雖然這篇ปาณาติปาตา บทสวด鄉民發文沒有被收入到精華區:在ปาณาติปาตา บทสวด這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 ปาณาติปาตา產品中有6篇Facebook貼文,粉絲數超過19萬的網紅Danai Chanchaochai,也在其Facebook貼文中提到, ตลอดพรรษานี้ ชวนทุกท่านรักษาอุโบสถศีล เป็นประจำทุกวันพระ มาร่วมกันเป็นพลังบุญบริสุทธิ์ที่แผ่ไปยังสามแดนโลกธาตุ การสมาทานอุโบสถศีล อุโบสถศีล คือการร...
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過93萬的網紅krunoklek,也在其Youtube影片中提到,อยากให้เด็กๆ เรียนรู้เรื่องศีล 5 แบบสนุกเลยแต่งเพลงนี้มาฝากนะคะ...
「ปาณาติปาตา」的推薦目錄
ปาณาติปาตา 在 TAR Instagram 的精選貼文
2020-04-28 09:47:17
1.ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 2.อทินนา ทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 3.อพรัหมะจริยา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 4.มุสาวาทา เวระม...
ปาณาติปาตา 在 Nannie Girly Berry Instagram 的最讚貼文
2020-05-03 06:17:54
หลังจากห่างหายการ #ถือศีลอุโบสถ มา 2 เดือน หรือประมาน 10 วันพระ ที่ผ่านมา ทั้งที่ทำมาตลอด 2 ปีกว่า #ปีใหม่ #เอาใหม่ #ตั้งสติ กลับสู่วินัยเดิม คือ วันธ...
-
ปาณาติปาตา 在 Carabao Official Youtube 的精選貼文
2016-03-14 11:37:29ปาณาติปาตา อทินนาทานา มุสาวาทา สุราเมระยะมัจชะปะมา ทัฎฐานา
เวกาเมสุมิจฉาจะรา เวระมณี แปลว่าทุกคนนั้นควรทําดี
เนื้อเพลง
ปาณาติปาตา อทินนาทานา มุสาวาทา
สุราเมระยะมัจชะปะมา ทัฎฐานา เว
ปาณาติปาตา อทินนาทานา มุสาวาทา
สุราเมระยะมัจชะปะมา ทัฎฐานา เว
กาเมสุมิจฉาจะรา เวระมณี
แปลว่าทุกคนนั้นควรทําดี
หัวใจของคนนั้นอยู่ที่คน
ทุกข์สุขกังวลใจคนเป็นใหญ่
ความดีความร้าย ถามใจตัวเรา
พระพุทธเจ้ารู้หลุดพ้นตัวเอง
ทําดีเถิดทําดี ทําชั่วไม่ดีหรอก
ทําดีเถิดทําดี อย่าละอายต่อการทําดี
หัวใจของธรรมะนั้นอยู่ไม่ไกลหรอก
ล้วนอยู่ในใจเรา ใจคนทุกคน
ความดีความร้าย ถามใจตัวเรา
พระพุทธเจ้ารู้หลุดพ้นตัวเอง
ทําใจเถิดทําใจ ให้จงมีแต่คุณธรรม
พระพุทธเจ้า สอนเราทําดี
ยากจนมั่งมี มิควรคํานึง
สังคมเราอยู่ เป็นหมู่เป็นเหล่า
มีหนักมีเบา เอ้าแบกรับกันไป
อิติปิโสภัควา อะระหังสัมมา สัมพุทธธัสสะ
พระพุทธเจ้า สอนเราทําดี
ยากจนมั่งมี มิควรคํานึง
สังคมเราอยู่ เป็นหมู่เป็นเหล่า
มีหนักมีเบา เอ้าแบกรับกันไป
ปาณาติปาตา อทินนาทานา มุสาวาทา
สุราเมระยะมัจชะปะมา ทัฎฐานา เว
กาเมสุมิจฉาจะรา เวระมณี
ทําได้ทุกคนเป็นคนดี
หัวใจของคน นั้นอยู่ที่คน
ทุกข์สุขกังวล ใจคนเป็นใหญ่
หัวใจของธรรมะ นั้นอยู่ไม่ไกลหรอก
ล้วนอยู่ในใจเรา ใจคนทุกคน
หัวใจของคน นั้นอยู่ที่คน
ทุกข์สุขกังวล ใจคนเป็นใหญ่
หัวใจของธรรมะ นั้นอยู่ไม่ไกลหรอก
ล้วนอยู่ในใจเรา ใจคนทุกคน
【 ช่องทางติดตามข่าวสาร วงคาราบาว 】
#Line ► @CarabaoOfficial หรือคลิก http://line.me/ti/p/%40carabaoofficial
#Facebook ► http://www.facebook.com/carabaoofficial/
Apple Music & iTunes :
Carabao Essentials Playlist ► https://music.apple.com/th/playlist/carabao-essentials/pl.f9b46f601f53442385224df14d9ca9ef
Carabao Artist Profile ► https://music.apple.com/th/artist/carabao/250982691
ปาณาติปาตา 在 Danai Chanchaochai Facebook 的最讚貼文
