雖然這篇อาราธนาพระปริตร คือ鄉民發文沒有被收入到精華區:在อาราธนาพระปริตร คือ這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 อาราธนาพระปริตร產品中有13篇Facebook貼文,粉絲數超過292萬的網紅โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ,也在其Facebook貼文中提到, ทองชนวนพิธีหล่อแหวนอสุรินทราหู/แหวนพระนารายณ์ทรงครุฑ รุ่นบรมเทวาภิเษก รุ่นสุดท้าย มีทองคำราว 3 กิโลกรัม ชนวนก้นเบ้าหลอม ชนวนทองเหลือ บัดนี้ นำมาหลอมร...
อาราธนาพระปริตร 在 อาตุ่ยเองไง Instagram 的最佳解答
2020-09-07 18:56:57
กราบถวายผ้าห่มพระปรางค์ ถวายสังฆทาน ถวายภัตตาหารแด่คณะสงฆ์ ถวายปัจจัยบำรุงวัด อาราธนาศีลห้า อาราธนาพระปริตร ฟังธรรมและเจริญสติเมื่อเช้านี้ค่ะ เลื่...
อาราธนาพระปริตร 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最佳貼文
ทองชนวนพิธีหล่อแหวนอสุรินทราหู/แหวนพระนารายณ์ทรงครุฑ รุ่นบรมเทวาภิเษก รุ่นสุดท้าย มีทองคำราว 3 กิโลกรัม ชนวนก้นเบ้าหลอม ชนวนทองเหลือ บัดนี้ นำมาหลอมรวมชนวนทั้งหมดและชนวนมวลสารทุกๆพิธี แก่เงินแก่ทองคำ จริงๆตามภาพ รวมอยู่ในองค์พระกริ่งพระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัยเรียบร้อยแล้ว ที่ปรารภเล่าเรื่องนี้ เพราะมีคนชอบกล่าวอ้างเรื่องชนวน แก่เงิน แก่ทอง นวโลหะเต็มสูตร และหาความจริงไม่ได้ แอบอ้างพูดถึง ให้ ความจริงเสียหาย เพราะคนไม่รู้ไม่เข้าใจ ไม่เคยเห็น จะได้ ตาสว่าง ว่า ความจริงต้องเป็นเเบบนี้ ชัดเจนทุกๆเรื่องราว เพราะผมเป็นต้นเป็นประธาน เเละเก็บ บันทึกไว้ในทุกรายละเอียดครับ
ชนวนทองก้นเบ้า ส่วนหนึ่ง(ที่นำมาใช้หลอมรวมชนวนสร้างพระกริ่งสมเด็จธงชัย)มีที่มาแบบนี้ มีภาพหลักฐานเก็บบันทึกไว้นับ 100 พิธี
ที่มาของชนวนมวลสารในการหล่อพระ สร้างเทพ และมงคลวัตถุต่างๆ โดยตามแนวทางของท่านเจ้าประคุณสมเด็จธงชัยและลุงสมร สอน ชี้แนะ เพื่อให้ผมนับเริ่มต้นสะสม เก็บ ไว้สร้างพระสำคัญ มีแนวทางและหลักฐานชัดเจนดังนี้
1.พิธีที่เราเป็นเจ้าภาพ เป็นประธาน เราต้อง สรุป นัดหมายกับคณะช่าง โรงงานเททอง ว่า การเททองครั้งนั้นๆจะใช้โลหะอะไรเป็นหลัก เช่น ทองเหลือง ทองแดง เนื้อสัมฤทธิ์ เนื้อนวโลหะ และการเททองในครั้งนั้นๆ ใช้จำนวนโลหะกี่กิโล ใช้เตาหลอม เบ้าหลอมอะไร ขนาดกี่กิโล มีเบ้าเอก เบ้ารอง ฯลฯยังไง เจ้าภาพที่ไม่มีความรู้ ไม่มีครู จะไม่มีทางรู้ไม่มีทางเข้าใจ สำหรับผมมีครูดี จึงรับรู้เข้าใจทุกๆเรื่องชัดเจน และที่สำคัญ เราต้องรู้แนวการทำงาน เวลาหลอมทองชนวนของคณะช่าง เราจะได้ วางแผนการทำงานร่วมกับคณะช่างได้
