雖然這篇ทาน3ประการ鄉民發文沒有被收入到精華區:在ทาน3ประการ這個話題中,我們另外找到其它相關的精選爆讚文章
在 ทาน3ประการ產品中有13篇Facebook貼文,粉絲數超過25萬的網紅ลำใย ไหทองคำ,也在其Facebook貼文中提到, ทาน 5 ประการ ถึงแม้ไม่มี ทรัพย์สิน เงินทอง ก็ทำได้...
ทาน3ประการ 在 Porntip Sae-kow Instagram 的精選貼文
2021-03-31 18:24:59
คิ ด แ ค ป ชั่ น ม่ า ย ค่ อ ย อ อ ก เ พ ร า ะ ใ จ มั น บ อ ก ใ ห้ คิ ด ถึ ง แ ต่ เ ท อ #kardinalstick #kardinal #ks...
ทาน3ประการ 在 ・ ͜ʖ ・ ✿ Instagram 的最佳貼文
2020-04-28 12:46:41
. . แ ก ะ ก ล่ อ ง เ ค รื่ อ ง ค รั ว วั น นี้ ข อ ง แ บ ร น ด์ @horetica บ อ ก เ ล ย ว่ า น่ า รั ก ม า ก (—: เ ป็ น ช า ม ใ ส ม า พ ร้ อ ม กั บ ฐ า...
ทาน3ประการ 在 ????????? シ ???? Instagram 的最佳貼文
2020-04-29 01:43:09
ทุ ก วั น นี้ รู้ สึ ก ไ ม่ ดี เ ล ย . . . เ พ ร า ะ ค ว า ม รู้ สึ ก ดี ๆ ใ ห้ เ ท อ ไ ป ห ม ด แ ล้ ว 🤟🏻.* • • • ____________________________________...
ทาน3ประการ 在 ลำใย ไหทองคำ Facebook 的最佳貼文
ทาน 5 ประการ ถึงแม้ไม่มี ทรัพย์สิน เงินทอง ก็ทำได้
ทาน3ประการ 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最佳解答
แนวทางการสักการะบูชา และพระคาถาบูชา "เทพพระเสาร์ ทรงเสือ"
ในวาระสุดยอดมหามงคล ประวัติศาสตร์ ดาวเสาร์(๗)ย้ายราศี (วันที่ ๕ ธันวาคม ๖๓) ได้ตำแหน่งที่มั่นคง เป็นเกษตราธิบดี รอบที่ ๙ ของกรุงรัตนโกสินทร์
แนวทางการบูชาสักการะเทพพระเสาร์
1. ทำบุญสร้างกุศล ตั้งใจประกอบบุญกิริยาวัตถุ 10 ประการ คือ ทาน ศีล ภาวนา จะใส่บาตรพระ 10 รูปตามกำลังของเทพพระเสาร์ หรือแล้วแต่ที่ท่านสะดวก ทำบุญ ทำทาน รักษาศีล แล้วอุทิศบุญแด่เทพพระเสาร์ทรงเสือ
2. สวดพระคาถาบูชาเทพพระเสาร์ ขอพรต่อหน้ารูปเคารพ หรือตัวแทนเทพพระเสาร์ ระลึกนึกถึงท่าน ในวันที่ดาวย้าย หรือก่อนหลัง ดาวเสาร์ย้ายราศี 10 วัน ก็ได้ครับ จะเวลาใดก็ได้ตามสะดวก
3. ไปกราบสักการะเทพพระเสาร์ ทรงเสือ หนึ่งเดียวในประเทศ ได้ทุกวันที่ลานเทพ วัดเจ้าอาม บางขุนนนท์ เพื่อร่วมบุญสร้างอาคารปฏิบัติธรรม เพราะเทพพระเสาร์ จะมีกำลังบารมี ใน 2 ปีต่อจากนี้
4. หาโอกาสไปร่วมพิธีเจริญพระพุทธมนต์นพเคราะห์ ทำบุญให้เทพพระเสาร์ ณ วัดเจ้าอาม วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม 63 เริ่มพิธีตั้งแต่เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป
***เชิญ แชร์ บทสวดอธิษฐานบูชาเทพพระเสาร์ เพื่อความเป็นสิริมงคล
ข้อมูลโดย อ.ลักษณ์ ราชสีห์ โหรฟันธง
ทาน3ประการ 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳解答
“ทศพิศราชธรรมของกษัตริย์ในปรัชญากฎหมายไทย”
ทศพิศราชธรรม เป็นเสมือนหลักธรรมที่สำคัญในการใช้อำนาจการปกครองของกษัตริย์โดยชนชั้นปกครองทั้งหลายโดยที่ผู้ใช้อำนาจปกครองนี้ มิได้หมายเฉพาะกษัตริย์เท่านั้นแต่หมายถึงบุคคลทั้งหลายที่ใช้อำนาจในการปกครองด้วย ซึ่งจะเป็นการตีความในลักษณะของการขยายความให้เข้าสังคมปัจจุบัน ในยุคปัจจุบันเราจะนำมาใช้กับคนที่เป็น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรือผู้ว่าราชการจังหวัดและแม้กระทั่งในระดับครอบครัว