ตลอดพรรษานี้ ชวนทุกท่านรักษาอุโบสถศีล เป็นประจำทุกวันพระ
มาร่วมกันเป็นพลังบุญบริสุทธิ์ที่แผ่ไปยังสามแดนโลกธาตุ
การสมาทานอุโบสถศีล
อุโบสถศีล คือการรักษาศีล ๘ ข้อ วันอุโบสถหรือวันพระ
เป็นวันที่เราจะต้องอยู่เยี่ยงพระ คือบำเพ็ญเนกขัมมะนั่นเอง
ศีลแปดที่รักษากันในวันพระ เรียกว่าอุโบสถศีล
ผู้ครองเรือนทั่วไปไม่สะดวกถือศีล ๘ ได้ทุกวัน
ก็ควรหาโอกาสมาถือศีลกันเฉพาะวันพระ
จึงเรียกว่ารักษาอุโบสถศีล
ขั้นตอนที่ ๑ กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
(เบญจางคประดิษฐ์)
ขั้นตอนที่ ๒ บูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)
ขั้นตอนที่ ๓ อาราธนาศีลอุโบสถ
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
(กรณีว่าคนเดียวให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง, เปลี่ยน ยาจามะ เป็น ยาจามิ )
ขั้นตอนที่ ๔ นมัสการพระพุทธเจ้า (นั่งพับเพียบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขั้นตอนที่ ๕ ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ขั้นตอนที่ ๖ สมาทานศีลอุโบสถ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะพรหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
นัจจะคี ตะวาทิ ตะวิสุกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ ทาระณะ-
มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๗ อธิษฐานรักษาศีลอุโบสถ
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง อิมัญจะ
รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๘ สรุปศีลอุโบสถ
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อัชเชกัง รัตตินทิวัง อุโปสะถะวะเสนะ
สาธุกัง รักขิตัพพานิ
รับ อามะภันเต รับ สาธุ
ขั้นตอนที่ ๙ กราบลาพระ
กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถศีล อันประกอบด้วยองค์ 8 ประการ
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ จะถือไว้มิให้เสื่อมมิให้ทำลาย สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้
จะต้องรักษา นับจากที่เราสมาทาน ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ ที่มีแสงสว่างของธรรมชาติ จนสามารถมองเห็นลายมือของตนเองได้ ก็จะหมดไปโดยอัตโนมัติ
ศีลอุโบสถนั้น มีองค์ประกอบทั้งหมด ๘ ข้อ
ถ้าขาดไปข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่เรียกว่าศีลอุโบสถ
ตามพุทธบัญญัติ เพราะฉะนั้นการล่วงศีลอุโบสถเพียงข้อใดข้อเดียว
ก็ถือว่าขาดศีลอุโบสถ พูดง่ายๆ ว่า ขาดศีลข้อเดียวก็ขาดศีลอุโบสถ
ผู้ที่รักษาอุโบสถศีลจึงต้องสำรวมระวัง เป็นพิเศษ
การอดอาหารหลังเที่ยง ควรรับประทานช่วง 11 โมง
หากรู้สึกหิวในช่วงเย็น สามารถดื่มน้ำปานะ น้ำผลไม้ที่ผลไม่ใหญ่กว่ากำมือได้
ให้งดดื่มโอวัลติน โกโก้ นมถั่วเหลือง นมวัว หรือ น้ำเต้าหู้ ถือว่าเป็นอาหาร
อุโบสถศีลประกอบด้วยองค์ ๘ มีดังนี้ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป งดเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์
๒. อทินนาทานา เวระมะณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. อพรหมจริยา เวระมะณี