2.การเททองหล่อพระ สร้างเทพ ในรอบ 10 ปี ผมใช้โลหะสัมฤทธิ์ นวโลหะ 90% ทองเหลืองใช้งานน้อยมาก และเเน่นอน ต้องมีการตั้งเตาหลอมน้ำทองเบ้าเอก ซึ่งมักจะใช้ เบ้า 60 กิโลกรัม คนที่เคยร่วมพิธีจะเห็นผม เป็นคนนำชนวนสำคัญชั่งนำ้หนัก และกำกับชนวนสำคัญนี้ให้ช่างนำลงเบ้าในเตาหลอมให้เรียบร้อยต่อหน้าตัวเองก่อนไปทำพิธีอย่างอื่น เพราะช่างจะใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงหลอมชนวนนวโลหะเบ้าเอกให้เป็นนำ้ เรียก นำ้ทองชนวนเบ้าเอก
3.ผมจะไปนำสาธุชนประกอบพิธี ในส่วนพระสงฆ์ เช่น ไหว้พระ รับศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ราว 1-2 ชั่วโมง ชนวนสำคัญเช่น ทองคำ เงินบริสุทธิ์ นำเข้าพิธี ลำดับต่อมา ผมประกอบพิธีบวงสรวงพร้อมคณะศิษย์สาธุชน นำทองคำ เงิน มาอยู่บนโต๊ะบวงสรวง
4.เสร็จการบวงสรวงผมจะไปคุยกับคณะช่าง "พร้อมหรือยัง นำ้ทองได้ที่หรือยัง จะได้เริ่มพิธี เปิดเตา"ถ้าพร้อม จะไปนิมนต์พระผู้เป็นประธานเททอง มาที่แท่น และนัดหมายพระสงฆ์ ที่ชยันโต คณะพระนั่งปรกนิมนต์ประจำทิศ ผมนำถาด พานบรรจุทองคำ เงิน ถวายพระผู้เป็นประธาน นำสาธุชน มหาชนอธิษฐาน ทองคำ เงิน เสร็จแล้ว พระองค์ประธานอธิษฐาน แล้วหยิบทองคำ เงินใส่กระจ่า ที่ผมนำมารับต่อจากมือท่าน และทยอยนำลงเบ้าหลอมนำ้ทองเบ้าเอกทั้งหมด แล้วใช้เหล็กของช่าง คน กวนในเบ้าให้ทั่ว จากนั้น ให้คณะช่าง ตักนำ้ทองชนวนจากเบ้าเอกเจือไปที่เบ้าหลอมนำ้ทองในทุกๆเตา ให้ทั่วถึง โดยกำกับดูแลด้วยตัวเอง
5.เบ้าหลอมน้ำทองชนวนเบ้าเอก ที่ชนวนเข้มข้น แก่เงิน ทองคำมากที่สุด ที่เหลือ ราว 10-20 กิโลกรัม ผมจะให้คณะช่างเลี้ยงไฟหลอมไว้ แล้วไปประกอบพิธีเททองให้เสร็จ พอเสร็จ ช่างต้องมา ตักนำ้ทองจากเบ้าเอก เทใส่รางเหล็ก ตามขนาดเล็กใหญ่ ตามที่ตกลงกันไว้ โดยที่พระผู้เป็นประธานยังจับสายสิญจ์อธิษฐานอยู่ จนเรียบร้อย ท่านประพรมนำ้พระพุทธมนต์ โปรยดอกไม้ เสร็จเรียบร้อย ผมจะให้ช่าง นำ้ชนวนสำคัญที่ให้เทใส่รางเหล็ก เคาะออกมา แช่นำ้จนเย็น หายร้อน แล้วให้คนของผมขนกลับทันที ถ้ามีก้นเบ้า ก็เอาพัดลมเป่า คว่ำเบ้า ให้ชนวนออกมา เเช่นำ้ เอากลับมาเก็บรักษาไว้ เเละเวียนใช้บางส่วน ถมหลอมสร้างพระสร้างเทพฯลฯในพิธีต่อๆมา
