雖然這篇ฟันเฟือง鄉民發文沒有被收入到精華區:在ฟันเฟือง這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 ฟันเฟือง產品中有11篇Facebook貼文,粉絲數超過0的網紅,也在其Facebook貼文中提到, LINE เพื่อน .. LINE ที่ทำงาน .. LINE ญาติๆ ... สารพัด Line กลุ่ม และ Open Chat อีกมากมาย!! อยากจัดระเบียบแชตให้เป็นสัดเป็นส่วน ไม่มึน งง ลองทำวิธีนี้ด...
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過13萬的網紅อ.สมศักดิ์ มายากล,也在其Youtube影片中提到,...
「ฟันเฟือง」的推薦目錄
- 關於ฟันเฟือง 在 Kan Kantathavorn Instagram 的最佳解答
- 關於ฟันเฟือง 在 Bundit Ungrangsee Instagram 的精選貼文
- 關於ฟันเฟือง 在 วรัทภพ รชตนามวงษ์ WARATTAPOB Instagram 的精選貼文
- 關於ฟันเฟือง 在 Facebook 的最佳解答
- 關於ฟันเฟือง 在 Facebook 的最佳貼文
- 關於ฟันเฟือง 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
- 關於ฟันเฟือง 在 อ.สมศักดิ์ มายากล Youtube 的最佳解答
- 關於ฟันเฟือง 在 อ.สมศักดิ์ มายากล Youtube 的最佳貼文
- 關於ฟันเฟือง 在 ครูนกเล็ก Youtube 的最佳貼文
ฟันเฟือง 在 Kan Kantathavorn Instagram 的最佳解答
2020-07-02 22:09:11
ฟันเฟือง เรื่องนานับประการ #กันต์เอง...
ฟันเฟือง 在 Bundit Ungrangsee Instagram 的精選貼文
2020-05-24 13:47:58
ธรรมชาติของ เงิน จะ ดึงดูด เข้าหา คนสำคัญ คุณเลือกเองละกัน คุณจะเป็น... คนสำคัญ หรือ ฟันเฟือง ขออวยพร บัณฑิต -------- . . . #bunditungrangsee #suc...
ฟันเฟือง 在 วรัทภพ รชตนามวงษ์ WARATTAPOB Instagram 的精選貼文
2020-05-09 15:43:52
คุณคิดว่า คุณคือ ฟันเฟือง หนึ่งหรือไม่? 👇คอมเม้นต์ด้านล่างเลยครับ👇 . กดติดตามข้อมูลดีๆ 👉 @warattapob_rachatanamwong . ....
ฟันเฟือง 在 Facebook 的最佳解答
LINE เพื่อน .. LINE ที่ทำงาน .. LINE ญาติๆ ... สารพัด Line กลุ่ม และ Open Chat อีกมากมาย!! อยากจัดระเบียบแชตให้เป็นสัดเป็นส่วน ไม่มึน งง ลองทำวิธีนี้ดู " จัดระเบียบ Chat Line ด้วย LINE Lab "
1. เปิดแอป LINE บนมือถือตามปกติ
2. กดที่ไอคอน "ฟันเฟือง" หรือ "ตั้งค่า"
3. ต่อมาเลือกที่เมนู "LINE Labs" คลิกเข้าไปเลย!!
4. เราจะเห็นโหมด "แชทโฟลเดอร์" หรือ "Line Lab Chat folder" >>> ให้เลื่อนเปิดให้เป็นสวิตสีเขียว
•
แล้วแถบด้านบนของ Line ก็จะแยกเป็นหมวดหมู่ ทั้ง "ทั้งหมด" "เพื่อน" "กลุ่ม" "บัญชีทางการ" "Open Chat" ... ช่วยให้เราค้นหาแชตได้ง่ายขึ้น ไม่ตาลายเหมือนแต่ก่อนแล้ว เย้!!!!