งดเว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกต่อการประพฤติผิดพรหมจรรย์ (การร่วมประเวณี
รวมถึงการทำ Masturbation)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ รวมถึงวจีกรรมในรูปแบบต่างๆ คือ เว้นการพูดส่อเสียด นินทาว่าร้าย
๕. สุราเมรยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้น จากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี
งดเว้นจากการบริโภค อาหารในเวลาวิกาล คือหลังเที่ยงวันเป็นต้นไป
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้นจากการฟ้อน รำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการละเล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล
ลูบทาทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วยพวงดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม
เครื่องทาอันจัดว่าเป็นการแต่งตัว
๘. อุจจาสะยะนะมหาสะยะนา เวระมะณี งดเว้นจากการนั่ง และการนอนบนที่นอนสูงใหญ่
อันยัดด้วยนุ่นและสำลี (สูงใหญ่ หมายถึง เมื่อนั่งแล้วหย่อนขาลงไม่ถึงพื้น)
เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีลนั้นก็ เพื่อทำให้จิตใจสงบ
ไม่กวัดแกว่งฟุ้งซ่านไปในเรื่องกามารมณ์ แต่ยึดเอาพระนิพพานเป็นอารมณ์
ถือเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของคฤหัสถ์ผู้ที่ยังไม่ปรารถนาออกบวช
โดยปกติวันพระ พุทธศาสนิกชน ที่สะดวกก็จะพากันแต่งชุดขาวไปสมาทานอุโบสถศีล
และฟังธรรมที่วัด แล้วพักอาศัยอยู่ที่วัด จนกว่าจะครบกำหนด
ถ้าไม่ได้ไปวัด ก็จะตั้งใจสมาทานศีล ด้วยตนเองที่บ้าน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาถึงอานิสงส์ ของการรักษาอุโบสถศีลไว้ว่า
ถ้าจะนำมาเปรียบกับสมบัติของพระราชา ที่แม้จะครองความเป็นใหญ่ถึง ๑๖ แคว้น ก็ยังไม่ถึงเสี้ยวของผลบุญอันเกิดจากการรักษาอุโบสถเลย เพราะสมบัติมนุษย์เป็นสมบัติหยาบ เหมือนสมบัติของคนกำพร้า
มีความสุขได้ไม่กี่ร้อยปีก็ต้องพลัดพราก นั่นคืออยู่บนโลกมนุษย์ไม่กี่ปีก็ตาย ซึ่งเทียบไม่ได้กับการได้เสวยทิพยสมบัติอันยาวนานในสวรรค์
ที่เกิดจากอานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ
การรักษาอุโบสถศีลนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสรักษาได้ไม่นาน แต่กลับสามารถส่งผลให้มีอานิสงส์มากมายเกินควรเกินคาดได้
กราบอนุโมทนาสาธุกับทุกท่านครับ
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย
ติดตามที่ Facebook มูลนิธิธรรมดี
Official Line มูลนิธิธรรมดี
https://bit.ly/3y1qfLI
ปาณาติปาตา 在 Facebook 的最佳貼文
วันนี้วันพระ ชวนทุกท่านสมาทานอุโบสถศีลด้วยกันครับ
อุโบสถศีล คือการรักษาศีล ๘ ข้อ วันอุโบสถหรือวันพระ
เป็นวันที่เราจะต้องอยู่เยี่ยงพระ คือบำเพ็ญเนกขัมมะนั่นเอง
ศีลแปดที่รักษากันในวันพระ เรียกว่าอุโบสถศีล
ผู้ครองเรือนทั่วไปไม่สะดวกถือศีล ๘ ได้ทุกวัน
ก็ควรหาโอกาสมาถือศีลกันเฉพาะวันพระ
จึงเรียกว่ารักษาอุโบสถศีล
ขั้นตอนที่ ๑ กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
(เบญจางคประดิษฐ์)
ขั้นตอนที่ ๒ บูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)
ขั้นตอนที่ ๓ อาราธนาศีลอุโบสถ