พระที่เททอง ช่างขนกลับ ผมก็นัดวันช่าง โรงงาน เข้าไป ทุบปูน ดิน ที่หุ้มเป็นหุ่นออก แล้วตัดก้านทองชนวน ชั่งกิโล นำกลับมารักษาไว้ทั้งหมด(ส่วนหนึ่งแบ่งให้ช่าง โรงงานไว้ทำงานในการเชื่อม ซ่อม ฯลฯ)
ทุกๆโรงงาน ที่ผมทำงานด้วย บอกว่า ไม่เคยมีใคร คณะใด ทำแบบนี้ มีแต่ผมคนเดียว เพราะทราบถึงเจตนา ความชัดเจน แต่แรก และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มอะไร รางวัลนำ้ใจคณะช่างคนทำงาน จ่ายเต็มที่ และมีการบันทึก รายงาน พระสงฆ์ วัด ให้ท่านทราบ เป็นลำดับตลอดมา
ทุกๆขั้นตอน ทุกๆพิธี มีภาพถ่าย วิดิโอ บันทึก อย่างละเอียด โดยทีมงานมืออาชีพ
ทั้งหมดทั้งมวลนี้ ย่อมประจักษ์แก่สายตา คณะศิษย์ มหาชน มาตลอด จึงได้มาลำดับเรื่องราวให้ทราบ เพราะในที่สุดถึงเวลานี้ ชนวนมวลสารจากเบ้าเอกนับ 100 พิธี เป็นชนวนสำคัญ มีทองคำ เงิน เเผ่นทองคำ แผ่นเงิน ฯลฯ สะสมทับถมอยู่มากมายมหาศาล บัดนี้ ชนวนมวลสารดังกล่าวที่ว่ามานี้ สถิตย์อยู่ในองค์ พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย เรียบร้อยแล้ว
บันทึกไว้ในเส้นทางแห่งศรัทธา ประวัติศาสตร์
ลักษณ์ ราชสีห์
ประธานจัดสร้างพระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย
25 พฤษภาคม 2563
อาราธนาพระปริตร 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最讚貼文
ทองชนวนเบ้าเอก ในรอบ 10 ปี นับเป็น 100 พิธี ที่ผมลักษณ์ ราชสีห์ เป็นประธานจัดสร้าง จะควบคุม กำกับ กับคณะช่างหลอมทองชนวน เททอง ต้องชั่งชนวนนวโลหะแก่เงิน ทองคำ มาใส่เป็นเชื้อ สืบชนวน และมีเม็ดเงิน(กิโลกรัมละเกือบ สองหมื่นบาท)ใช้เม็ดเงินในแต่ละพิธีตั้งแต่ 10 กิโลกรัมถึง 100 กิโลกรัม มาใส่เบ้าหลอมรวมในทองชนวนก่อน นำทองคำทั้งหมดมาใส่ พิธีที่มีทองคำมากที่สุดมีทองคำถึง 480 บาท(พิธีหล่อพระกริ่งมาฆบูชาบารมี วัดไตรมิตรฯ) ทองชนวนที่สะสมไว้ตลอด 10 ปี จึงมีที่มาดังที่สาธยายนี้ บัดนี้ ทองชนวนทั้งหมด ได้หลอมรวมอยู่ใน พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย เรียบร้อยแล้ว
ชนวนทองก้นเบ้า ส่วนหนึ่ง(ที่นำมาใช้หลอมรวมชนวนสร้างพระกริ่งสมเด็จธงชัย)มีที่มาแบบนี้ มีภาพหลักฐานเก็บบันทึกไว้นับ 100 พิธี...
