[爆卦]ภาษีที่ hr ควรรู้是什麼?優點缺點精華區懶人包

雖然這篇ภาษีที่ hr ควรรู้鄉民發文沒有被收入到精華區:在ภาษีที่ hr ควรรู้這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章

在 ภาษีที่產品中有2篇Facebook貼文,粉絲數超過54萬的網紅บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ,也在其Facebook貼文中提到, Day 7 : ภาษีที่ กิจการต้องจ่ายรายเดือน คลิปนี้ 30 นาที แชร์เก็บไว้ดูย้อนหลัง -------------------- Facebook Live 10 วันต่อเนื่อง สอนบัญชีิ-ภาษี ที่จำเป...

 同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過6萬的網紅บัญชีอย่างง่าย,也在其Youtube影片中提到,ภาษีที่ กิจการต้องจ่ายรายเดือน คลิปนี้ 30 นาที แชร์เก็บไว้ดูย้อนหลัง ------------------------------------------------------------ รับข่าวสาร-สอบถามด้...

  • ภาษีที่ 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的精選貼文

    2016-11-21 19:51:10
    有 561 人按讚

    Day 7 : ภาษีที่ กิจการต้องจ่ายรายเดือน
    คลิปนี้ 30 นาที แชร์เก็บไว้ดูย้อนหลัง
    --------------------
    Facebook Live 10 วันต่อเนื่อง
    สอนบัญชีิ-ภาษี ที่จำเป็นในกิจการ
    ร่วมทำดีิ และแบ่งปันตามรอยพ่อ

  • ภาษีที่ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答

    2014-07-05 08:25:17
    有 13 人按讚

    "ความหมาย หลักการและประเภทภาษีอากร"
    สิทธิกร ศักดิ์แสง
    ครั้งก่อนได้กล่าวถึงรายได้สาธารณะ ไปก่อน 2 มี ประเภท คือ รายได้จากภาษีอากรและรายได้ไม่ใช่ที่มาจากภาษีอากร และได้อธิบายรายได้ที่ไม่ได้จากภาษีอากร
    วันนี้จึงขออธิบายรายได้จากภาษีอากร ในเรื่องความหมาย หลักการและประเภทของภาษีอากร ดังนี้
    "ภาษีอากร" เป็นเรื่องสำคัญมากในวิชาการคลัง ถือว่าเป็นพระเอก ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ โดยจะเห็นได้ชัดเจนจาก พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ที่รัฐสภาของอนุมัติเงินงบประมาณแผ่นดินพบว่า จะมีการตั้งวงเงินงบประมาณรายจ่าย และ มีการประมาณการรายรับ ชดเชยรายจ่าย ของประมาณการรายได้ของแต่ปี
    และในด้านคุณภาพ จะพบว่า งบประมาณแผ่นดิน ไม่เพียงแต่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายสำหรับรายจ่ายสาธารณะเท่านั้น แต่ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อีกด้วย ซึ่งงบประมาณแผ่นดินส่วนใหญ่ก็จะได้มาจากภาษีอากร
    1. ความหมายของภาษีอากร
    ในอดีต วิชาการคลัง คือ ศาสตร์ของการหารายได้ให้พอกับรายจ่าย และรายได้ที่มาจากภาษีอากรนั้นจะต้องไม่สร้างภาระให้แก่ประชาชนโดยไม่เป็นธรรม กล่าวโดยสรุปก็คือ ภาษี จึงถูกนำไปเป็นคำนิยามของวิชาการคลังในอดีต
    ปัจจุบันมีคำนิยาม ภาษีอากร มีหลายประการ แต่ในที่นี้ จะอธิบายความหมายภาษีอากร ว่า
    “ภาษีอากร คือ ทรัพย์สิน ที่โดยปกติแล้ว ได้แก่ เงินตราที่บุคคลถูกบังคับให้บริจาคแก่รัฐเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายของรัฐ ในการทำกิจการของรัฐทั่วไป โดยผู้บริจาคไม่ได้รับประโยชน์โดยตรงเป็นการเฉพาะตัว”
    ในอดีต การเก็บภาษี อาจเป็นในรูปอื่น ๆ เช่น พืชผลการเกษตรก็ได้ เงินตราก็ได้ แต่ในปัจจุบัน ภาษีอากร จะมีอยู่ในรูปเดียว คือ เงินตราเท่านั้น
    ลักษณะ และเงื่อนไข สำคัญของ ภาษีอากร
    1)ภาษีอากร จะต้องมี กม.รองรับเสมอ เช่น รธน. 50 ม.69 บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รับราชการทหาร และเสียภาษีอากร ทั้งนี้ตามที่ กม.บัญญัติ
    ภาษีอากร จึงต้องมี กม.รองรับ เรื่องให้ประชาชนบริจาคเงินแก่รัฐเป็นเงื่อนไขสำคัญ ไม่เป็นไปในรูปสัญญาต่างตอบแทน คือ ไม่ใช่ว่า ประชาชนที่จ่ายภาษี จะต้องได้รับผลตอบแทนโดยตรงเป็นการเฉพาะตัว แก่ประชาชนผู้เสียภาษีนั้น
    2)ภาษีอากร ประชาชนที่จ่ายภาษีอากร จะไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนโดยตรงเป็นการเฉพาะตัว แตกต่างจากรายได้ของรัฐในรูปของ รัฐพาณิชย์ หรือ ค่าธรรมเนียมทางปกครอง ซึ่งประชาชนจะได้รับประโยชน์ตอบแทนจากการเสียค่าธรรมเนียม นั้นขอให้ น.ศ. ทำความเข้าใจ คำว่า “ ได้รับประโยชน์ตอบแทนโดยตรงเป็นการเฉพาะตัว” ให้ดี