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตติยัมปิ มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
(กรณีว่าคนเดียวให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง, เปลี่ยน ยาจามะ เป็น ยาจามิ )
ขั้นตอนที่ ๔ นมัสการพระพุทธเจ้า (นั่งพับเพียบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ขั้นตอนที่ ๕ ไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ขั้นตอนที่ ๖ สมาทานศีลอุโบสถ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะพรหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
นัจจะคี ตะวาทิ ตะวิสุกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ ทาระณะ-
มัณฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๗ อธิษฐานรักษาศีลอุโบสถ
อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง พุทธะปัญญัตตัง อุโปสะถัง อิมัญจะ
รัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ
ขั้นตอนที่ ๘ สรุปศีลอุโบสถ
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อัชเชกัง รัตตินทิวัง อุโปสะถะวะเสนะ
สาธุกัง รักขิตัพพานิ
รับ อามะภันเต รับ สาธุ
ขั้นตอนที่ ๙ กราบลาพระ
กราบพระพุทธ กราบพระธรรม กราบพระสงฆ์
ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถศีล อันประกอบด้วยองค์ 8 ประการ
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ จะถือไว้มิให้เสื่อมมิให้ทำลาย สิ้นวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ณ เวลานี้
จะต้องรักษา นับจากที่เราสมาทาน ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ ที่มีแสงสว่างของธรรมชาติ จนสามารถมองเห็นลายมือของตนเองได้ ก็จะหมดไปโดยอัตโนมัติ
ศีลอุโบสถนั้น มีองค์ประกอบทั้งหมด ๘ ข้อ
ถ้าขาดไปข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่เรียกว่าศีลอุโบสถ
ตามพุทธบัญญัติ เพราะฉะนั้นการล่วงศีลอุโบสถเพียงข้อใดข้อเดียว
ก็ถือว่าขาดศีลอุโบสถ พูดง่ายๆ ว่า ขาดศีลข้อเดียวก็ขาดศีลอุโบสถ
ผู้ที่รักษาอุโบสถศีลจึงต้องสำรวมระวัง เป็นพิเศษ
การอดอาหารหลังเที่ยง ควรรับประทานช่วง 11 โมง
หากรู้สึกหิวในช่วงเย็น สามารถดื่มน้ำปานะ น้ำผลไม้ที่ผลไม่ใหญ่กว่ากำมือได้
ให้งดดื่มโอวัลติน โกโก้ นมถั่วเหลือง นมวัว หรือ น้ำเต้าหู้ ถือว่าเป็นอาหาร
อุโบสถศีลประกอบด้วยองค์ ๘ มีดังนี้ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี
งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป งดเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์
๒. อทินนาทานา เวระมะณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. อพรหมจริยา เวระมะณี
งดเว้นจากกรรมอันเป็นข้าศึกต่อการประพฤติผิดพรหมจรรย์ (การร่วมประเวณี
รวมถึงการทำ Masturbation)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี
งดเว้นจากการกล่าวเท็จ รวมถึงวจีกรรมในรูปแบบต่างๆ คือ เว้นการพูดส่อเสียด นินทาว่าร้าย
๕. สุราเมรยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้น จากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี
งดเว้นจากการบริโภค อาหารในเวลาวิกาล คือหลังเที่ยงวันเป็นต้นไป