ทองคำหลายกิโลกรัม หลอมในเตาหลอมชนวนเบ้าเอก หล่อพระพุทธเปิดโลก ที่ผมเป็นประธานจัดสร้าง ณ วัดเจ้าอาม บัดนี้ ชนวนทองเหลือ ได้หลอมเป็นหนึ่งในชนวนสร้าง"พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์สมเด็จธงชัย" ชมภาพที่บันทึกที่มาของชนวนแล้วจะได้ปิติสุขใจครับ
ที่มาของชนวนมวลสารในการหล่อพระ สร้างเทพ และมงคลวัตถุต่างๆ โดยตามแนวทางของท่านเจ้าประคุณสมเด็จธงชัยและลุงสมร สอน ชี้แนะ เพื่อให้ผมนับเริ่มต้นสะสม เก็บ ไว้สร้างพระสำคัญ มีแนวทางและหลักฐานชัดเจนดังนี้
1.พิธีที่เราเป็นเจ้าภาพ เป็นประธาน เราต้อง สรุป นัดหมายกับคณะช่าง โรงงานเททอง ว่า การเททองครั้งนั้นๆจะใช้โลหะอะไรเป็นหลัก เช่น ทองเหลือง ทองแดง เนื้อสัมฤทธิ์ เนื้อนวโลหะ และการเททองในครั้งนั้นๆ ใช้จำนวนโลหะกี่กิโล ใช้เตาหลอม เบ้าหลอมอะไร ขนาดกี่กิโล มีเบ้าเอก เบ้ารอง ฯลฯยังไง เจ้าภาพที่ไม่มีความรู้ ไม่มีครู จะไม่มีทางรู้ไม่มีทางเข้าใจ สำหรับผมมีครูดี จึงรับรู้เข้าใจทุกๆเรื่องชัดเจน และที่สำคัญ เราต้องรู้แนวการทำงาน เวลาหลอมทองชนวนของคณะช่าง เราจะได้ วางแผนการทำงานร่วมกับคณะช่างได้
2.การเททองหล่อพระ สร้างเทพ ในรอบ 10 ปี ผมใช้โลหะสัมฤทธิ์ นวโลหะ 90% ทองเหลืองใช้งานน้อยมาก และเเน่นอน ต้องมีการตั้งเตาหลอมน้ำทองเบ้าเอก ซึ่งมักจะใช้ เบ้า 60 กิโลกรัม คนที่เคยร่วมพิธีจะเห็นผม เป็นคนนำชนวนสำคัญชั่งนำ้หนัก และกำกับชนวนสำคัญนี้ให้ช่างนำลงเบ้าในเตาหลอมให้เรียบร้อยต่อหน้าตัวเองก่อนไปทำพิธีอย่างอื่น เพราะช่างจะใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงหลอมชนวนนวโลหะเบ้าเอกให้เป็นนำ้ เรียก นำ้ทองชนวนเบ้าเอก
3.ผมจะไปนำสาธุชนประกอบพิธี ในส่วนพระสงฆ์ เช่น ไหว้พระ รับศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ราว 1-2 ชั่วโมง ชนวนสำคัญเช่น ทองคำ เงินบริสุทธิ์ นำเข้าพิธี ลำดับต่อมา ผมประกอบพิธีบวงสรวงพร้อมคณะศิษย์สาธุชน นำทองคำ เงิน มาอยู่บนโต๊ะบวงสรวง
4.เสร็จการบวงสรวงผมจะไปคุยกับคณะช่าง "พร้อมหรือยัง นำ้ทองได้ที่หรือยัง จะได้เริ่มพิธี เปิดเตา"ถ้าพร้อม จะไปนิมนต์พระผู้เป็นประธานเททอง มาที่แท่น และนัดหมายพระสงฆ์ ที่ชยันโต คณะพระนั่งปรกนิมนต์ประจำทิศ ผมนำถาด พานบรรจุทองคำ เงิน ถวายพระผู้เป็นประธาน นำสาธุชน มหาชนอธิษฐาน ทองคำ เงิน เสร็จแล้ว พระองค์ประธานอธิษฐาน แล้วหยิบทองคำ เงินใส่กระจ่า ที่ผมนำมารับต่อจากมือท่าน และทยอยนำลงเบ้าหลอมนำ้ทองเบ้าเอกทั้งหมด แล้วใช้เหล็กของช่าง คน กวนในเบ้าให้ทั่ว จากนั้น ให้คณะช่าง ตักนำ้ทองชนวนจากเบ้าเอกเจือไปที่เบ้าหลอมนำ้ทองในทุกๆเตา ให้ทั่วถึง โดยกำกับดูแลด้วยตัวเอง