    2.หลักการในการจัดเก็บภาษีอากร
    คำถาม : ภาษีอากร จัดเก็บโดยอาศัยอะไรเป็นฐาน ระหว่าง ตัวบุคคล หรือ ตัวทรัพย์สิน
    คำตอบ : อดีต เราจะใช้ฐานในการเก็บภาษี คือ “บุคคล” เป็นการเก็บภาษีเป็น “รายหัว” หรือ รายตัว โดยไม่คำนึงว่า บุคคลนั้นจะมีฐานะเป็นอย่างไร แต่ปัจจุบัน ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว จะเก็บภาษีโดยใช้ฐานตัวทรัพย์สิน เป็นฐานในการเก็บภาษี
    แนวคิดหรือหลักการในการจัดเก็บภาษี
    1) การเก็บภาษีรายหัว - แนวคิดนี้ มีวิวัฒนาการ มาจากสภาวะเศรษฐกิจ/สังคม ในอดีตที่การผลิตของสังคมยังไม่ใช้เทคโนโลยี ทำให้รายได้ประชาชนไม่แตกต่างกันมากนัก การเก็บภาษี จึงใช้ในอัตราเดียวกัน โดยรัฐจะเก็บภาษีจากประชาชนทุก ๆ คน เท่ากันหมด
    สำหรับประเทศไทย เคยใช้วิธีนี้ ตั้งแต่อดีตจนถึงเปลี่ยนแปลงการปกครอง เรียกว่า “ รัชชูปการ”
    2)การเก็บภาษีโดยใช้ตัวทรัพย์สินเป็นฐานในการเก็บภาษี
    หลังจากมีการพัฒนาการด้านเทคโนโลยีในการผลิตมากขึ้น ทำให้รายได้ของประชาชนแตกต่างกันมาก ทำให้เกิดการแบ่งแยกชนชั้นของคนในสังคม เกิดสถานะต่าง ๆ ของคนที่แตกต่างกัน การเก็บภาษีจึงเริ่มเก็บกับกลุ่มคนในชั้นเดียวกันในอัตราเท่ากัน ( ใช้วิธีแบบที่ 1 = เก็บภาษีรายหัว )
    แนวคิดในการเสียภาษีเริ่มพัฒนาขึ้น ( เรียกว่า สมัยที่ 2 ) กลุ่มคนที่รวมตัวเป็นสังคม เพราะแต่ละคนไม่สามารถเอาตัวรอดได้ จึงร้องขอให้รัฐเข้ามาทำหน้าที่ Protect ให้ตนปลอดภัยโดยเฉพาะภัยจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกันมิให้ทำร้าย แย่งชิงทรัพย์สมบัติกัน ในระยะนี้เรียกว่า ภาษีเพื่อความมั่นคง ( Insurance ) ต่อมารัฐได้ขยายบทบาทโดยเข้ามาจัดทำ Public service เช่น สร้างถนนหนทาง ฯลฯ แนวคิดในเรื่องการเสียภาษี ให้แก่รัฐ เพื่อให้รัฐเข้ามาคุ้มครองเท่านั้น จึงเปลี่ยนไปเป็นว่า การเสียภาษีเปรียบเหมือน “ราคา” หรือ Prize ที่รัฐต้องตอบแทนแก่เอกชนที่เสียภาษี
    ในสมัยต่อมา ( หรือ สมัยที่ 3 ) ได้กล่าวว่า การที่คนเสียภาษี เพราะมนุษย์ต้องอยู่รวมกันในสังคม จึงใช้ภาษีมาเป็นเครื่องสร้างความสมานฉันท์ให้แก่คนในสังคม เพราะการเสียภาษีเป็นไปเพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนใหญ่ เปรียบเสมือนครอบครัว มี พ่อ แม่ ลูก ต้องมีค่าใช้จ่ายส่วนกลาง พ่อมีรายได้ ก็จะต้องจ่ายเงินของตนให้แก่ ค่าใช้จ่ายในครอบครัว พ่อจะอ้างว่า ลูกเป็นคนที่กินจุที่สุด จึงต้องจ่ายมากที่สุดไม่ได้ เมื่อนำมาเปรียบกับ รัฐประชาชาติแล้ว จะเห็นได้ว่า มีค่าใช้จ่ายของสังคมส่วนกลาง คนในสังคมแต่ละคนจึงต้องร่วมกันออกค่าใช้จ่ายส่วนกลางนั้นแต่ไม่เท่าเทียมกัน กล่าวคือ ใครมีมาก ก็จ่ายมาก เราจึงถือว่า “ภาษีอากร =เครื่องมือในการสร้างสมานฉันท์ของคนในสังคม