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
งดเว้นจากการฟ้อน รำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการละเล่นอันเป็นข้าศึกต่อกุศล
ลูบทาทัดทรงประดับตกแต่งร่างกายด้วยพวงดอกไม้ ของหอม เครื่องย้อม
เครื่องทาอันจัดว่าเป็นการแต่งตัว
๘. อุจจาสะยะนะมหาสะยะนา เวระมะณี งดเว้นจากการนั่ง และการนอนบนที่นอนสูงใหญ่
อันยัดด้วยนุ่นและสำลี (สูงใหญ่ หมายถึง เมื่อนั่งแล้วหย่อนขาลงไม่ถึงพื้น)
เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีลนั้นก็ เพื่อทำให้จิตใจสงบ
ไม่กวัดแกว่งฟุ้งซ่านไปในเรื่องกามารมณ์ แต่ยึดเอาพระนิพพานเป็นอารมณ์
ถือเป็นการประพฤติพรหมจรรย์ของคฤหัสถ์ผู้ที่ยังไม่ปรารถนาออกบวช
โดยปกติวันพระ พุทธศาสนิกชน ที่สะดวกก็จะพากันแต่งชุดขาวไปสมาทานอุโบสถศีล
และฟังธรรมที่วัด แล้วพักอาศัยอยู่ที่วัด จนกว่าจะครบกำหนด
ถ้าไม่ได้ไปวัด ก็จะตั้งใจสมาทานศีล ด้วยตนเองที่บ้าน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสอุปมาถึงอานิสงส์ ของการรักษาอุโบสถศีลไว้ว่า
ถ้าจะนำมาเปรียบกับสมบัติของพระราชา ที่แม้จะครองความเป็นใหญ่ถึง ๑๖ แคว้น ก็ยังไม่ถึงเสี้ยวของผลบุญอันเกิดจากการรักษาอุโบสถเลย เพราะสมบัติมนุษย์เป็นสมบัติหยาบ เหมือนสมบัติของคนกำพร้า
มีความสุขได้ไม่กี่ร้อยปีก็ต้องพลัดพราก นั่นคืออยู่บนโลกมนุษย์ไม่กี่ปีก็ตาย ซึ่งเทียบไม่ได้กับการได้เสวยทิพยสมบัติอันยาวนานในสวรรค์
ที่เกิดจากอานิสงส์ของการรักษาอุโบสถ
การรักษาอุโบสถศีลนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสรักษาได้ไม่นาน แต่กลับสามารถส่งผลให้มีอานิสงส์มากมายเกินควรเกินคาดได้
กราบอนุโมทนาสาธุกับทุกท่านครับ
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย
มูลนิธิธรรมดี
Official Line
https://bit.ly/3y1qfLI
ปาณาติปาตา 在 Capt.Benz Facebook 的最佳解答
Ep.51 - อย่างนี้ "บาปมั้ย?"
.
พระพุทธเจ้าท่านทรงวางหลักไว้
ปาณาติปาตา มันเป็นแบบไหนถึงบาป
.
หนึ่งเลย คือฆ่าด้วยตัวเอง
สอง บอกให้คนอื่นฆ่า
สาม รู้ว่าเขาฆ่า
.
เพื่อให้เรากิน ถ้าไม่เข้า 3 ลักษณะนี้
" ไม่บาป "
.
แต่ถ้าหากว่า มันเป็นการเลี้ยงชีพเนี่ย
มันหลีกเลี่ยงได้มั้ย?
บางครั้งบางที มันก็เห็นใจ
มันหลีกเลี่ยงไม่ได้
.
แต่ถามว่าจริง ๆ แล้ว เราเลือกอาชีพได้มั้ย
เราเลือกได้ แต่ไม่ได้บอกว่า
“เฮ้ย..”
“เลิกทำอาชีพฆ่าสัตว์ตั้งแต่วันนี้นะ”
.
เราอาจจะมีวาสนา สะสมมามีจิตพื้นเดิม
ต้องทำสิ่งนี้มา ถึงเวลาก็อาจจะต้อง ทำบุญ
เพื่อที่จะ balance มัน
.
ไม่ได้แนะนำว่า เลิกทำเดี๋ยวนี้
จะกระทบกระเทือนกันไปใหญ่
.
เอาจริง ๆ คนบอกว่า
“อ้าว...อย่างนี้”
“คนกินเนื้อสัตว์ก็บาปสิ”
ลองย้อนถามกลับไป ถ้าเขาไม่ได้ฆ่าอยู่แล้ว
เราจะกินมั้ย?
อันนี้ต้องคิด
.
ถ้าเราโดยปกติแล้วเนี่ย
เห็นไก่ตัวนี้แบบ
“เฮ้ย!”
“กูจะกินไก่ตัวนี้”
“ครบองค์ประกอบความบาปละ”
.
แต่ถ้าหากว่า
เราเห็นเป็นชิ้นอยู่แล้ว ไอ้เนื้อไก่ตัวนั้น
มันโกรธเราได้มั้ย?
มันผูกเจ็บพยาบาทเราได้มั้ย?
ไม่ได้!
.
การจะประกอบมาเป็น
ชีวิต ชีวิตนึงเนี่ย
มันมีกาย มันมีจิต
ถ้ามีแต่กายไม่มีจิต นั่นศพ
ถ้ามีแต่จิตไม่มีกาย นั่นผี
.
ประเด็นของความบาป
มันอยู่ ณ ตอนที่ว่า
คุณน่ะได้เบียดเบียดเขา
พรากเขาตอนไหน
.