5.เบ้าหลอมน้ำทองชนวนเบ้าเอก ที่ชนวนเข้มข้น แก่เงิน ทองคำมากที่สุด ที่เหลือ ราว 10-20 กิโลกรัม ผมจะให้คณะช่างเลี้ยงไฟหลอมไว้ แล้วไปประกอบพิธีเททองให้เสร็จ พอเสร็จ ช่างต้องมา ตักนำ้ทองจากเบ้าเอก เทใส่รางเหล็ก ตามขนาดเล็กใหญ่ ตามที่ตกลงกันไว้ โดยที่พระผู้เป็นประธานยังจับสายสิญจ์อธิษฐานอยู่ จนเรียบร้อย ท่านประพรมนำ้พระพุทธมนต์ โปรยดอกไม้ เสร็จเรียบร้อย ผมจะให้ช่าง นำ้ชนวนสำคัญที่ให้เทใส่รางเหล็ก เคาะออกมา แช่นำ้จนเย็น หายร้อน แล้วให้คนของผมขนกลับทันที ถ้ามีก้นเบ้า ก็เอาพัดลมเป่า คว่ำเบ้า ให้ชนวนออกมา เเช่นำ้ เอากลับมาเก็บรักษาไว้ เเละเวียนใช้บางส่วน ถมหลอมสร้างพระสร้างเทพฯลฯในพิธีต่อๆมา
พระที่เททอง ช่างขนกลับ ผมก็นัดวันช่าง โรงงาน เข้าไป ทุบปูน ดิน ที่หุ้มเป็นหุ่นออก แล้วตัดก้านทองชนวน ชั่งกิโล นำกลับมารักษาไว้ทั้งหมด(ส่วนหนึ่งแบ่งให้ช่าง โรงงานไว้ทำงานในการเชื่อม ซ่อม ฯลฯ)
ทุกๆโรงงาน ที่ผมทำงานด้วย บอกว่า ไม่เคยมีใคร คณะใด ทำแบบนี้ มีแต่ผมคนเดียว เพราะทราบถึงเจตนา ความชัดเจน แต่แรก และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มอะไร รางวัลนำ้ใจคณะช่างคนทำงาน จ่ายเต็มที่ และมีการบันทึก รายงาน พระสงฆ์ วัด ให้ท่านทราบ เป็นลำดับตลอดมา
ทุกๆขั้นตอน ทุกๆพิธี มีภาพถ่าย วิดิโอ บันทึก อย่างละเอียด โดยทีมงานมืออาชีพ
ทั้งหมดทั้งมวลนี้ ย่อมประจักษ์แก่สายตา คณะศิษย์ มหาชน มาตลอด จึงได้มาลำดับเรื่องราวให้ทราบ เพราะในที่สุดถึงเวลานี้ ชนวนมวลสารจากเบ้าเอกนับ 100 พิธี เป็นชนวนสำคัญ มีทองคำ เงิน เเผ่นทองคำ แผ่นเงิน ฯลฯ สะสมทับถมอยู่มากมายมหาศาล บัดนี้ ชนวนมวลสารดังกล่าวที่ว่ามานี้ สถิตย์อยู่ในองค์ พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย เรียบร้อยแล้ว
บันทึกไว้ในเส้นทางแห่งศรัทธา ประวัติศาสตร์
ลักษณ์ ราชสีห์
ประธานจัดสร้างพระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย
25 พฤษภาคม 2563
อาราธนาพระปริตร 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最讚貼文
ทุกอย่างมีขั้นตอน จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ก่อนพิธีเททอง บวงสรวงปวงเทพยดาให้ร่วมอนุโมทนา อดีตช่างทองหลวงตรวจสอบทอง(แท้ไม่แท้ อย่างละเอียดเพราะมีบางส่วนประชาชนมาบริจาค) หลอมทองคำในเบ้าเอกที่มีทองชนวนจากพิธีก่อนๆให้ทับถมรวมกันไป เทใส่รางเหล็กเก็บไว้สืบชนวน เจือนำ้ทองเบ้าเอกไปทุกๆเบ้า แล้วเททองหล่อ ชีดเจนทุกๆขั้นตอน
ชนวนทองก้นเบ้า ส่วนหนึ่ง(ที่นำมาใช้หลอมรวมชนวนสร้างพระกริ่งสมเด็จธงชัย)มีที่มาแบบนี้ มีภาพหลักฐานเก็บบันทึกไว้นับ 100 พิธี...