ทศพิศราชธรรม ในฐานะความคิดทางศีลธรรมการเมืองมีรากฐานที่มาจากคัมภีร์ชาดกในพุทธศาสนา นับเนื่องมาจากที่พุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองการปกครองสมัยพระยาลิไทย คติความคิดนี้ก็ย่อมได้รับการเผยแพร่โดยผ่านทางสื่อต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในงานเขียนหรือศิลาจารึก หลักธรรมอันสำคัญยิ่งสำหรับกษัตริย์หรือผู้ปกครองประกอบด้วยเนื้อหา10 ประการ ดังนี้คือ
1. ทาน หมายถึง การแจกวัตถุสิ่งของ การให้วิชาความรู้เพื่อเกื้อกูลผู้อื่นและการให้ประการอื่น ๆ เช่น กำลังกาย กำลังความคิดตลอดจนคำแนะนำ
2. ศีล หมายถึงการควบคุมพฤติทางกาย วาจา และใจ ให้เป็นปกติ
3. ปริจจาจะ หมายถึง การเสียสละประโยชน์สุขส่วนตัวเพื่อระโยชน์สุขส่วนรวม
4. อาธชวะ หมายถึง ความซื่อตรง
5. มัทธวะ หมายถึง ความสุภาพอ่อนโยน
6. ตยะ หมายถึง ความเพียรพยายาม ในหน้าที่การงานจนกว่าจะสำเร็จโดยไม่ลดละ
7. อักโกธะ หมายถึง ความไม่แสดงการเกรี้ยวกราดโกรธแค้นต่อใคร ๆ
8. อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียนผู้อื่นไม่เกิดทุกข์เดือดร้อน
9. ขันติ หมายถึงความอดทนต่อความยากลำบาก
10. อวิโรธะนะ หมายถึง ความไม่ประพฤติผิดไปจากทำนองคลองธรรม
หลักทั้ง 10 ประการ อาจสรุปให้เป็น 5 ประการ ได้ดังนี้คือ
1. การให้เสียสละ (ทาน และปริจจาจะ)
2. ความซื่อสัตย์สุจริต (ศีล และอาธชนะ)
3. ความมีไมตรีจิต (มัทธวะ และอักโกธะ)
4. ความอดทน ความเพียร (ตยะ และขันติ)
5. ความถูกต้องและยุติธรรม (อวิโรธนะ)
การตีความทศพิศราชธรรมให้เป็นดั่งหลักอุดมคติทางกฎหมายดังกล่าวอาจเทียบเคียงได้กับความในเชิงปรัชญากฎหมายธรรมในชาติของตะวันตก ในแง่ทศพิศราชธรรมอาจจัดให้มีค่าเสมือนรูปธรรมหนึ่งแห่งกฎหมายธรรมชาติตามแบบเสรีวิธีคิดของตะวันตก จริงอยู่ที่ในปรัชญากฎหมายของไทยเราไม่ถ้อยคำที่เรียกว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Notural Law) แบบตะวันตกในความของกฎหมาย ซึ่งกำหนดแยกแยะว่าอะไรถูกอะไรผิดและเป็นกฎหมายที่ได้รับอำนาจหรือความสมบูรณ์จากธรรมชาติมิได้เกิดจากอำนาจสร้างสรรค์ของมนุษย์ แต่หลักธรรมสำคัญทางพุทธศาสนาที่กำกับการใช้อำนาจรัฐทั้งในทางการเมืองและในทางกฎหมายของไทยก็จัดได้เป็นหลักธรรมที่มาจากธรรมชาติได้เช่นกัน เมื่อตีความผ่านการวิเคราะห์ รากศัพท์ คำว่า ธรรมะ ที่หมายรวมถึงธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ดังที่เคยกล่าวมาแล้ว ในเมื่อธรรมะคือธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ ทศพิศราชธรรมในฐานะหลักธรรมทางการเมืองหรือกฎหมายก็ย่อมจักเข้าเป็นกฎธรรมชาติเช่นกัน หรืออีกนัยหนึ่งก็เป็นธรรมะที่มีอยู่แล้วโดยธรรมชาติ มิได้เกิดจากการประดิษฐ์สร้างของมนุษย์ มนุษย์ (ผู้เป็นศาสดา) เป็นเพียงผู้ค้นพบธรรมนี้เท่านั้น แล้วประกาศธรรมนี้ให้แพร่หลายไปโดยเฉพาะหมู่ผู้ปกครองหรือราชาที่ต้องการ “ ทรง “ ทั้งอำนาจตนและสังคมที่ตนปกครองให้เป็นไปปกติสุข