ถามว่าทุกวันนี้กินเนื้อ
กิน ยังกินปกติ
แต่ ไม่เคยเลยที่จะแบบว่า
เปิดเมนูมาปุ๊บ
กุ้งสด ปูเป็น
ฮึ่ม…
.
ตามความเชื่อ อันนี้เชื่อว่า
อย่างนี้บาป เพราะเขามีชีวิตอยู่
แล้วเราสั่งให้เขาฆ่า เพื่อให้เรากิน
.
ดูเจตนา
เราเดินออกจากบ้านไป เราเดินออกไป
แล้วเราแบบว่า
“ฮึ่ม…”
วันนี้กูจะเหยียบมด”
“วันนี้กูจะ…”
“เหยียบจิ้งจกให้ได้สักตัว”
ถ้ามึงออกบ้าน ด้วยเจตนาแบบนี้
มึงบาปแน่!
.
คือเราออกจากบ้านปกติ
บังเอิญว่า แมลงสาบตัวนึง
เดินมาใต้เท้าเรา แล้วเหยียบ
.
แกร๊บ!!
.
มันไม่บาปเต็มที่ 100%
เหมือนกับว่า
“เฮ้ย..จิ้งจก!”
“วิ่งไล่เหยียบมัน”
.
เราก็ต้องเข้าใจว่า
อาจจะถึง วาระกรรมของเขา
เขาอาจจะมีกรรม สืบเนื่องมากับเรา
ทำให้เราเนี่ยจะต้อง เป็นผู้สังหารชีวิตเขา ในชาตินี้
แม้ว่าเราไม่มีเจตนาก็ตาม ทำใจสบาย ๆ
.
เจตนาอย่างเดียว
คือศีลทั้งหมด ไม่ว่าจะ 227 ข้อ 10 ข้อ 5 ข้อ หรือข้อเดียว
พระพุทธเจ้าบอกเลยว่า ไม่ต้องระวังอะไรเลย
ระวังอย่างเดียว
‘เจตนา’
.
ถ้าเก็บความทุกข์ไว้อะ
ถามว่าบาปเกิดมั้ย บาปกับทุกข์
มันใกล้กัน แต่มันไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
.
เพราะฉะนั้นแล้ว
ถ้าเกิดว่า เรายังคงรู้สึกผิด
นี่มันเรื่องธรรมดา
ถ้ารู้สึกผิด แต่ถามว่า
ความบาป มันคือ
เขาโกรธมั้ย?
เขาผูกพยาบาทมั้ย?
.
ความผิด ความไม่ดี แน่นอนแหละ มันเกิดขึ้น
แต่มันเกิดขึ้นกับอะไร?
มันเกิดขึ้นกับกาย หรือเกิดขึ้นกับใจ?
.
ความไม่ดี
ความที่เราไปเบียดเบียนเขา
มันเกิดขึ้นกับกายเรา
ถูกมั้ย?
.
เท้าเรา
มันเป็น 1 ใน ‘อายตนะ 6’
ก็คือเป็นกาย ภาษาบาลีท่านเรียก “โผฏฐพฺพ”
ก็คือความสัมผัสรับรู้ต่าง ๆ
จุดที่เราจะต้องฝึก ทำให้มันแข็งแกร่งขึ้นมา
มันคือจิตของเรา จิตเราจะรับความชั่วหยาบ
บาปพวกนี้ จากร่างกายรึเปล่า
.
ถ้าเราไม่ฝึกจิต
แน่นอน เราจะรู้สึกผิดไปอีกเยอะ
แต่ถ้าเราฝึกจิต จิตที่รับการฝึก
อย่างดีแล้วเนี่ย เวลาร่างกายสัมผัสอะไรปุ๊บ
อายตนะ ตัวกลั่นกรองเนี่ย
มันจะกลั่นเลยว่า
“โอเค…”
“อันนี้ฉันไม่ได้เจตนา”
“โอเค…”
“อันนี้ฉันเจตนา”
แล้วเราก็รับมา จากการฝึก
.
เราฝึกมากแค่ไหน จิตเราเป็นยังไง
ที่โบราณเขาเรียกว่า จิตแข็ง อะไรแข็ง ตัวเชื่อมแข็ง
แม้ว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
จักสัมผัสอะไร จะมองอะไร
จะรับอะไรเข้ามา พระพุทธเจ้าบอกแล้ว
ตา เป็นของร้อน หู เป็นของร้อน
สัมผัส เป็นของร้อน อารมณ์ เป็นของร้อน
.