#iT24Hrs #line #ไลน์ #LINELabs
ฟันเฟือง 在 Facebook 的最佳貼文
ไปไหน มาไหน ช่วงนี้ลงทะเบียน กรอกชื่อ และเบอร์โทรศัพท์กันอยู่บ่อยๆ แต่ไม่อยากให้ใครเอาเบอร์มือถือของเรามา แอด LINE มาจีบ มากวนใจ งั้นเรามาทำ “วิธีป้องกันคนเอาเบอร์โทรเรา ไป ADD Line” ทำตามเลย
1. เข้าแอป Line ตามปกติ
2. เข้าไปที่สัญลักษณ์ “ฟันเฟือง” (ตั้งค่า หรือ Setting)
3.เลื่อนหาเมนู “เพื่อน”
4. จากนั้นก็เอาเครื่องหมายติ๊กถูกออกไป ตรงช่องที่บอก ว่า “อนุญาตให้ผู้ใช้อื่นเพิ่มเป็นเพื่อน”
**เพียงเท่านี้ ใครที่ได้เบอร์โทรของเราไป ก็จะแอดไลน์มาหาเราไม่ได้ .. ถ้าจะแอดต้องขอ Line ID หรือ สแกนเพิ่มเพื่อนจากเราเท่านั้นนะคะ**
#iT24Hrs #Line #ไลน์
ฟันเฟือง 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
พ่อแม่พี่น้องที่ตามข่าวหมอแลปแกออกรถไปตรวจ covid-19 แบบเชิงรุกในพื้นที่ชุมชนกับทาง กทม คงจะผ่านตากันมาบ้างว่าหมอแลปแกทำยังไง เมื่อวานไปนั่งชิลกินข้าวกับแกมา แกเม้ามอยให้ฟังว่า โปรเจคต่อไปที่แกจะต่อยอดจากเรื่องนี้ คือการทำบริการ ตรวจแลปที่บ้าน แม่งเลย
คือพ่อแม่พี่น้องที่มีคนเฒ่าคนแก่ที่บ้านที่เป็นโรคเรื้อรังเบาหวานความดันไขมันในเลือด จะรู้ว่า เวลาพาไปหาหมอเพื่อติดตามอาการ เราเสียเวลากับการเจาะเลือด รอผลแลป ก่อนเจอหมอเยอะมาก เคยเห็น รพ ใหญ๋ๆ คนไข้มาจองคิวกันตีสี่ ได้ตรวจเกือบเที่ยงมั้ยครับ มันมีคอขวดอยู่หลายจุดน่ะ
แต่จะดีมั้ย ถ้าหลังจาก covid-19 ผ่านพ้นไป เราพัฒนาบริการตรวจแลปถึงบ้าน ไม่ต้องไปรอคิวกันที่ รพ พอตรวจเสร็จ ข้อมูลก็ออนไลน์ไปถึงมือหมอ พอหมอได้ข้อมูล ถ้าเคสที่ควรเจอหน้ากันเพื่อคุยและปรับยา ปรับวิถีชีวิตซึ่งหมอต้องแนะนำเยอะหน่อย ก็นัดมาเจอกันที่ รพ แต่ถ้าผลโอเค อาการดี อะไรก็ดี หมอก็นัดคุยกันผ่าน telemedicine ไม่ต้องมารอคิวยาวๆแออัดกันที่ รพ แล้วถ้าร่วมกับการรับยาใกล้บ้านแบบในข่าวนี้ แม่งคือการพลิกโฉมการให้บริการทางการแพทย์บ้านเราแบบครบวงจรสัสๆเลยนะเนี่ย
ตอนนี้หมอแลปแกกำลังลุยเรื่องนี้อยู่ เป็นกำลังใจให้แกกันด้วย ถ้าทำสำเร็จ มันจะพลิกรูปแบบการให้บริการทางการแพทย์บ้านเราแบบก้าวกระโดดไปไกลเล้ยยยย
เหตุผลหนึ่งที่ทำให้คนจำนวนมากเหนื่อยหน่ายกับการไปโรงพยาบาล ก็คือ “คนแน่น-รอนาน”
.
เพื่อที่จะเดินทางไกลไปพบแพทย์และรับยา ผู้ป่วยต้องเตรียมตัวล่วงหน้า ตื่นก่อนฟ้าสาง หอบเอกสาร อาหาร และสัมภาระพะรุงพะรัง
.