ทองคำหลายกิโลกรัม หลอมในเตาหลอมชนวนเบ้าเอก หล่อพระพุทธเปิดโลก ที่ผมเป็นประธานจัดสร้าง ณ วัดเจ้าอาม บัดนี้ ชนวนทองเหลือ ได้หลอมเป็นหนึ่งในชนวนสร้าง"พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์สมเด็จธงชัย" ชมภาพที่บันทึกที่มาของชนวนแล้วจะได้ปิติสุขใจครับ
ที่มาของชนวนมวลสารในการหล่อพระ สร้างเทพ และมงคลวัตถุต่างๆ โดยตามแนวทางของท่านเจ้าประคุณสมเด็จธงชัยและลุงสมร สอน ชี้แนะ เพื่อให้ผมนับเริ่มต้นสะสม เก็บ ไว้สร้างพระสำคัญ มีแนวทางและหลักฐานชัดเจนดังนี้
1.พิธีที่เราเป็นเจ้าภาพ เป็นประธาน เราต้อง สรุป นัดหมายกับคณะช่าง โรงงานเททอง ว่า การเททองครั้งนั้นๆจะใช้โลหะอะไรเป็นหลัก เช่น ทองเหลือง ทองแดง เนื้อสัมฤทธิ์ เนื้อนวโลหะ และการเททองในครั้งนั้นๆ ใช้จำนวนโลหะกี่กิโล ใช้เตาหลอม เบ้าหลอมอะไร ขนาดกี่กิโล มีเบ้าเอก เบ้ารอง ฯลฯยังไง เจ้าภาพที่ไม่มีความรู้ ไม่มีครู จะไม่มีทางรู้ไม่มีทางเข้าใจ สำหรับผมมีครูดี จึงรับรู้เข้าใจทุกๆเรื่องชัดเจน และที่สำคัญ เราต้องรู้แนวการทำงาน เวลาหลอมทองชนวนของคณะช่าง เราจะได้ วางแผนการทำงานร่วมกับคณะช่างได้
2.การเททองหล่อพระ สร้างเทพ ในรอบ 10 ปี ผมใช้โลหะสัมฤทธิ์ นวโลหะ 90% ทองเหลืองใช้งานน้อยมาก และเเน่นอน ต้องมีการตั้งเตาหลอมน้ำทองเบ้าเอก ซึ่งมักจะใช้ เบ้า 60 กิโลกรัม คนที่เคยร่วมพิธีจะเห็นผม เป็นคนนำชนวนสำคัญชั่งนำ้หนัก และกำกับชนวนสำคัญนี้ให้ช่างนำลงเบ้าในเตาหลอมให้เรียบร้อยต่อหน้าตัวเองก่อนไปทำพิธีอย่างอื่น เพราะช่างจะใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงหลอมชนวนนวโลหะเบ้าเอกให้เป็นนำ้ เรียก นำ้ทองชนวนเบ้าเอก
3.ผมจะไปนำสาธุชนประกอบพิธี ในส่วนพระสงฆ์ เช่น ไหว้พระ รับศีล อาราธนาพระปริตร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ราว 1-2 ชั่วโมง ชนวนสำคัญเช่น ทองคำ เงินบริสุทธิ์ นำเข้าพิธี ลำดับต่อมา ผมประกอบพิธีบวงสรวงพร้อมคณะศิษย์สาธุชน นำทองคำ เงิน มาอยู่บนโต๊ะบวงสรวง