มันอยู่ที่ว่าเราฝึกรับรู้มันว่า โอเคนี่ของร้อน
เราปล่อยวางมันได้มากแค่ไหน
ความสุขอยู่ตรงนี้
.
กายไม่ทุกข์หรอก
แต่ละส่วน มันมีหน้าที่ของมันนะ
ตาเนี่ยมีหน้าที่รับภาพ
ลิ้น มีหน้าที่รับรสอาหาร
ลองเอาตา ไปรับรสอาหารสิ เอาตาไปจุ่มอาหาร
มันมีหน้าที่ของมันอยู่
ร่างกายพวกนี้ เราเป็นนายของมัน
.
เพราะฉะนั้นแล้ว
เราเนี่ย สุข ทุกข์ ตาไม่ทุกข์ ปากไม่ทุกข์
เท้าไม่ทุกข์ มือไม่ทุกข์ ผิวหนังเราไม่ทุกข์
ทุกข์ไม่ทุกข์ อยู่ที่ใจ
.
เพราะฉะนั้นแล้ว
สิ่งที่ต้องฝึก ฝึกใจให้รู้ว่า
อันนี้ทุกข์ อันนี้สุข อันนี้รับ อันนี้ไม่รับ
.
นี่คือความหมายที่แท้จริง ของคำว่าปล่อยวาง
อย่าไปซีเรียสมาก
“เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ”
“ดูกรภิกษุทั้งหลาย”
“เราถือเจตนาเป็นตัวกรรม”
แค่นั้นจบ
.
เจตนา..พี่
เราเจตนาป้องกันตัวเนี่ย แต่ว่า
ดันไปฉีดน้ำ ไล่แมงมุม แล้ว โดนน้ำเราอัด
ปั้ก!
ตาย!
ไส้แตกตาย!
มาดูว่า เจตนาของเรา ต้องการป้องกันตัว
หรือว่าต้องการที่จะฆ่ามัน
.
ในทางกฎหมายเนี่ย
ถ้าเกิดว่า เราเจตนาที่จะป้องกันตัว
แต่พลาด ไปทำให้ใครตาย
อันนี้กฎหมายบัญญัติไว้นะ
มาตรา 60 กระทำโดยพลาด
.
เขาอาจจะทำอะไร หรือไม่ทำอะไร
เอาเชื้อโรคมาให้ หรือไม่เอาก็ได้
แต่เรารู้ว่า แมลงวันปุ๊บ
มันเอาเชื้อโรคมาแน่
.
แต่ถามว่าพี่เคยได้รับทุกข์
รับเชื้อโรคจากแมลงวัน แล้วเกิดเป็นโรค
แบบเจียนตายมั้ย?
.
ถ้าถามจริง ๆ แล้วก็ ไม่รู้เหมือนกันนะ
แต่แมลงวัน เขาเกิดเป็นของสกปรก
ก็เป็นกรรมของเขา ก็เป็นธรรมดา
ที่เขาจะต้องรับผลกรรม
.
บางครั้งบางที เราอาจจะต้อง คิดให้มันเป็นกลาง ๆ
ปล่อยวางว่า
“โอเค..”
“ก็มึงเกิดมาเป็นแมลงวันเองอะ”
“มึงเกิดมาเพื่อให้กูรังเกียจเองอะ”
“กูก็ไม่อยากทำร้ายมึงหรอก”
“แต่ว่ามึงมาแบบนี้”
“กูก็ไม่รู้จะทำยังไงกับมึงเหมือนกัน”
“แต่ว่าโอเค”
“ทางใครทางมันนะ”
แผ่เมตตาไปอะไรไป
#ผู้กองเบนซ์
ปล. บางครั้งบางที เราอาจจะต้อง คิดให้มันเป็นกลาง ๆ ปล่อยวาง
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
*ติดต่องานวิทยากร,อบรมสัมมนา,สนับสนุนช่อง โทร 094-449-9464 (คุณจี้)
ช่องยูทูป : ผู้กองเบนซ์ - Capt.Benz
blockdit : ผู้กองเบนซ์ - Capt.Benz
IG : capt.benz
Line OA : @ captbenz
twitter : @ captbenz