กว่าจะเช็คสิทธิ ตรวจร่างกายเบื้องต้น รอพยาบาลเรียก กระทั่งพบแพทย์ และได้รับยาแบบเดิมกลับมาอีก 1 ชุด ก็ปาเข้าไปเกินครึ่งค่อนวัน
.
ที่ผ่านมารัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) พยายามแก้ไข นำมาสู่การเข็นเทคโนโลยีจำนวนมากออกมาใช้ ไม่ว่าจะเป็นระบบคิวใน Smart Hospital ซึ่งล้อเลียนมาจากระบบคิวของธนาคาร-ร้านอาหาร หรือแม้แต่การคิดค้นแอปพลิเคชั่นสำหรับนัดหมายล่วงหน้า เรียกคิวแบบเรียลไทม์ ฯลฯ
.
แต่ทว่า ปัญหาก็ทุเลาลงได้เพียงระดับหนึ่ง
.
สำหรับชนวนที่ทำให้เกิดความแออัดในสถานพยาบาล บาปมักตกอยู่กับ “ระบบบัตรทอง” ซึ่งมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นผู้ดูแล
.
มีการพูดกันถึงขั้นว่า ... คนส่วนใหญ่เห็นแก่ของฟรี เมื่อบัตรทองรักษาฟรี คนจึงแห่กันมาโรงพยาบาลทั้งที่เจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ
.
ตรรกะดังกล่าวตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิงกับผลการวิจัยและผลสำรวจหลายต่อหลายชิ้น ที่บ่งชี้ตรงกันว่า “ไม่มีใครอยากไปโรงพยาบาล” เพราะการไปโรงพยาบาลย่อมหมายถึงเงิน เวลา แรงงาน และค่าเสียโอกาส
.
ยิ่งเป็นคนจนด้วยแล้ว ยิ่งตกระกำลำบากมากกว่าอีกหลายคำรบ เพราะสำหรับ “คนจน” แล้ว ความจริงของชีวิตมักจะจริงและรุนแรงเกินไปเสมอ
.
อย่างไรก็ดี แม้ว่าระยะแรก “ระบบบัตรทอง” จะกลายเป็นผู้ร้ายในสายตาคนนอก หากแต่ข้อเท็จจริงในปัจจุบันได้หักล้างมลทินเหล่านั้นจนหมดสิ้น
.
มากไปกว่านั้นก็คือ ระบบบัตรทอง – สปสช. กลับเป็น “ฟันเฟือง” หรือ “ตัวจักร” สำคัญ ที่ช่วยคลี่คลายปัญหาความแออัดในโรงพยาบาล
.
“โครงการรับยาใกล้บ้าน” หรือชื่อเต็มคือ โครงการผู้ป่วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง) รับยาที่ร้านขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.1) เพื่อช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาลรัฐ ที่นำร่องมาตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2562 นับเป็นตัวอย่างที่ดี
.
หลักการง่ายๆ ของโครงการรับยาใกล้บ้าน ก็คือต้องเป็นผู้ใช้สิทธิบัตรทอง ต้องป่วยด้วยโรคเรื้อรัง-จิตเวชแต่ดูแลตัวเองดีจนภาวะคงที่ ที่สุดแล้วต้องขึ้นอยู่กับวินิจฉัยแพทย์
.
สำหรับการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน เดิมมีด้วยกัน 2 รูปแบบ ได้แก่ 1. โรงพยาบาลจะจัดยาเป็นรายบุคคลส่งมารอไว้ที่ร้านยา 2. โรงพยาบาลสำรองยาไว้ที่ร้านยาและให้ร้านยาเป็นผู้จัดตามใบสั่งยา โดย สปสช.จะสนับสนุนงบประมาณให้โรงพยาบาลละ 3.3 หมื่นบาทต่อร้านยา และให้กับร้านยา 70 บาทต่อใบสั่งยา
.