4.เสร็จการบวงสรวงผมจะไปคุยกับคณะช่าง "พร้อมหรือยัง นำ้ทองได้ที่หรือยัง จะได้เริ่มพิธี เปิดเตา"ถ้าพร้อม จะไปนิมนต์พระผู้เป็นประธานเททอง มาที่แท่น และนัดหมายพระสงฆ์ ที่ชยันโต คณะพระนั่งปรกนิมนต์ประจำทิศ ผมนำถาด พานบรรจุทองคำ เงิน ถวายพระผู้เป็นประธาน นำสาธุชน มหาชนอธิษฐาน ทองคำ เงิน เสร็จแล้ว พระองค์ประธานอธิษฐาน แล้วหยิบทองคำ เงินใส่กระจ่า ที่ผมนำมารับต่อจากมือท่าน และทยอยนำลงเบ้าหลอมนำ้ทองเบ้าเอกทั้งหมด แล้วใช้เหล็กของช่าง คน กวนในเบ้าให้ทั่ว จากนั้น ให้คณะช่าง ตักนำ้ทองชนวนจากเบ้าเอกเจือไปที่เบ้าหลอมนำ้ทองในทุกๆเตา ให้ทั่วถึง โดยกำกับดูแลด้วยตัวเอง
5.เบ้าหลอมน้ำทองชนวนเบ้าเอก ที่ชนวนเข้มข้น แก่เงิน ทองคำมากที่สุด ที่เหลือ ราว 10-20 กิโลกรัม ผมจะให้คณะช่างเลี้ยงไฟหลอมไว้ แล้วไปประกอบพิธีเททองให้เสร็จ พอเสร็จ ช่างต้องมา ตักนำ้ทองจากเบ้าเอก เทใส่รางเหล็ก ตามขนาดเล็กใหญ่ ตามที่ตกลงกันไว้ โดยที่พระผู้เป็นประธานยังจับสายสิญจ์อธิษฐานอยู่ จนเรียบร้อย ท่านประพรมนำ้พระพุทธมนต์ โปรยดอกไม้ เสร็จเรียบร้อย ผมจะให้ช่าง นำ้ชนวนสำคัญที่ให้เทใส่รางเหล็ก เคาะออกมา แช่นำ้จนเย็น หายร้อน แล้วให้คนของผมขนกลับทันที ถ้ามีก้นเบ้า ก็เอาพัดลมเป่า คว่ำเบ้า ให้ชนวนออกมา เเช่นำ้ เอากลับมาเก็บรักษาไว้ เเละเวียนใช้บางส่วน ถมหลอมสร้างพระสร้างเทพฯลฯในพิธีต่อๆมา
พระที่เททอง ช่างขนกลับ ผมก็นัดวันช่าง โรงงาน เข้าไป ทุบปูน ดิน ที่หุ้มเป็นหุ่นออก แล้วตัดก้านทองชนวน ชั่งกิโล นำกลับมารักษาไว้ทั้งหมด(ส่วนหนึ่งแบ่งให้ช่าง โรงงานไว้ทำงานในการเชื่อม ซ่อม ฯลฯ)
ทุกๆโรงงาน ที่ผมทำงานด้วย บอกว่า ไม่เคยมีใคร คณะใด ทำแบบนี้ มีแต่ผมคนเดียว เพราะทราบถึงเจตนา ความชัดเจน แต่แรก และมีค่าใช้จ่ายเพิ่มอะไร รางวัลนำ้ใจคณะช่างคนทำงาน จ่ายเต็มที่ และมีการบันทึก รายงาน พระสงฆ์ วัด ให้ท่านทราบ เป็นลำดับตลอดมา
ทุกๆขั้นตอน ทุกๆพิธี มีภาพถ่าย วิดิโอ บันทึก อย่างละเอียด โดยทีมงานมืออาชีพ
ทั้งหมดทั้งมวลนี้ ย่อมประจักษ์แก่สายตา คณะศิษย์ มหาชน มาตลอด จึงได้มาลำดับเรื่องราวให้ทราบ เพราะในที่สุดถึงเวลานี้ ชนวนมวลสารจากเบ้าเอกนับ 100 พิธี เป็นชนวนสำคัญ มีทองคำ เงิน เเผ่นทองคำ แผ่นเงิน ฯลฯ สะสมทับถมอยู่มากมายมหาศาล บัดนี้ ชนวนมวลสารดังกล่าวที่ว่ามานี้ สถิตย์อยู่ในองค์ พระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย เรียบร้อยแล้ว
บันทึกไว้ในเส้นทางแห่งศรัทธา ประวัติศาสตร์
ลักษณ์ ราชสีห์
ประธานจัดสร้างพระกริ่ง/พระชัยวัฒน์ สมเด็จธงชัย
25 พฤษภาคม 2563