    3.ประเภทของภาษีอากร
    การแบ่งประเภทของภาษี มีการแบ่งเป็นหลายลักษณะ แต่ที่จะนำเสนอ จะเป็นแบ่ง ภาษีโดยตรงและ ภาษีโดยอ้อม
    การแบ่งภาษีออกเป็น ภาษีโดยตรง กับ ภาษีโดยอ้อม การแบ่งแบบนี้ จะเกี่ยวข้องกับความเป็นธรรมในการเก็บภาษี
    "ภาษีทางตรง"
    คำถาม - เราจะใช้เกณฑ์อะไรเป็นตัวกำหนดว่า ภาษีทางตรง มีลักษณะอย่างไร
    คำตอบ - เราจะต้องพิจารณว่า ภาษีอันนั้น จะต้องเก็บจากรายได้ หรือ จากทรัพย์สิน หรือจากทุน ทั้งนี้ รายได้ อาจเกิดมาจาก การใช้แรงงานทำงาน หรือ อาจได้รับจากทรัพย์สิน เช่น จากค่าเช่าอาคาร รายได้ จึงมีลักษณะที่เป็นสิ่งต่อเนื่อง
    "ภาษีทางอ้อม"
    คำถาม - ภาษีทางอ้อม มีลักษณะอย่างไร
    คำตอบ - ภาษีทางอ้อม มีลักษณะเป็นภาษีที่เก็บจากสิ่งที่ประชาชนได้ใช้จ่ายเงินออกไป หรือ เก็บจากที่ได้มา จากการใช้เงินจ่ายไปเพื่อซื้อสินค้า/บริการ เช่น ภาษีสินค้า Vat เป็นต้น
    สรุป
    "ภาษีทางตรง" คือ ภาษีที่ผู้เสียภาษีไม่อาจผลักภาระการชำระภาษีไปให้บุคคลอื่นได้ ผู้ชำระภาษีต้องรับภาระภาษีนั้นไปด้วยตนเอง เช่น ภาษีรายได้ ต้องจ่ายแก่รัฐเต็มเม็ดเต็มหน่วยโดยตนเอง
    "ภาษีทางอ้อม" คือ ภาษีที่ ผู้ชำระภาษี กับ ผู้รับภาระภาษี เป็นคนละคนกัน ตัวอย่างเช่น อากรศุลกากรสินค้านำเข้า สมมติ ว่า ก.ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาจำหน่าย เครื่องละ 10,000 บาท โดยต้องเสียอากรศุลกากร สมมุตว่าอัตราร้อยละ 20 ก็จะต้องเสียอากรศุลกากร จำนวน 2,000 บาท การจำหน่ายของนาย ก.ก็จะต้องตั้งราคาไว้สูงกว่า 12,000 บาท โดยคำนึงราคาต้นทุน ถ้านาย ข. มาซื้อไปในราคา 13,500 บาท ก็หมายความว่า นาย ข. เป็นผู้แบกรับภาษีจำนวน 20,000 บาท ที่นาย ก.ผลักภาระภาษีนี้ให้ด้วย ตัวอย่าง ภาษีทางอ้อม เช่น ภาษี VAT เป็นต้น นอกจากนี้ ยังกล่าวได้ว่า ภาษีที่เกิดจากการบริโภค ไม่ว่าจะเก็บช่วงใด ผู้แบกรับภาระภาษี ก็คือผู้บริโภคเสมอ ภาษีเหล่านี้ จึงเป็นภาษีทางอ้อม

  • ภาษีที่ 在 บัญชีอย่างง่าย Youtube 的最佳貼文

    2018-10-11 08:00:00

    ภาษีที่ กิจการต้องจ่ายรายเดือน
    คลิปนี้ 30 นาที แชร์เก็บไว้ดูย้อนหลัง

    ------------------------------------------------------------
    รับข่าวสาร-สอบถามด้านบัญชีภาษีฟรี
    facebook : https://www.facebook.com/bunchee.easy
    line@ : https://line.me/R/ti/p/%40bunchee.easy

    -------------------------------------------------------------
    วิดีโอนี้อัพโหลดบน Facebook เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2016

你可能也想看看

搜尋相關網站