน
28.นริศรา จันทร์ชมชื่น
29.นิธิภัค ศิริสกุล
30.ปิยฉัตร จิตเกษม
31.ปริญญากร โงวรรณ
32.วีรวรรณ สุขพูล
33.สุธิดา สำราญสกุล
34.มุนิสสะรา ลอยสนั่น
35.สุนิศา อุทัยวรรณ
36.อรยา ศรีเพ็ชร
37.นันทพร ยงพฤกษา
38.วริทธิ เพชรช่วย
39.อารยา ลือมอญ
40. นส.ณาฐวริณย์ กมลลาวัณย์
41.แนท. ฐาปณีย์
42.กิตติยา จันดี
43.กมลชนก แสนเมือง
44.ฝนฝน
45.Khun Ying
46.ปิยะธิดา จันทภาโส
47.น.ส ชนากานต์ พาหา
48.ชมชื่น เสนทอง
49.เจนจิรา สามะลาแล
50.สุจิตรา ทับช่วยขวา
51. สุชานาฏ อุไรเวศ
52.รักชนก คมโสภาพงศ์