ย้อนกลับไปตั้งแต่นำร่องโครงการ 1 ต.ค. 2562 จนถึงปัจจุบัน มีโรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการแล้ว 130 แห่ง ร้านยา 1,033 แห่ง และมีผู้ป่วยที่รับยาที่ร้านยาใกล้บ้านไปแล้ว 14,391 ราย โดยมากกว่า 80% เป็นการรับยาในรูปแบบที่ 1 มีเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้นที่ทำในรูปแบบที่ 2 ด้วย
.
แม้ว่าทั้ง 2 รูปแบบนี้จะช่วยให้คนไข้ไม่ต้องไปกระจุกตัวแน่นที่ห้องยาในโรงพยาบาล แต่ก็ยัง “ไม่สามารถลดภาระงาน” ของโรงพยาบาลที่ยังต้องบริหารจัดการยาได้
.
สปสช. จึงเสนอรูปแบบที่ 3 คือ การให้ร้านยาจัดการแทนโรงพยาบาล ผ่านหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดหา
.
ซึ่งจะช่วยเพิ่มอำนาจการต่อรองด้านราคาให้กับร้านยา นั่นหมายความว่าร้านยามีโอกาสเข้าถึงยาที่ราคาถูกจากการซื้อล็อตใหญ่ได้
.
นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการ สปสช. มั่นใจว่าแนวทางนี้จะช่วยแก้ปัญหาได้ตรงจุดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
.
“ภายในปี 2563 นี้ เราตั้งเป้าที่จะนำร่องการรับยาในรูปแบบที่ 3 ให้เกิดขึ้นจริงใน 6 โรงพยาบาลให้ได้ และหนึ่งในนั้นคือโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จ.เพชรบุรี” นพ.ศักดิ์ชัย ระบุ
.
สาเหตุที่ทำให้ นพ.ศักดิ์ชัย มั่นใจ เป็นเพราะโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จ.เพชรบุรี สามารถกระจายผู้ป่วยไปรับยาที่ร้านได้สูงเป็นอันดับ 2 ของประเทศ
.
“รพ.พระจอมเกล้า เป็นหนึ่งในหน่วยบริการที่มีศักยภาพในการนำร่องรูปแบบที่ 3 ได้ โดยมีร้านยาในพื้นที่ร่วมเป็นเครือข่าย 14 แห่งในช่วงแรก สปสช. จะสำรองเงินให้ร้านยาละ 8,000 บาทต่อปี เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนเริ่มต้น จากนั้นจะประเมินผลการดำเนินงานเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาต่อไป” นพ.ศักดิ์ชัย ระบุ
.
นพ.ชุมพล เดชะอำไพ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จ.เพชรบุรี เล่าว่า โรงพยาบาลได้เริ่มดำเนินโครงการรับยาใกล้บ้านในรูปแบบที่ 1 ตั้งแต่เดือน ธ.ค. 2562 ช่วงแรกคนเข้าร่วมไม่มาก แต่จากการประชาสัมพันธ์เชิงรุกทำให้เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณเดือนละ 140 ครั้ง เว้นแต่ช่วงโควิด-19 ที่พุ่งสูงขึ้นเป็น 598 ครั้ง ในเดือน เม.ย. 2563
.
“ขณะอยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่รูปแบบที่ 3 รวมถึงการเตรียมระบบออนไลน์ที่รับ-ส่งข้อมูล ระหว่างโรงพยาบาลกับร้านยาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น คาดว่าจะพร้อมได้ในช่วงปลายเดือน ก.ค.นี้” ผอ.โรงพยาบาลพระจอมเกล้า เล่าความคืบหน้า
.
ด้าน นพ.เพชรฤกษ์ แทนสวัสดิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี บอกว่า โครงการรับยาใกล้บ้านช่วยทั้งในเรื่องของการเพิ่มระยะห่าง และลดความแออัดของโรงพยาบาล คาดหวังว่าการดำเนินในรูปแบบที่ 3 นี้จะได้รับความร่วมมือมากขึ้น ครอบคลุมไปถึงโรงพยาบาลทั้ง 8 แห่ง รวมไปถึงร้านยาอีก 102 ร้านในจังหวัด
------------------------------
#รับยาใกล้บ้าน #ร้านขายยา #โรงพยาบาลพระจอมเกล้า